โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ หมู่บ้านบุ่งปลาฝา หมู่7 ตำบลยางโกลน อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่)

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ หมู่บ้านบุ่งปลาฝา หมู่7 ตำบลยางโกลน อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่)

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ หมู่บ้านบุ่งปลาฝา หมู่7 ตำบลยางโกลน อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลกสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก, สำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์บ้านบุ่งปลาฝา หมู่7 ต.ยางโกลนอ.นครไทย จ.พิษณุโลกผศ.ดร.ณิฐิมาเฉลิมแสนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก 52 หมุ่7 ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000โทรศัพท์…055298438 ต่อ 1143 โทรสาร 055298440 E-mail – address nokgapood@gmail.comนายอัษฎาวุธ สนั่นนาม อาจารย์สาขาสัตวศาสตร์
นายสมบัติ มงคลชัยชนะ อาจารย์สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
นางจันทรา สโมสร อาจารย์สาขาสัตวศาสตร์
นายกฤษณะ หมีนิ่ม นักวิชาการสาขาสัตวศาสตร์
นางสาวธัญรัตน์ จารี นักวิชาการสาขาสัตวศาสตร์
นายดำรงศักดิ์ สุวรรณศรี นักวิชาการสาขาสัตวศาสตร์
นายยรรยง เฉลิมแสน อาจารย์สาขาพืชศาสตร์
ผศ. สุพรรัตน์ ทองฟัก อาจารย์สาขาบัญชี
นายนัทธี อุดบัววงก์ นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นายตรีวิทย์ ชอบใจ นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นายสิทธิชัย เพ็ชรมุข นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นายณรงค์ศักดิ์ คงจันทร์ นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นางสาวนงนุชมิตรชื่น นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นางสาววริศญาเม่นอยู่ นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์
นางสาวอรทัย เม่งมั่งมี นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
พิษณุโลก นครไทย ยางโกลน

3. รายละเอียดชุมชน

หมู่บ้านบุ่งปลาฝา หมู่ที่7 ตำบลยางโกลน อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มีประชากรทั้งหมด 333 คน มี 82 หลังคาเรือน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา (เพื่อบริโภคเอง) ทำไร่(ข้าวโพดหลังนา) และเลี้ยงสัตว์ โดยมีรายได้เฉลี่ยหลังคาเรือนละ 45,000 บาท ต่อปี โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงสัตว์ คือการเลี้ยงกระบือ ในด้านการพัฒนาชุมชนและความสามัคคี หมู่บ้านบุ่งปลาฝามีภูมิหลังมาจากถิ่นอีสาน มีผู้นำชุมชนที่มีความเข้มแข็งและชุมชนมีความสามัคคีกันเป็นอย่างดี โดยได้มีการรวมตัวจัดตั้งกลุ่มอาชีพขึ้นมา คือกลุ่มอนุรักษ์กระบือไทยบ้านบุ่งปลาฝา เพื่อเลี้ยงแม่พันธุ์กระบือและผลิตลูกกระบือจำหน่าย โดยมีสมาชิกทั้งหมด 30 คน โดยมีนายประพันธ์ หิมโสภา ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานกลุ่ม และมีคณะกรรมการบริหารกลุ่มในด้านต่างๆในปี2560 ทางรัฐบาลได้มีโครงการส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มเกษตรกร คือกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ โดยมีสำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ทางกลุ่มได้ยื่นเรื่องดำเนินการกู้เงินจากโครงการกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ เพื่อนำมาซื้อแม่พันธุ์กระบือ จำนวน 3,000,000 บาทมีสมาชิก 30 คน คนละ 100,000 บาท นำไปซื้อแม่พันธุ์กระบือได้คนละ 2ตัวๆละ 50,000 บาท ปัจจุบันมีแม่พันธุ์ประมาณ 60 ตัว และเริ่มให้ผลผลิตคือ ได้ลูกกระบือ ปีละ2ตัว จำหน่ายตัวละ 20,000 บาท ใน1 ปี สมาชิกจะมีรายได้จากการเลี้ยงกระบือปีละ 40,000 บาท ทำให้กลุ่มสมาชิกมีรายได้นำมาใช้จ่ายในครัวเรือนได้ในการดำเนินงานก็มักจะประสบปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้น ในปี 2561 กลุ่มสมาชิกผู้เลี้ยงกระบือต้องประสบปัญหา การขาดแคลนอาหารสำหรับเลี้ยงกระบือเพราะมีจำนวนกระบือเพิ่มขึ้น ซึ่งผู้นำกลุ่มได้มาขอคำแนะนำและให้คำปรึกษา ในงานโครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุขสร้างรอยยิ้มให้ประชาชน(จังหวัดเคลื่อนที่ฯ) ที่จัดขึ้นในอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก (มทร.ล้านนา พิษณุโลก ออกหน่วยจัดบูธให้บริการประชาชน) โดยผู้นำกลุ่ม(นายประพันธ์ หิมโสภา) ได้มาขอคำปรึกษาและเล่าให้ฟังว่า ในปีที่ผ่านนา กลุ่มต้องประสบปัญหาขาดแคลนอาหารเลี้ยงกระบือ เพราะมีลูกกระบือเพิ่มขึ้นเป็น2เท่า ทำให้ต้องเพิ่มต้นทุนจำนวนมาก นำมาซื้อหญ้าสดและฟางแห้งจากกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ ที่บ้านทับยายเชียง อำเภอพรหมพิราม เพื่อนำไปเลี้ยงกระบือในหน้าแล้ง ที่บ้านบุ่งปลาฝา ทำให้กลุ่มมีรายได้น้อย ทั้งที่พื้นที่ของกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือเองปลูกข้าวโพดเป็นพื้นที่จำนวนมาก หลังจากการเก็บเกี่ยวแล้วก็มีต้นข้าวโพดมากพอที่จะให้กระบือกินได้ทั้งปี แต่ยังขาดองค์ความรู้ในการนำต้นข้าวโพดและหญ้าสดที่มีจำนวนมากในหน้าฝน มาหมักไว้ใช้ในฤดูแล้ง ซึ่งทางคลินิกเทคโนโลยีและงานส่งเสริมวิจัยและบริการวิชาการ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ตระหนักถึงความสำคัญของชุมชนดังกล่าว ที่มีความพร้อมของต้นทุนเดิม(กระบือ)และทรัพยากรในพื้นที่ที่มีจำนวนมาก ที่จะสามารถพัฒนาให้เป็นชุมชนต้นแบบการเลี้ยงกระบือแบบครบวงจรได้ และมีแหล่งตลาดในพื้นที่(ตลาดนัดโค กระบือ อ.นครไทย และตลาดนัดโค กระบือ ทับยายเชียง อ.พรหมพิราม) รองรับผลผลิตอยู่แล้ว จะสามารถดำเนินงานได้อย่างมีคุณภาพต่อไป ทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น และลดรายจ่าย ได้พัฒนาการผลิตอาหารหยาบสำหรับขุนกระบือจากวัสดุในท้องถิ่น การผลิตอาหารสำหรับกระบือขุน การพัฒนาสายพันธุ์กระบือ การพัฒนาการจัดการเลี้ยงและปรับปรุงพันธุ์กระบือ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ความพร้อมขององค์ความรู้ และเทคโนโลยี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ที่มีสาขาสัตวศาสตร์และประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร เป็นทีมที่ปรึกษา โดยมีทั้งบุคลากร องค์ความรู้ เทคโนโลยี ที่พร้อมจะถ่ายทอดสู่ชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่จะเป็นที่ปรึกษาในด้านการพัฒนาเรื่องมือในการหั่นหญ้าและต้นข้าวโพด และคณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ ที่จะช่วยเป็นพี่เลี้ยงในด้านการพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็งและเข้าสู่ระบบวิสาหกิจชุมชนต่อไป นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในด้านอื่นๆ ประกอบด้วย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก สนับสนุนด้านการควบคุมโรค วัคซีน และยารักษาโรคต่างๆ พัฒนาชุมชน สนับสนุนด้วยการระดมหุ้น และสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้ประสบความสำเร็จ สำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก สนับสนุนด้านการขึ้นทะเบียนกลุ่มวิสาหกิจ และติดตามผลการดำเนินงาน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนในด้านแหล่งทุนเพื่อขยายกลุ่มและพัฒนาชุมชนต้นแบบ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ชุมชนมีเพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ 2 การใช้ทรัพยากรที่มีในพื้นที่มาผลิตอาหารกระบืออย่างมีประสิทธิภาพ.
  • สามารถผลิตอาหารกระบือ อย่างมีคุณภาพ 3 ชนิด จำนวนกระบือเพิ่มมากขึ้น
  • จำหน่ายลูกกระบือได้เพิ่มขึ้นและมีอาหารเลี้ยงกระบือได้ทั้งปี
  • ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (วัดจากรายได้ การอพยพเข้าสู่ชุมชนเมือง ภาวการณ์ว่างงาน การมีส่วนร่วมในชุมชน)
1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์และประมง 5
เกษตรกร 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การอบรมการทำหญ้าหมักสำหรับกระบือ

ชื่อกิจกรรม
การอบรมการทำหญ้าหมักสำหรับกระบือ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. วางแผนการดำเนินการ (p)
    -ตั้งคณะทำงาน
    -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
    2.การดำเนินการจัดโครงการ(D)
    -ประสานงานกับคณะทำงาน
    - ประสานงานในพื้นที่ฯ
    - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    - ดำเนินการฝึกอบรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 January 2020 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    - ชุมชนสามารนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาเป็นอาหารกระบือที่มีคุณภาพได้อย่างน้อย 2 อย่าง (หญ้าหมักสับปะรดและหญ้าหมักกากน้ำตาล) และพอเพียงต่อการเลี้ยงในแต่ละรอบปี

    ผลลัพธ์
    - กระบือได้รับอาหารที่มีคุณภาพ(มีหญ้าหมักกินทั้งปี)
    - กระบือมีปริมาณเพิ่มขึ้นและมีรอบการเป็นสัดเร็วขึ้น
    - เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้(ไม่ต้องซื้อจากแหล่งอื่น)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

    1 คน 3,600 1 3,600
    ค่าอาหาร

    ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

    30 คน 120 2 7,200
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

    2 คน 240 2 960
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

    1 คน 1,000 1 1,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

    4 คน 400 1 1,600
    ค่าถ่ายเอกสาร

    เอกสารการฝึกอบรม 10 เล่มๆละ109 บาท เป็นเงิน 1,090 บาท

    10 ชิ้น 109 1 1,090
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น ถังหมัก กากน้ำตาล ปุ๋ย46-0-0,0-0-60,18-46-0 ฟางฟ่อน ถุงดำ เชือกฟาง ผ้าใบ กะละมังยางพารา เมล็ดพันธุ์หญ้า ท่อนพันธุ์หญ้า ถุงพลาสติก หญ้าสด กระสอบปุ๋ย ตาชั่ง ลวด มุ้งเขียว ผ้าใบ ผ้าพลาสติก ปุ๋ยคอก หญ้าสด กากสับปะรด อื่นๆ

    1 ชุด 34,550 1 34,550
    รวมค่าใช้จ่าย 50,000

    กิจกรรมที่ 2 การอบรมการทำข้าวโพดหมักสำหรับกระบือ

    ชื่อกิจกรรม
    การอบรมการทำข้าวโพดหมักสำหรับกระบือ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.วางแผนการดำเนินการ(P)
      --ตั้งคณะทำงาน
      -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
      2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
      - ประสานงานในพื้นที่ฯ
      - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
      - ดำเนินการฝึกอบรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 February 2020 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต
      - ชุมชนสามารถนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาเป็นอาหารกระบือที่มีคุณภาพได้อย่างน้อย 2 อย่าง(ข้าวโพดหมักกากน้ำตาล+หมี่บด และข้าวโพดหมักรำอ่อน+สับปะรด)
      ผลลัพธ์
      - กระบือได้รับอาหารที่มีคุณภาพ(มีข้าวโพดหมักกินทั้งปี)
      - กระบือมีรอบการเป็นสัดเร็วขึ้น
      - เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้(ไม่ต้องซื้อจากแหล่งอื่น)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

      1 คน 1,800 2 3,600
      ค่าอาหาร

      - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

      30 คน 120 2 7,200
      อื่น ๆ

      - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

      2 คน 240 2 960
      ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

      - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

      1 ครั้ง 1,000 1 1,000
      ค่าที่พักตามจริง

      - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

      4 คน 400 1 1,600
      ค่าถ่ายเอกสาร

      - คู่มือการฝึกอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท

      1 ชุด 1,000 1 1,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น ถังหมัก กากน้ำตาล กระสอบปุ๋ย ผ้าพลาสติก รำละเอียด สับปะรดตกเกรด ถุงดำ หมี่บด ต้นข้าวโพดสด เศษหมี่ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพด ปุ๋ย46-0-0,0-0-60,18-46-0 เชือกฟาง มีด ผ้าใบ เชือก แกลลอน อื่นๆ

      1 ชุด 34,640 1 34,640
      รวมค่าใช้จ่าย 50,000

      กิจกรรมที่ 3 การทำอาหารข้นสำหรับกระบือขุน(มันหมักยีสต์)

      ชื่อกิจกรรม
      การทำอาหารข้นสำหรับกระบือขุน(มันหมักยีสต์)
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
        2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
        - ประสานงานในพื้นที่ฯ
        - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
        - ดำเนินการฝึกอบรม
        3.การติดตามประเมินผล(C)
        4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 February 2020 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต
        - ชุมชนสามารนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาเป็นอาหารข้นกระบือที่มีคุณภาพได้อย่างน้อย 1 อย่าง(มันหมักยีสต์)
        ผลลัพธ์
        - กระบือได้รับอาหารที่มีคุณภาพ(มันหมักยีสต์)
        - เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้(ไม่ต้องซื้อจากแหล่งอื่น)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

        1 คน 1,800 2 3,600
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 1วัน เป็นเงิน 3,600 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

        30 คน 120 1 3,600
        อื่น ๆ

        - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx1 วัน เป็นเงิน 480 บาท

        2 คน 240 1 480
        ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

        - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท (รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

        1 ครั้ง 1,000 1 1,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น ถังหมัก กากน้ำตาล กระสอบปุ๋ย ผ้าพลาสติก รำละเอียด มันบด มันเส้น ถุงดำ ยีสต์ แร่ธาตุ วิตามิน ปลายข้าว หมี่บด ปุ๋ย46-0-0 วงบ่อ อื่นๆ

        1 ชุด 36,320 1 36,320
        รวมค่าใช้จ่าย 45,000

        กิจกรรมที่ 4 การทำแร่ธาตุก้อนอาหารเสริมกระบือ

        ชื่อกิจกรรม
        การทำแร่ธาตุก้อนอาหารเสริมกระบือ
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
          2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
          - ประสานงานในพื้นที่ฯ
          - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
          - ดำเนินการฝึกอบรม
          3.การติดตามประเมินผล(C)
          4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 February 2020 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิต
          - กลุ่มสมาชิกสามารถผลิตแร่ธาตุก้อนอย่างน้อย 2ชนิด
          ผลลัพธ์
          - กลุ่มสมาชิกสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้
          - กระบือมีรอบการเป็นสัดเร็วขึ้น
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

          1 คน 1,800 2 3,600
          ค่าอาหาร

          - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

          30 คน 120 2 7,200
          อื่น ๆ

          - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

          2 คน 240 2 960
          ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

          - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(เดินทางโดยรถยนต์มหาวิทยาลัยฯ)

          1 ครั้ง 1,000 1 1,000
          ค่าที่พักตามจริง

          - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

          4 คน 400 1 1,600
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น บล็อกอัดแร่ธาตุ กากน้ำตาล สับปะรดตกเกรด ถุงดำ ยูเรีย แร่ธาตุรวม ปูนขาว ปูนซีเมนต์ ลวด ผ้าพลาสติก เกลือกะละมัง ไม้พาย มันสำปะหลัง อื่นๆ

          1 คน 20,640 1 20,640
          รวมค่าใช้จ่าย 35,000

          กิจกรรมที่ 5 การศึกษาดูงานกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือเพื่อจำหน่าย

          ชื่อกิจกรรม
          การศึกษาดูงานกลุ่มผู้เลี้ยงกระบือเพื่อจำหน่าย
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...---ตั้งคณะทำงาน
            -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
            2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
            - ประสานงานในพื้นที่ฯ
            - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
            - ดำเนินการฝึกอบรม
            3.การติดตามประเมินผล(C)
            4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 February 2020 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ผลผลิต
            - กลุ่มสมาชิกมีวิทยากรประจำกลุ่มอย่างน้อย 5คน
            - มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เครือข่าย
            - ได้รับองค์ความรู้ใหม่อย่างน้อย 2 เรื่อง

            ผลลัพธ์
            - กลุ่มสมาชิกสามารถอธิบายสมาชิกภายในกลุ่มและเครือข่ายได้
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 9 ชั่วโมงๆละ600 บาท

            1 คน 5,400 1 5,400
            อื่น ๆ

            - ค่าเบี้ยเลี้ยง 10คนx240บาทx3 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท

            10 คน 240 3 7,200
            ค่าเช่ารถ

            - ค่าจ้างเหมารถตู้ 1 คัน3 วันๆละ 1,800 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท

            1 ครั้ง 1,800 3 5,400
            ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

            - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิงรถเช่า 3,500 บาท

            1 คน 3,500 1 3,500
            ค่าที่พักตามจริง

            - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย 10 คนๆละ 400 บาท 2 คืน 8,000 บาท

            10 คน 400 2 8,000
            ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

            - ไวนิล 500 บาท

            1 คน 500 1 500
            รวมค่าใช้จ่าย 30,000

            กิจกรรมที่ 6 การจัดทำศูนย์การเรียนรู้ การจัดการฟาร์มกระบือ

            ชื่อกิจกรรม
            การจัดทำศูนย์การเรียนรู้ การจัดการฟาร์มกระบือ
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...-ตั้งคณะทำงาน
              -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
              2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
              - ประสานงานในพื้นที่ฯ
              - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
              - ดำเนินการฝึกอบรม
              3.การติดตามประเมินผล(C)
              4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 February 2020 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ผลผลิต
              - กลุ่มสมาชิกมีโครงสร้างกลุ่มที่ชัดเจน
              - มีวิทยากรประจำกลุ่มเกิดขึ้นอย่างน้อย 5 คน
              ผลลัพธ์
              - กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนากลุ่มเพื่อยกระดับเป็นวิสาหกิจชุมชนได้
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              ค่าตอบแทนวิทยากร

              - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท

              1 คน 3,600 1 3,600
              ค่าอาหาร

              - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 2วัน เป็นเงิน 7,200 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

              30 คน 120 2 7,200
              อื่น ๆ

              - ค่าเบี้ยเลี้ยง 2คนx240บาทx2 วัน เป็นเงิน 960 บาท

              2 คน 240 2 960
              ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

              - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท(เดินทางโดยรถยนต์มหาวิทยาลัยฯ)

              1 ครั้ง 1,000 1 1,000
              ค่าที่พักตามจริง

              - ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท

              4 คน 400 1 1,600
              ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

              - ไวนิล 20,000 บาท

              1 ชิ้น 20,000 1 20,000
              ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

              ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น ลวด ชั้นวางของ ถังน้ำ กระติก กระดานไวท์บอร์ด ปากกามี อื่นๆ

              1 ชุด 15,640 1 15,640
              รวมค่าใช้จ่าย 50,000

              กิจกรรมที่ 7 การจัดทำบัญชีครัวเรือนและการตลาด

              ชื่อกิจกรรม
              การจัดทำบัญชีครัวเรือนและการตลาด
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...-ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
                2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
                - ประสานงานในพื้นที่ฯ
                - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                - ดำเนินการฝึกอบรม
                3.การติดตามประเมินผล(C)
                4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                1 February 2020 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                ผลผลิต
                - กลุ่มสมาชิกทั้ง 30 คน สามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้
                - กลุ่มสมาชิกวางแผนการผลิตและจัดทำแผนการตลาดได้

                ผลลัพธ์
                - กลุ่มสมาชิกสามารถวางแผนการใช้จ่ายและสรุปยอดการใช้จ่ายในแต่ละเดือนได้
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                - ค่าวิทยากร ฝึกอบรม จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

                1 คน 1,800 1 1,800
                ค่าอาหาร

                - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 1วัน เป็นเงิน 3,600 บาท (อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

                30 คน 120 1 3,600
                อื่น ๆ 4 คน 240 1 960
                ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

                - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท (รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

                1 ครั้ง 1,000 1 1,000
                ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

                - ไวนิล 2 แผ่นๆละ500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

                2 ชิ้น 500 1 1,000
                ค่าถ่ายเอกสาร

                - คู่มือการจัดทำบัญชี 30 เล่มๆละ50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

                30 ชิ้น 50 1 1,500
                ค่าวัสดุสำนักงาน

                ค่าวัสดุ ที่ใช้สำหรับฝึกอบรม เช่น แฟ้ม ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ กระดาษเอ4 เครื่องคิดเลข สมุดเบอร์2 อื่นๆ

                1 ชุด 10,140 1 10,140
                รวมค่าใช้จ่าย 20,000

                กิจกรรมที่ 8 การติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียนโครงการ

                ชื่อกิจกรรม
                การติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียนโครงการ
                วัตถุประสงค์
                  รายละเอียดกิจกรรม
                  1.วางแผนการดำเนินการ(P) ...-ตั้งคณะทำงาน -ประชุมวางแผนการดำเนินงาน.
                  2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) -ประสานงานกับคณะทำงาน
                  - ประสานงานในพื้นที่ฯ
                  - ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                  - ดำเนินการตรวจติดตามและถอดบทเรียน
                  3.การติดตามประเมินผล(C)
                  4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A)
                  ระยะเวลาดำเนินงาน
                  1 February 2020 ถึง
                  ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                  ผลผลิต
                  - ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน และการแสดงความคิดเห็นของชุมชน
                  ผลลัพธ์
                  - สามารถวางแผนและแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานได้ในปี2564
                  ทรัพยากรอื่น ๆ
                  ภาคีร่วมสนับสนุน
                  รายละเอียดงบประมาณ
                  ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                  ค่าอาหาร

                  - ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 120 บาท 1วัน เป็นเงิน 3,600 บาท(อาหารกลางวัน 70 บาท/คน อาหารว่างและเครื่องดื่ม วันละ 2มื้อๆละ25 บาท/คน)

                  30 คน 120 1 3,600
                  อื่น ๆ

                  - ค่าเบี้ยเลี้ยง 4คนx240บาทx1 วัน เป็นเงิน 960 บาท

                  4 คน 240 1 960
                  ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

                  - ค่าเดินทาง น้ำมันเชื้อเพลิง 1,000 บาท (รถตู้มหาวิทยาลัยฯ)

                  1 คน 1,000 1 1,000
                  ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

                  ไวนิล 500 บาท

                  1 ชิ้น 500 1 500
                  ค่าวัสดุสำนักงาน

                  ค่าวัสดุ

                  1 ชุด 13,940 1 13,940
                  รวมค่าใช้จ่าย 20,000

                  รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

                  ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                  ค่าใช้จ่าย (บาท) 28,800.00 2,000.00 69,890.00 185,870.00 13,440.00 300,000.00
                  เปอร์เซ็นต์ (%) 9.60% 0.67% 23.30% 61.96% 4.48% 100.00%

                  11. งบประมาณ

                  30,000.00บาท

                  12. การติดตามประเมินผล

                  ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                  ผลผลิต (Output) เป็นแหล่งผลิตอาหารกระบือที่มีคุณภาพ นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
                  ผลลัพธ์ (Outcome) กระบือมีสุขภาพที่สมบูรณ์และจำหน่ายได้เพิ่มขึ้น การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                  ผลกระทบ (Impact) มีการขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงกระบือและจดเป็นวิสาหกิจชุมชน การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
                  นำเข้าสู่ระบบโดย kwangtong kwangtong เมื่อวันที่ 29 October 2019 14:09 น.