โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกบ หมู่บ้านน้ำปั้ว หมู่ที่ 3 ตำบลน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกบ หมู่บ้านน้ำปั้ว หมู่ที่ 3 ตำบลน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้เลี้ยงกบ หมู่บ้านน้ำปั้ว หมู่ที่ 3 ตำบลน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำปั้วหมู่บ้านน้ำปั้ว หมู่ที่ 3 ตำบลน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านนายจุลทรรศน์ คีรีแลงคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เลขที่ 59 หมู่ที่ 13 ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง จ.น่าน 55000หมายเลขโทรศัพท์ (ที่ทำงาน) 054-710259 ต่อ 1131 มือถือ 086-1011606 ,E–Mail: junlatat999@hotmail.com1. ผศ. ดร. เอกชัย ดวงใจ สาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ดร. เชาวลีย์ ใจสุข สาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. อาจารย์บุษบา มะโนแสน สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. อาจารย์ขนิษฐา หอมจันทร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. ดร. ฐาณิญา อิสสระ สาขาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
6. อาจารย์อริยะ แสนทวีสุข คณะวิศวกรรมศาสตร์
7. นายณัฐพล ย้อยกระโทก นักศึกษาสาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
8. นายนัทธพงศ์ สมวงศ์ษา นักศึกษาสาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
9. นายกฤษฎา ใจเพียร นักศึกษาสาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
10. นายนันทภพ น่านลาว นักศึกษาสาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
11. นางสาวสมิตา เรืองยศ นักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
12. นางสาวปิยนุช ขันมูล นักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
13. นางสาวณฐมน สิงห์ต๊ะนะ นักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
14. นางสาวดารินทร์ พรมผาย นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
15. นายอดิศักดิ์ ทีดี นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
น่าน

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านน้ำปั้ว ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ในอดีตนั้นเดิมทีแรกหมู่บ้านน้ำปั้วเป็นหมู่บ้านของชาวม่าน (ม่านเป็นคำพูดของคนสมัยนั้นเรียกคนพม่า) ซึ่งมีชื่อว่า “บ้านน้ำมั้ว” ต่อมาชาวบ้านน้ำปั้วได้อพยพมาจาก เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ปลายกรุงศรีอยุธยา เมื่อประเทศไทยยกทัพไปปราบประเทศลาว เวลายกทัพกลับก็ต้อนหรือนำประชาชนกลับมาด้วย ครั้งแรกมาด้วยกันหลายครอบครัว แต่มาถึงบ้านแพร่ในประเทศลาว ก็มาหยุดตั้งรกรากอยู่ที่นั้น (อาจจะเกิดจากเดินทางลำบาก) ที่เดินทางมาตั้งรกรากอยู่ที่บ้านน้ำปั้วอยู่ 5 ครอบครัว จุดแรกที่อพยพมาคือที่คุ้มบ้านเหล่า คุ้มของชาวม่าน คือ คุ้มปากปั้ว ตำบลนำ้ปั้วประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านวังม่วง หมู่ 2 บ้านน้ำปั้ว หมู่ 3 บ้านน้ำปั้ว หมู่ 4 บ้านน้ำปั้ว หมู่ 5 บ้านห้วยแก้ว หมู่ 6 บ้านปางสีเสียด และหมู่ 7 บ้านน้ำปั้วใหม่ โดยอานาเขตทิศเหนือติดต่อตำบลนาซาว ตำบลกองควาย และตำบลดู่ใต้ อำเภอเมืองน่าน ทิศตะวันออก ติดต่อตำบลนาเหลือง และตำบลตาลชุม อำเภอเวียงสา ทิศใต้ ติดต่อตำบลกลางเวียง และตำบลปงสนุก อำเภอเวียงสา ทิศตะวันตกติดต่อตำบลทุ่งศรีทอง อำเภอเวียงสา ปัจจุบันมีจำนวนประชากร 931 คน 328 ครัวเรือน มีรายได้เฉลี่ย 73,731.67 บาท/ปี โดยมีรายจ่ายต่อบุคคลเฉลี่ย 52,299.69 บาท/ปี ด้านสาธารณูปโภคพบว่าจำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 934 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 85 ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ ซึ่งมีพื้นที่อยู่ด้านฝั่งทิศตะวันตกของแม่น้ำน่านมีลำน้ำห้วยแก้ว และน้ำปั้วไหลผ่านในพื้นที่มีหนองน้ำครก ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 160 ไร่ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ซึ่งพื้นที่กสิกรรมส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพด และสวนผลไม้ โดยผลไม้ที่ปลูกส่วนใหญ่จะเป็นมะม่วง มะขาม ลำไย ผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้แก่ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร มะขามหวาน ลำไย น้ำผึ้ง ผ้าซิ่นต่อตีนจก และผ้าฝ้ายลายน้ำไหลในปี 2560 จากการที่ทางรัฐบาลได้มีโครงการส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มเกษตรกร และองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำปั้วได้รับงบประมาณเพื่อใช้ในการส่งเสริมอาชีพของกลุ่มเกษตรกรตำบลน้ำปั้ว ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลุ่มผู้ปลูกลำไย กลุ่มมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง กลุ่มผู้เลี้ยงกบ และกลุ่มเลี้ยงโคเนื้อ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะได้รับงบประมาณเพื่อใช้ภายในกลุ่ม ในส่วนของกลุ่มผู้เลี้ยงกบได้รับงบประมาณ โดยใช้ในการจัดซื้อบ่อ ลูกพันธุ์กบ และอาหารสำหรับเลี้ยงกบ ให้กับสมาชิกจำนวน 30 คน โดยได้มีการผลิตกบเนื้อเพื่อจำหน่าย และบริโถคภายในชุมชน และมีบางส่วนสามารถเพาะพันธุ์ลูกกบเพื่อจำหน่ายได้อีกทางหนึ่ง นอกจากการเลี้ยงกบเนื้ออย่างเดียว และยังคงเลี้ยงต่อมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งทำให้มีรายได้เสริมจากการเลี้ยงกบเพื่อจำหน่าย1. การผลิตลูกกบ และกบเนื้อยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของคนในชุมชน
2. ขาดความรู้ วิธีการ และเทคโนโลยี ในการเพาะเลี้ยงกบ
3. ด้านการแปรรูปกบเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์
4. ด้านการตลาด ตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แปรรูป
พัฒนาการเพาะพันธุ์ลูกกบ การพัฒนารูปแบบและวิธีการเลี้ยงกบเนื้อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบเพื่อเพิ่มมูลค่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการสร้างตลาดและการหาตลาดใหม่ เพื่อต่อยอดอาชีพการเพาะเลี้ยงกบเกษตรกรชุมชนบ้านน้ำปั้ว

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. ความพร้อมขององค์ความรู้ และเทคโนโลยี โดยมีสาขาวิชาประมง สาขาสัตวศาสตร์และประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร เป็นทีมที่ปรึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีสู่ชุมชน ในด้านของเทคนิค และวิธีการเพาะเลี้ยงกบ รวมถึงการจัดการระหว่างการเลี้ยง
2. สาขาอุตสาหกรรมการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร จะเข้ามาถ่ายทอดองค์ความรู้ในด้านของการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับกบ
3. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตรจะเข้าไปช่วยในด้านการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย
4. คณะวิศวกรรมศาสตร์เข้ามาดูในส่วนของการทำระบบ และโรงเรือนควบคุมอุณหภูมิเพื่อให้สามารถเลี้ยงกบได้ตลอดทั้งปี
5. คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์จะเข้ามาช่วยในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถจำหน่ายในท้องตลาด และพัฒนากลุ่มผู้เลี้ยงกบให้มีความเข้มแข็งและเข้าสู่ระบบวิสาหกิจชุมชนต่อไป

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อยกระดับด้านการเพาะเลี้ยงกบของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
  1. ชุมชนสามารถผลิตลูกลูกกบเพื่อจำหน่ายได้ไม่น้อยกว่า 20,000 ตัว
  2. ชุมชนสามารถผลิตกบเนื้อได้ไม่น้อยกว่า 500 กิโลกรัม
  3. ชุมชนสามารถเลี้ยงกบได้มากกว่า 1 ครั้ง/ปี
3.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกบ จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่

1.00 1.00
3 เพื่อพัฒนาตราสินค้าและการส่งเสริมการตลาดของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
  1. ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
  2. บรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลงาน
  3. สื่อประชาสัมพันธ์ 1 ชุด
3.00 1.00
4 เพื่อบูรณาการโครงการเข้ากับการเรียนการสอนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ระหว่าง คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ภาคประชาชน และภาคีต่างๆ
  1. นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน จากหลากหลายสาขา
  2. มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
2.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงกบ 30
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ 5
นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 15
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกบ

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อยกระดับด้านการเพาะเลี้ยงกบของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังผู้นำกลุ่มและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่เป้าหมาย
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินการฝึกอบรม
- บันทึกกิจกรรม และจัดทำรายงานความก้าวหน้า พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไขกิจกรรมให้สอดคล้อง/บรรลุเป้าหมาย
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการฉบับสมบูรณ์
3. การติดตามประเมินผล (C)
- ติดตามการดำเนินโครงการตามระยะเวลาในการติดตามผล ก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินกิจกรรมของโครงการ โดยใช้แบบประเมินผลโครงการและสัมภาษณ์หรือรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
- หากการดำเนินงานตามแผนฯ พบข้อบกพร่อง หรือมีแนวโน้มว่าจะไม่บรรลุตามเป้าประสงค์ หรือการดำเนินกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน คณะกรรมการจะนำมาพิจารณาและทำการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการบรรลุตามเป้าประสงค์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 January 2020 ถึง 30 September 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต(Output)
1. จำนวนอาจารย์เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 3 คน
2. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมกลุ่มผู้เพาะเลี้ยงกบ ไม่น้อยกว่า 30 คน
3. จำนวนกบเนื้อที่ผลิตได้ ไม่น้อยกว่า 500 กิโลกรัม
4. จำนวนลูกกบที่ผลิตได้ ไม่น้อยกว่า 20,000 ตัว
5. มีนักศึกษาหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาประมง เข้าร่วม ไม่น้อยกว่า 5 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. สมาชิกผู้เลี้ยงกบมีความชำนาญมากขึ้น และสามารถดำเนินการเพาะเลี้ยงกบเนื้อได้เองในอนาคต
2. นักศึกษาสามารถนำความรู้จากห้องเรียนมาประยุกต์ใช้หน้างานได้ และมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยมีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับการบริการวิชาการ
3. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ การบริการวิชาการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและอาหารสำหรับผู้เข้าอบรม (130 บาท x 30 คน x 6 วัน)

30 คน 130 6 23,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยง (240 บาท x 10 คน x 10 วัน)

10 คน 240 10 24,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ใช้ยานพาหนะส่วนตัวพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (30 กม. x 4 บาท x ไป-กลับ x 10 ครั้ง)

60 เที่ยว 4 10 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าพ่อแม่พันธุ์กบ (จำนวน 60 คู่ x 300 บาท)

60 ชุด 300 1 18,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าลูกพันธุ์กบ (จำนวน 30,000 ตัว x 2 บาท)

30,000 ชิ้น 2 1 60,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าอาหารเม็ดสำเร็จรูป

1 ชุด 60,000 1 60,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่ากระชังบกขนาด 2*4*1.5 ม. (จำนวน 60 กระชัง x 1000 บาท)

60 ชิ้น 1,000 1 60,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวัสดุอุปกรณ์และฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยง เช่น เข็มฉีดยา ฮอร์โมนสังเคราะห์ ปั๊มลม ฯลฯ

1 ชุด 40,000 1 40,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักเหมาจ่ายสำหรับนักศึกษาลงพื้นที่ (จำนวน 1 หลัง x 4,000 บาท x 4 เดือน)

1 ชุด 4,000 4 16,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าอุกรณ์สำนักงาน และคอมพิวเตอร์

1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าถ่ายเอกสารและจัดทำรูปเล่ม

1 ครั้ง 2,400 1 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 311,200

กิจกรรมที่ 2 การออกแบบ และสร้างโรงเรือนเพาะเลี้ยงกบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และระบบเปลี่ยนน้ำแบบอัตโนมัติ

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบ และสร้างโรงเรือนเพาะเลี้ยงกบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และระบบเปลี่ยนน้ำแบบอัตโนมัติ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อยกระดับด้านการเพาะเลี้ยงกบของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังผู้นำกลุ่มและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่เป้าหมาย
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินการฝึกอบรม
- บันทึกกิจกรรม และจัดทำรายงานความก้าวหน้า พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไขกิจกรรมให้สอดคล้อง/บรรลุเป้าหมาย
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการฉบับสมบูรณ์
3. การติดตามประเมินผล (C)
- ติดตามการดำเนินโครงการตามระยะเวลาในการติดตามผล ก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินกิจกรรมของโครงการ โดยใช้แบบประเมินผลโครงการและสัมภาษณ์หรือรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
- หากการดำเนินงานตามแผนฯ พบข้อบกพร่อง หรือมีแนวโน้มว่าจะไม่บรรลุตามเป้าประสงค์ หรือการดำเนินกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน คณะกรรมการจะนำมาพิจารณาและทำการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการบรรลุตามเป้าประสงค์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 January 2020 ถึง 30 September 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. ชุดอุปกรณ์โรงเรือนเพาะเลี้ยงกบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และระบบเปลี่ยนน้ำแบบอัตโนมัติพร้อมใช้งาน 1 ชุด
2. จำนวนอาจารย์เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 5 คน
3. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมกลุ่มเพื่อใช้งานโรงเรือนเพาะเลี้ยงกบฯ ไม่น้อยกว่า 15 คน
4. มีนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชา วิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ และ ปวส.ช่างยนต์ ที่ลงทะเบียนในรายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีโรงเรือน การควบคุมอัตโนมัติ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การฝึก ปฏิบัติพื้นฐานทางวิศวกรรม กลศาสตร์ยานยนต์ กลศาสตร์วิศวกรรม วัสดุวิศวกรรม โครงงานทางวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 10 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ชุดอุปกรณ์สามารถใช้งานได้จริง โดยมีค่าประสิทธิภาพทางด้านพลังงาน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
2. สามารถลดเวลาการดูแลกบในสถานที่เพาะเลี้ยง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
3. อาจารย์และบุคลากรที่เข้าร่วม โครงการ สามารถนำผลการบริการวิชาการไปตีพิมพ์ลงในวารสารรับใช้สังคม หรือการประชุมวิชาการระดับชาติ ได้ 1 เรื่อง
4. ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากร – นักศึกษา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
6. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้บูรณาการ-การศึกษากับงานบริการวิชาการ และงานวิจัย อย่างน้อย 1 วิชา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและอาหารว่างผู้เข้าอบรม (130 บาท x 30 คน x 2 วัน)

30 คน 130 2 7,800
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำชิ้นส่วนชุดอุปกรณ์ตามแบบ

1 ชุด 30,000 1 30,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ (5 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 240 บาท)

5 คน 240 3 3,600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เซนเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น (จำนวน 10 อันๆ ละ 240 บาท)

10 ชิ้น 240 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดไมโครคอนโทรเลอร์ (จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 500 บาท)

2 ชุด 500 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดโมดูลแสดงผล (จำนวน 5 ชุด ๆ ละ 310 บาท)

5 ชุด 310 1 1,550
ค่าตอบแทนวิทยากร

ชุดโมดูลเพาเวอร์ซัพพลาย (จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 1,000 บาท)

2 ชุด 1,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดโซลินอยด์วาล์ว (จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 500 บาท)

2 ชุด 500 1 1,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ชุดควบคุมกระแสไฟฟ้า (สะพานไฟ, เบรกเกอร์, แมคเนติกคอนแทคเตอร์, รีเลย์สวิตซ์, ไทม์เมอร์สวิตซ์, ฟิวส์, วัตต์ฮาวมิเตอร์)

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กล่องกันน้ำ อย่างดี (จำนวน 4 กล่องๆ ละ 550 บาท)

4 ชิ้น 550 1 2,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟ THW ขนาด 1.5 mm (จำนวน 2 ม้วนๆ ละ 550 บาท)

2 ชิ้น 550 1 1,100
ค่าตอบแทนวิทยากร

สายไฟ THW ขนาด 1 mm (จำนวน 1 ม้วนๆ ละ 350 บาท)

1 ชิ้น 350 1 350
ค่าตอบแทนวิทยากร

สายไฟ THW ขนาด 0.5 mm (จำนวน 1 ม้วนๆ ละ 300 บาท)

1 ชิ้น 300 1 300
รวมค่าใช้จ่าย 55,300

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังผู้นำกลุ่มและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่เป้าหมาย
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินการฝึกอบรม
- บันทึกกิจกรรม และจัดทำรายงานความก้าวหน้า พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไขกิจกรรมให้สอดคล้อง/บรรลุเป้าหมาย
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการฉบับสมบูรณ์
3. การติดตามประเมินผล (C)
- ติดตามการดำเนินโครงการตามระยะเวลาในการติดตามผล ก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินกิจกรรมของโครงการ โดยใช้แบบประเมินผลโครงการและสัมภาษณ์หรือรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
- หากการดำเนินงานตามแผนฯ พบข้อบกพร่อง หรือมีแนวโน้มว่าจะไม่บรรลุตามเป้าประสงค์ หรือการดำเนินกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน คณะกรรมการจะนำมาพิจารณาและทำการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการบรรลุตามเป้าประสงค์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 January 2020 ถึง 30 September 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกบ อย่างน้อย 2 ชนิด
2. กลุ่มเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์ จำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ชุมชนมีอาชีพเสริมอย่างน้อย 1 อาชีพ คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
2. มีผลิตภัณฑ์แปรรูปชุมชนที่สามารถวางขายใน ศูนย์ OTOP จังหวัดน่าน หรือจังหวัดอื่นๆ ได้ อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
3. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ การบริการวิชาการ อย่างน้อย 10 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าใช้ยานพาหนะส่วนตัวพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (30 กม. x 4 บาท x ไป-กลับ x 10 ครั้ง)

60 ครั้ง 4 10 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ( 1 คน x 300 บาท x 6 ชม. x 4 ครั้ง)

1 คน 1,800 4 7,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและอาหารว่างสำหรับผู้เข้าอบรม (130 บาท* 30 คน* 4 วัน)

30 คน 130 4 15,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ (5 คนๆ ละ 4 วันๆ ละ 240 บาท)

5 คน 240 4 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุการเกษตร/ประมง/เครื่องปรุงต่างๆ ได้แก่ กบ ถุงบรรจุขนาดต่างๆ น้ำปลา น้ำตาลทราย เกลือ พริกป่น พริกแห้ง กระเทียม ฯลฯ

1 ชุด 20,000 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ ถังพลาสติก ถุงพลาสติก ถาดสังกะสี มีด กะละมัง กระทะ เขียง ชั้นวางของ ถาด กระชอน กระทะ ฯลฯ

1 ชุด 20,000 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 70,000

กิจกรรมที่ 4 การส่งเสริมกิจกรรมทางการตลาดของสินค้าแปรรูปจากกบ

ชื่อกิจกรรม
การส่งเสริมกิจกรรมทางการตลาดของสินค้าแปรรูปจากกบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาตราสินค้าและการส่งเสริมการตลาดของกลุ่มผู้เลี้ยงกบบ้านน้ำปั้ว อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
- ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
2. การดำเนินการจัดโครงการ (D)
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังผู้นำกลุ่มและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่เป้าหมาย
- ติดต่อประสานงานเบื้องต้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินการฝึกอบรม
- บันทึกกิจกรรม และจัดทำรายงานความก้าวหน้า พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไขกิจกรรมให้สอดคล้อง/บรรลุเป้าหมาย
- รายงานผลการดำเนินงานโครงการฉบับสมบูรณ์
3. การติดตามประเมินผล (C)
- ติดตามการดำเนินโครงการตามระยะเวลาในการติดตามผล ก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินกิจกรรมของโครงการ โดยใช้แบบประเมินผลโครงการและสัมภาษณ์หรือรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
- หากการดำเนินงานตามแผนฯ พบข้อบกพร่อง หรือมีแนวโน้มว่าจะไม่บรรลุตามเป้าประสงค์ หรือการดำเนินกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน คณะกรรมการจะนำมาพิจารณาและทำการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการบรรลุตามเป้าประสงค์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 January 2020 ถึง 30 September 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา และ ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ 2 ผลงาน
2. ได้สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชุด
3. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน
4. ได้บูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ อย่างน้อย 3 รายวิชา
5. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะการออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับองค์กรกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความเข้มแข็ง
3. เกิดองค์ความรู้และผลงานด้านการออกแบบ
4. มีการบูรณาการโครงการเข้ากับการเรียนการสอน โดยให้เข้าร่วมในกิจกรรมการออกแบบตราสินค้าและการออกแบบบรรจุภัณฑ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าใช้ยานพาหนะส่วนตัวพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (30 กม. x 4 บาท x ไป-กลับ x 10 ครั้ง)

60 เที่ยว 4 10 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและอาหารว่างสำหรับผู้เข้าอบรม (130 บาท* 30 คน* 6 วัน)

30 คน 130 6 23,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ (5 คนๆ ละ 10 วันๆ ละ 240 บาท)

5 คน 240 10 12,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาออกแบบตราสินค้า

1 ชิ้น 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างผลิตตราสินค้า

1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างเหมาป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย

1 ชิ้น 700 1 700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุบรรจุภัณฑ์

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์

1 ชุด 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุกิจกรรมทางการตลาด

1 ชุด 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 63,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 114,250.00 700.00 93,400.00 202,250.00 89,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 22.85% 0.14% 18.68% 40.45% 17.88% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. สามารถผลิตลูกกบเพื่อจำหน่าย ได้ไม่น้อยกว่า 20,000 ตัว
2. สามารถผลิตกบเนื้อเพื่อจำหน่าย ได้ไม่น้อยกว่า 500 กิโลกรัม
3. ชุดอุปกรณ์โรงเรือนเพาะเลี้ยงกบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และระบบเปลี่ยนน้ำแบบอัตโนมัติพร้อมใช้งาน 1 ชุด
4. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร ไม่น้อยกว่า 2 ผลิตภัณฑ์
5. ได้ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา และ ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ 2 ผลงาน และสื่อประชาสัมพันธ์ 1 ชุด
นักศึกษาได้รับความรู้และได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านบริการวิชาการและทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่เกี่ยวข้องด้านการเพาะเลี้ยงกบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกบ การสร้างโรงเรือนและออกแบบระบบควบคุมภายในโรงเรือนสำหรับเลี้ยงกบ การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ และช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนมีอาชีพเสริม อย่างน้อย 1 อาชีพ คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือการเพาะเลี้ยงกบเพื่อการบริโภค และการจำหน่าย
2. สมาชิกผู้เลี้ยงกบมีความชำนาญมากขึ้น และสามารถดำเนินการเพาะเลี้ยงกบเนื้อได้เองในอนาคต
3. สามารถลดเวลาการดูแลกบในสถานที่เพาะเลี้ยง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
4. เกษตรกรสามารถเลี้ยงกบได้มากกว่า 1 ครั้ง/ปี
5. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการพัฒนาทักษะด้านการออกแบบตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์
1. นักศึกษาสามารถนำความรู้จากห้องเรียนมาประยุกต์ใช้หน้างานได้ รวมถึงการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยมีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับการบริการวิชาการร่วมกันทั้ง 3 คณะ ในรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา และจำนวนนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 20 คน
2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้คนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
ผลกระทบ (Impact) 1. เกิดอาชีพทางเลือกให้กับชุมชนเป้าหมาย ซึ่งก่อให้เกิดความมั่นคงทางรายได้ของครอบครัว
2. สามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นชนิดอื่นได้ ไม่น้อยกว่า 1 ชนิด
3. ชุมชนที่ได้รับการบริการวิชาการได้รับความรู้และพัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่มทางการตลาด
4. เกิดการสร้างงานสร้างอาชีพใหม่ทดแทนการปลูกพืชเชิงเดียวในจังหวัดน่าน เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านอาชีพ
5. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีแหล่งอาหารโปรตีนบริโภคเพิ่มขึ้น สามารถลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
สนับสนุนการพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 October 2019 14:01 น.