การพัฒนาศักยภาพชุมชมผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการท่องเที่ยวและสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพชุมชมผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการท่องเที่ยวและสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพชุมชมผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการท่องเที่ยวและสร้างรายได้อย่างยั่งยืนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทศบาลตำบลภูสิงห์ชุมชนผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์นางพนอจิต นิติสุขสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์095-2299-941นางสาว ศิวพร ภารประสบ นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาว จุรีมาศ สุวรรณชาติ นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาว พิมพรรณ ภูมิวัฒร์นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
นางสาว กนกกาญน์ ไชยประโคม นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
นายภานุวัฒน์ ทองสว่างนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์และเทคโนโลยีขนส่ง
นาย ไกรศักดิ์ ศรีปราไหมนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์และเทคโนโลยีขนส่ง
นาย ชยากร ไชยเมืองนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์และเทคโนโลยีขนส่ง
นาย จักรพงศ์ ยงขามป้อม นักศึกษาสาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์และเทคโนโลยีขนส่ง
นาย นิธวุฒิดำพลับนักศึกษาสาขาวิชาการตลาด
นางสาว วัชราภรณ์วงษามหาราช นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด
นาย วัชร วิกลนักศึกษาสาขาวิชาการตลาด
นางสาว ศราลีกัญญาพงศ์นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงเรม
นาย คฑาวุฒิคำโสภา นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงเรม
นางสาว กมลชนกมังสุไร นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงเรม
นาง กรรณิการ์ห้วยแสน อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นาง พนอจิต นิติสุขอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นาง สุภาพรพุ่มริ้ว อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นาย บุญยศคำจิแจ่ม อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาว พนิดาวงศ์ปรีดี อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาว อภิญญาภูมิสายดอน อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
นาย ปิยณัฐโตอ่อนอาจารย์สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์และเทคโนโลยีขนส่ง
นาย นิรันดร์นิติสุข อาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
นาย นพคุณ ทองมวล อาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
นาง สุกัญญาดวงอุปมา อาจารย์สาขาการจัดการ
นาย สุพจน์ดีบุญมีอาจารย์สาขาวิชาการตลาด
นาย ภูมิหมั่นศรี อาจารย์สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงเรม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์

3. รายละเอียดชุมชน

เทศบาลตำบลภูสิงห์ ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์จังหวัดกาฬสินธุ์มีเนื้อที่๓๕.๑๐ ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทิศเหนือขออำเภอสหัสขันธ์อยู่ห่างจากตัวอำเภอสหัสขันธ์ประมาณ๔กิโลเมตรและอยู่ห่างจากตัวเมืองกาฬสินธุ์ประมาณ๓๖กิโลเมตรโดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงมีเขื่อนลำปาวล้อมรอบโดยมี ทิศเหนือติดกับ อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำปาว ทิศใต้ติดกับ ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศตะวันออกติดกับ ตำบลสหัสขันธ์อำเภอสหัสขันธ์จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลโนนบุรีและเขื่อนลำปาวอำเภอสหัสขันธ์มีเนื้อที่ประมาณ ๓๕.๑๐ ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ๕๔,๓๗๕ไร่ ภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศของตำบลภูสิงห์ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขาและมีเขื่อนลำปาวล้อมรอบ
เทศบาลตำบลภูสิงห์มีหมู่บ้านทั้งหมด ๙ หมู่บ้านอยู่ในเขตเทศบาลตำบลภูสิงห์เต็มทั้ง ๙หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น๒,๗๗๒คน แยกเป็นชาย๑,๔๔๖คน หญิง๑,๓๒๖คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย๗๘.๓๘ คน /ตารางกิโลเมตร จำนวน ๗๒๗ครัวเรือน

ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร

ตารางแสดงจำนวนประชากรตำบลภูสิงห์
หมู่ ชื่อหมู่บ้าน จำนวนประชากร( คน) จำนวนครัวเรือน
( หลังคาเรือน )
ชาย หญิง รวม
๑ บ้านโนนสมบูรณ์ ๑๒๑ ๑๒๐ ๒๔๑ ๘๓
๒ บ้านโนนอุดม ๒๐๖ ๑๖๘ ๓๗๔ ๙๑
๓ บ้านดอนดู่ ๖๓ ๕๘ ๑๒๑ ๒๘
๔ บ้านดงน้อย ๓๐๖ ๒๗๖ ๕๘๒ ๑๕๔
๕ บ้านหนองฝาย ๑๕๒ ๑๓๙ ๒๙๑ ๘๔
๖ บ้านท่าศรี ๑๗๖ ๑๗๓ ๓๔๖ ๗๕
๗ บ้านคำชมภู ๘๘ ๙๐ ๑๗๘ ๔๖
๘ บ้านโนนปลาขาว ๑๗๕ ๑๕๖ ๓๓๑ ๘๐
๙ บ้านท่าเรือภูสิงห์ ๑๕๙ ๑๔๖ ๓๐๕ ๘๖
รวม ๑,๔๔๖ ๑,๓๒๖ ๒,๗๗๒ ๗๒๗

โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
มีพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น๘,๗๗๐ไร่ มีครอบครัวเกษตรจำนวน๗๑๗ครอบครัว
สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆแยกได้ดังนี้
รายการ พื้นที่ปลูก (ไร่) จำนวนครัวเรือนที่
ปลูก หมาเหตุ
ข้าว ๑,๖๕๔ ไร่ ๒๐๑ครัวเรือน
มันสำปะหลัง ๑,๔๙๘ไร่ ๑๐๖ครัวเรือน
อ้อย ๕๘๐ ไร่ ๗๗ ครัวเรือน
ยางพารา ๖๒๙ ไร่ ๑๙๕ครัวเรือน
อื่น ๆ ๔,๔๐๙ไร่

กลุ่มอาชีพตำบลภูสิงห์
ลำดับที่ ชื่อกลุ่ม สถานที่ตั้ง ประเภทผลิตภัณฑ์
๑ กลุ่มไวน์ หมู่ที่ ๒ ไวท์หมากเม่า,ไวท์สับปะรด,ไวท์กระเจี๊ยบ
๒ กลุ่มทอผ้า บ้านดอนดู่ หมูที่๓ ผ้าฝ้ายทอมือผ้าขาวม้าผ้าไหม
๓ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาบ้านดงน้อย หมู่ที่๔ ไส้อั่วปลา ปลาส้มปลาแดดเดียว
๔ กลุ่มทอเสื่อกก หมูที่๖ เสื่อกกผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเสื่อกก
๕ กลุ่มปลาร้าไฮเทค หมู่ที่๘ ปลาร้ากระป๋อง
๖ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา
บ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ที่๙ ไส้อั่วปลา ปลาส้มปลาแดดเดียว
อาชีพประชากรในเขตตำบลภูสิงห์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พอจำแนกอาชีพของราษฎรได้ดังนี้ทำไร่มันสำปะหลัง ไร่อ้อย ทำนา ข้าวโพด และสวนผลไม้ฯลฯร้อยละ๒๒ทำการประมงร้อยละ๖๐ สัตว์เลี้ยงร้อยละ ๗ (โคหมูไก่) รับจ้างทั่วไปร้อยละ ๗(สถานบริการ และก่อสร้าง, รับจ้างทั่วไป) ค้าขายร้อยละ ๒ อื่น ๆ (รับราชการและอาชีพส่วนตัว) ร้อยละ ๒
ด้านการท่องเที่ยว มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือพระพรหมภูมิปาโล (พระพรหมภูสิงห์ ) หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว หาดทรายขาวห้วยแคนและมีสถานที่ท่องเที่ยว เชิงเกษตร คือกลุ่มแปรรูปอาหารจากปลาบ้านดงน้อย กลุ่มแม่บ้านเกษตร(ไส้กรอกปลา, ปลาร้าบอง ฯลฯ ) กลุ่มปลาร้าไฮเทค บ้านโนนปลาขาวกลุ่มไวน์บ้านโนนอุดม (ไวท์หมากเม่า, ไวท์สับปะรด, ไวท์กระเจี๊ยบ )กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคำชมภู และกลุ่ม ไส้กรอกปลาสมุนไพรและมีสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว (หาดวัดถ้ำทองนพคุณ) ท่าแพขนานยนต์บ้านดงน้อยถ้ำพระศากยะมุนีถ้ำโมกขธรรม หาดห้วยแคน แหล่งค้นพบฟอสซิลหอยโบราณ บนเขาภูสิงห์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร

โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
มีพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น ๘,๗๗๐ไร่ มีครอบครัวเกษตรจำนวน๗๑๗ ครอบครัว
สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆแยกได้ดังนี้
รายการ พื้นที่ปลูก (ไร่) จำนวนครัวเรือนที่
ปลูก หมาเหตุ
ข้าว ๑,๖๕๔ ไร่ ๒๐๑ครัวเรือน
มันสำปะหลัง ๑,๔๙๘ไร่ ๑๐๖ครัวเรือน
อ้อย ๕๘๐ ไร่ ๗๗ ครัวเรือน
ยางพารา ๖๒๙ ไร่ ๑๙๕ครัวเรือน
อื่น ๆ ๔,๔๐๙ไร่

กลุ่มอาชีพตำบลภูสิงห์
ลำดับที่ ชื่อกลุ่ม สถานที่ตั้ง ประเภทผลิตภัณฑ์
๑ กลุ่มไวน์ หมู่ที่ ๒ ไวท์หมากเม่า,ไวท์สับปะรด,ไวท์กระเจี๊ยบ
๒ กลุ่มทอผ้า บ้านดอนดู่ หมูที่๓ ผ้าฝ้ายทอมือผ้าขาวม้าผ้าไหม
๓ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาบ้านดงน้อย หมู่ที่๔ ไส้อั่วปลา ปลาส้มปลาแดดเดียว
๔ กลุ่มทอเสื่อกก หมูที่๖ เสื่อกกผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเสื่อกก
๕ กลุ่มปลาร้าไฮเทค หมู่ที่๘ ปลาร้ากระป๋อง
๖ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา
บ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ที่๙ ไส้อั่วปลา ปลาส้มปลาแดดเดียว
อาชีพประชากรในเขตตำบลภูสิงห์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พอจำแนกอาชีพของราษฎรได้ดังนี้ทำไร่มันสำปะหลัง ไร่อ้อย ทำนา ข้าวโพด และสวนผลไม้ฯลฯร้อยละ๒๒ทำการประมงร้อยละ๖๐ สัตว์เลี้ยงร้อยละ ๗ (โคหมูไก่) รับจ้างทั่วไปร้อยละ ๗(สถานบริการ และก่อสร้าง, รับจ้างทั่วไป) ค้าขายร้อยละ ๒ อื่น ๆ (รับราชการและอาชีพส่วนตัว) ร้อยละ ๒
ด้านการท่องเที่ยว มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือพระพรหมภูมิปาโล (พระพรหมภูสิงห์ ) หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว หาดทรายขาวห้วยแคนและมีสถานที่ท่องเที่ยว เชิงเกษตร คือกลุ่มแปรรูปอาหารจากปลาบ้านดงน้อย กลุ่มแม่บ้านเกษตร(ไส้กรอกปลา, ปลาร้าบอง ฯลฯ ) กลุ่มปลาร้าไฮเทค บ้านโนนปลาขาวกลุ่มไวน์บ้านโนนอุดม (ไวท์หมากเม่า, ไวท์สับปะรด, ไวท์กระเจี๊ยบ )กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคำชมภู และกลุ่ม ไส้กรอกปลาสมุนไพรและมีสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว (หาดวัดถ้ำทองนพคุณ) ท่าแพขนานยนต์บ้านดงน้อยถ้ำพระศากยะมุนีถ้ำโมกขธรรม หาดห้วยแคน แหล่งค้นพบฟอสซิลหอยโบราณ บนเขาภูสิงห์

ศาสนสถาน เทศบาลตำบลภูสิงห์มีวัดจำนวน๘แห่งมีสำนักสงฆ์๑แห่ง ดังนี้ วัดมณีศิลาราม บ้านโนนสมบูรณ์ หมู่ที่ ๑ วัดบ้านโนนอุดมบ้านโนนอุดม หมู่ที่ ๒ วัดสันติธรรมบ้านดงน้อย หมู่ที่๔วัดป่าโมขธรรมบ้านหนองฝายหมู่ที่ ๕ วัดศรีสง่าธรรม บ้านท่าศรีหมู่ที่๖วัดคำชมภูบ้านคำชมภูหมู่ที่๗วัดภูน้อยบ้านโนนปลาขาวหมู่ที่๘วัดท่าเรือภูสิงห์บ้านท่าเรือภูสิงห์หมู่ที่๙สำนักสงฆ์พุทธาวาสบ้านคำชมพูหมู่ที่๗ ในด้านศิลปะวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี งานประเพณีบุญมหาชาติงานประเพณีสงกรานต์งานบุญบั้งไฟ งานบุญเข้าพรรษา ออกพรรษางานลอยกระทง
ด้านการท่องเที่ยว มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือพระพรหมภูมิปาโล (พระพรหมภูสิงห์ )หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว หาดทรายขาวห้วยแคนและมีสถานที่ท่องเที่ยว เชิงเกษตร คือกลุ่มแปรรูปอาหารจากปลาบ้านดงน้อย กลุ่มแม่บ้านเกษตร(ไส้กรอกปลา, ปลาร้าบอง ฯลฯ ) กลุ่มปลาร้าไฮเทค บ้านโนนปลาขาวกลุ่มไวน์บ้านโนนอุดม (ไวท์หมากเม่า, ไวท์สับปะรด, ไวท์กระเจี๊ยบ )กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคำชมภู และกลุ่ม ไส้กรอกปลาสมุนไพรและมีสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ หาดทรายขาวบ้านโนนปลาขาว (หาดวัดถ้ำทองนพคุณ) ท่าแพขนานยนต์บ้านดงน้อยถ้ำพระศากยะมุนีถ้ำโมกขธรรม หาดห้วยแคน แหล่งค้นพบฟอสซิลหอยโบราณ บนเขาภูสิงห์
ประเด็นปัญหาหลักของบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์
(ข้อมูลจากสำนักปลัดเทศบาลตำบลภูสิงห์)
ตำบลภูสิงห์มีหมู่ที่ประกอบอาชีพประมง จำนวน 3 หมู่บ้าน ซึ่งมีปัญหาด้านรายได้ ไม่มีที่ทำกิน อาชีพหลักของคนในชุมชนส่วนมากเป็นการประมง และแปรรูปปลาจำหน่าย เช่น ปลาร้า ปลาส้ม ปลาจ่อม และปลาตากแห้ง เพื่อเป็นรายในการเลี้ยงครอบครัว รายได้จึงขึ้นอยู่กับการประมงอย่างเดียว รายได้จึงไม่มากนัก ซึ่งเป็นปัญหาความยากจน ทำให้ไม่พอในการเลี้ยงครอบครัว หากมีการพัฒนาสินค้า มีการจำหน่ายสินค้าได้มากกว่าเดิม ก็จะทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น คุณภาพชีวิตก็จะดีไปด้วย
ประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่
(ข้อมูลจาก อ.ภูมิหมั่นพลศรี จากการลงพื้นที่เก็บรวบรวมบริบทของหมู่บ้านฯ)
บ้านท่าเรือภูสิงห์ มี การเลี้ยงปลาในกระชัง กลางน้ำ คือ การจับ-ขาย นำมาแปรรูป และปลายน้ำ คือ การจัดจำหน่ายและการส่งเสริมกิจกรรมการขายต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มแปรรูป อาทิ การขายในพื้นที่และการนำเสนอขายผ่านกิจกรรมนอกพื้นที่ โดยได้มีการจัดตั้ง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาน้ำจืดเขื่อนลำปาว
โดยมีการจัดทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา ทั้ง 8 ประเภทหลัก โดยมีสมาชิกในกลุ่มร่วมกันดำเนินงานอย่างเข้มแข็ง สมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่ มากกว่า 80% มีอาชีพหลักเป็นชาวประมงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาในเขื่อนลำปาว
จากการเข้าพบเจ้าบ้านกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา ดังกล่าว ทราบว่าพื้นที่ชุมชน ตำบลท่าเรือนี้มีความน่าสนใจในการส่งเสริม สนับสนุนงานวิชาการในหลายประเด็น ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ พื้นที่ในการเลี้ยงปลากระชังมีพื้นที่ส่งเสริมการเลี้ยงปลากระชังครอบคลุม 6 อำเภอ 2 จังหวัดและมีการเลี้ยงปลา 13 จุด ส่วนใหญ่แล้วเป็นการเลี้ยงปลานิล เลี้ยงเพื่อขายส่งต่อไปยังผู้ซื้อต่อไป นอกจากนี้ยังมีการรับซื้อปลาส่วนใหญ่เป็น เนื้ออ่อนและปลาขาว
ข้อมูลด้านการบริหารจัดการกลุ่มส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา
ปัจจุบันสามาชิกที่เข้าร่วมในกลุ่มฯ มีจำนวนทั้งสิ้น 30 คน มีการดำเนินงานส่งเสริมแปรรูปผลิตภัณฑ์ร่วมกันจากสมาชิกอย่างต่อเนื่อง (ทำร่วมกันแล้วมารวมส่งขายกระจายไปยังช่องทางที่มี) ซึ่งสมาชิกทุกคนจะต้องมีการระดมทุนกันอย่างต่อเนื่องเป็นจำนวน 100 บาท ต่อคนต่อเดือน โดยผลิตภัณฑ์ที่นนิยมในการแปรรูปเพื่อจำหน่ายมีอยู่หลัก ๆ ด้วยกัน 8 รายการ ดังนี้
1 ปลาส้มห่อใบตอง2 ปลาชิ้น
3 ปลาซิวแก้วแดดเดียว 4 ปลาดาวแดดเดียว
5 ปลาร้าบอง6 ส้มปลาตัว
7 หม่ำใส้ปลา 8 หม่ำไข่ปลา
ส้มปลาห่อใบตอง คือ เอกลักษณ์ของพื้นที่บ้านท่าเรือภูสิงห์ นี้ เพราะเป็นการบตองแล้วมัดไว้ด้วยตอกไม้ไผ่ การพัฒนาหีบห่อบรรณจุภัณฑ์ยังเป็นที่ต้องการในการพัฒนาของสิ้นค้าทั้ง 8 ประเภท และปัจจุบันได้มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ของปลาร้าบอง ที่ได้รับการส่งเสริมโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ททท. ภายใต้กิจกรรมของโครงการโอท็อปนวัตวิถีของอำเภอสหัสขันธ์ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เหลือเป็นการร่วมกันทำจากกลุ่มแม่บ้านท่าเรือภูสิงห์ผลจากการนำเสนอผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 รูปแบบวางขายในงานกิจกรรมต่าง ๆ พบว่าลูกค้ามีความสนใจในหีบห่อบรรจุภัณฑ์ใหม่(ททท. ให้การส่งเสริม) แต่ทางกลุ่มต้องการให้มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถเก็บกลิ่น มีความแน่นหนามากยิ่งขึ้น (เช่น กล่องเก็บสินค้าแบบอัดสูญญากาศ)
ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ปลาร้าบอง ที่พัฒนาจาก ททท.และภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ปลาร้าบอง
ที่พัฒนาจากกลุ่มแม่บ้านท่าเรือภูสิงห์

โดยกลุ่มมีช่องทางในการจัดจำหน่าย (Place) ของกลุ่มฯ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ช่องทาง คือ
1. การจัดจำหน่ายภายในพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ได้แก่ การวางขายในชุมชน บริเวสองข้างทางสัญจรโดยรอบของพื้นที่เขื่อนลำปาว คือ ร้านค้าชั่วคราว ตามบ้านเรือนในชุมชน และการนำไปจัดวางในสถานที่ท่องเที่ยวในตัวอำเภอตามเทศกาลงานประเพณีต่าง ๆ เช่น ที่พิพิธภัณฑ์สิรินธรจังหวัดกาฬสินธุ์ ศูนย์ให้บริการนักท่องเที่ยวและถนนคนเดินสหัสขันธ์ไดโนโรด
2. การจัดจำหน่ายภายนอกพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ ได้แก่ การนำไปออกร้านตามเทศกาลงานเคลื่อนที่ สัญจรของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่ได้รับเชิญให้ไปออกร้าน นำเสนอสินค้าชุมชน ทั่วประเทศ
จากผลการดำเนินการขายสินค้าและจัดจำหน่ายในช่องทางที่มีอยู่ในปัจจุบัน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ ยังมีความประสงค์ที่จะได้อาคารโรงเรือนที่ใช้สำหรับการดำเนินงานของกลุ่มฯ เป็นพื้นที่ส่วนกลาง ที่สามารถทำกิจกรรมได้หลายรูปแบบ ทั้งการสาธิตการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การวางจำหน่ายสินค้า และใช้เป็นพื้นที่ต้อนรับ ศึกษาดูงานต่อไป ในพื้นที่ใกล้เคียงบริเวณชุมช

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

โครงการวิจัยนี้ผู้วิจัยทำดำเนินการบูรณาการหลายศาสตร์ ได้แก่
1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ใช้องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิตอาหารที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดกระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ดี ซึ่งองค์ความรู้ที่จำเป็นต้องใช้ในโครงการนี้ได้แก่
1.1 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง
คุณภาพของสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้บริโภคสนใจการปฏิบัติต่อปลาและสัตว์น้ำตั้งแต่สภาพสดจนกระทั่งแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆจึงมีความสำคัญที่จะส่งผลต่อผลิตภัณฑ์ที่จะผลิตขึ้นได้ สัตว์น้ำแต่ละชนิดมีความแปรปรวนในองค์ประกอบตามชนิดและพันธุ์ จึงมีการเก็บรักษาไม่เหมือนกัน โดยทั่วไปสัตว์น้ำเน่าเสียเร็วกว่าอาหารสดอื่นๆ และเกี่ยวข้องกับอันตรายสำคัญๆ ที่จะเกิดกับสุขภาพมากว่าการรักษาคุณภาพไว้จึงมีความสำคัญมากการลดอุณหภูมิของสัตว์น้ำ เช่นการใส่น้ำแข็ง (Icing) เป็นวิธีการหนึ่งในการชะลอการเปลี่ยนแปลงของสัตว์น้ำ ซึ่งจะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นกับปริมาณน้ำแข็งที่ใช้ชนิดและความสดของสัตว์น้ำ การติดตามการเสื่อมเสียของสัตว์น้ำเป็นวิธีการหนึ่งที่จะบอกถึงอายุการเก็บของสัตว์น้ำ และใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นของอุตสาหกรรมประมง นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยังใช้เป็นดัชนีในการทดลองเพื่อหาวิธีการต่างๆมาชะลอหรือควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1.2 การควบคุมคุณภาพอาหาร (definition quality control of food)
“การควบคุมคุณภาพ” ถูกสร้างขึ้นมาจากคำสองคำ ได้แก่ คำว่า การควบคุม ที่ในภาษาอังกฤษหมายถึง “control” และ คำว่า คุณภาพ ที่ในภาษาอังกฤษหมายถึง “quality” จึงรวมกันได้เป็น Quality Control หรือ Q.C.
a. บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์จากปลา
b. การแปรรูปอาหารโยการใช้ความร้อนความเย็น การทำแห้ง การใช้สารเคมี

2. วิศวกรรมอาหาร/วิศวกรรมกษตร/วิศวกรรมโลจิสติกส์
ใช้องค์ความรู้ด้านการทำงานของเครื่องมือระบบการผลิตอาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ผลิตด้านการผลิตและแปรรูปอาหาร ที่เหมาะสม ในโครงการนี้นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์จะสร้างตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อให้กลุ่มแปรรูปปาใช้อบผลิตภัณฑ์จากปลาชนิดต่างๆตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องมือในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรแบบประหยัดต้นทุน โดยเฉพาะในเรื่องค่าไฟฟ้า เพื่อให้การดำเนินโครงการในการเสริมสร้างรายได้ ตามโครงการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนอย่างยั่งยืนโดยศาสตร์พระราชาตามแนวทางประชารัฐ



3. วิศวกรรมเกษตร
สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการผลิตโดยใช้องค์ความรู้สร้างเครื่องมือ

4. โลจิสติกส์
ใช้องค์ความรู้เพื่อสนับสนุนกระบวนการจัดการวัตถุดิบ กระบวนการส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์

5. การตลาดและการจัดการ
วิเคราะห์ จุดแข็ง – จุดอ่อน (SWOT) ดำเนินการจัดการตำแหน่งสินค้ ช่องทางการตลาด สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ผลิตภัณฑ์


6. คอมพิวเตอร์ การตลาดออนไลน์
องค์ความรู้เรื่อง ส่งเสริมการขาย กระจายสินค้าออนไลน์ กลยุทธ์การตลาด 5.0” กับการทำธุรกิจร้านค้ายุค 2019 กลุ่มธุรกิจ SMEs ที่ผันตัวมาสู่การเป็น Smart Enterprises หรือกลุ่ม Startup ที่เน้นการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และเน้นการทำน้อยได้มากเป็นหลัก
7. สถิติที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
เก็บรวบรวมข้อมูล ตัวเลข สถิติสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้รอบตัว ทั้งเรื่องการเรียน, การสอบ, การเดินทาง, หรือค่าใช้จ่ายที่เราใช้ประจำเดือน ตัวอย่างเช่น การนำสถิติไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ได้ทำการ จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย ต้นทุน ยอดเงินที่ขายของได้ในแต่ละวัน

8. การท่องเที่ยว
ความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ทางเศรษฐกิจ
-เป็นแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศ
-ช่วยลดปัญหาการขาดดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
-ช่วยสร้างอาชีพและการจ้างงาน
-ช่วยให้เกิดการกระจายรายได้
-ช่วยกระตุ้นให้เกิดการผลิตทางเศรษฐกิจ
ทางสังคมและวัฒนธรรม
-ช่วยยกมาตรฐานการครองชีพของคนในท้องถิ่น
-ช่วยสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่สังคม
-ช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
-ช่วยก่อให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา
-ช่วยลดปัญหาความแออัดในเมืองหลวง
-ช่วยเกิดให้เกิดการนำทรัพยากรที่ไร้ค่าในท้องถิ่นมาสร้างมูลค่า

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถลงพื้นและทำงานร่วมกับชุมชน จากการใช้องค์ความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียนไปปฏิบัติงานในชุมชนได้จริง

นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถทำงานร่วมกับชุมชน และสามารถใช้องค์ความรู้นำไปแก้ปัญหาในชุมชนได้

80.00 80.00
2 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถดำเนินการสร้างศักยภาพด้านการผลิตและการตลาดที่เข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่ทำอาชีพแปรรูปปลาที่บ้านท่าเรือภูสิงห์

นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถดำเนินการสร้างศักยภาพด้านการผลิตและการตลาดที่เข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่ทำอาชีพแปรรูปปลาที่บ้านท่าเรือภูสิงห์

80.00 80.00
3 3. เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่าย ระหว่างมหาวิทยาลัย คืออาจารย์และนักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับชุมชน องค์กรณ์ปกครองส่วนท้องถิ่น และสามารถสร้างรายได้แก่ชุมชนได้เพิ่มมากขึ้น

เกิดภาคีเครือข่าย ระหว่างมหาวิทยาลัย คืออาจารย์และนักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับชุมชน องค์กรณ์ปกครองส่วนท้องถิ่น และสามารถสร้างรายได้แก่ชุมชนได้เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า 3 ภาคี

80.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์ 30
นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 14
อาจารย์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 12

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อม
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    มีการประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน อาจารย์ที่ปรึกษาและทีมนักศึกษาเพื่อคัดเลือกกลุ่มองค์กรชุมชนที่มีคุณสมบัติ เข้า ร่วมกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 ธันวาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลภูสิงห์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าอาหาร 30 คน 150 1 4,500
    ค่าอาหาร 30 คน 35 2 2,100
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 2,000 1 2,000
    รวมค่าใช้จ่าย 8,600

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจปัญหา/ความต้องการของชุมชน

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจปัญหา/ความต้องการของชุมชน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา และเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลภูสิงห์ลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เพื่อศึกษาข้อมูลบริบทชุมชน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      15 ธันวาคม 2562 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทราบบริบทชุมชน โครงสร้างพื้นฐาน / ปัญหา และความต้องการของชุมชน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      เทศบาลตำบลภูสิงห์
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าอาหาร 50 คน 120 2 12,000
      ค่าอาหาร 50 คน 35 4 7,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

      14 คน 180 2 5,040
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

      12 คน 120 2 2,880
      ค่าตอบแทนการประสานงาน 4 คน 180 2 1,440
      ค่าที่พักตามจริง 26 ชุด 300 1 7,800
      รวมค่าใช้จ่าย 43,160

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการแก้ปัญหา เสริมสร้างศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการแก้ปัญหา เสริมสร้างศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตและแปรรูปปลาบ้านท่าเรือภูสิงห์
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        นักศึกษาทุกหลักสูตร ร่วมกันทำกิจกรรมพัฒนากระบวนการผลิตให้ดีเพื่อเตรียมขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้แก่กลุ่ม โดยเฉพาะวิศวะ จะดำเนินการสร้างเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ต้นแบบ เพื่อช่วยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ปลา
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มกราคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาพร้อมจำหน่วยจำนวน 8 ชนิด
        ได้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ 1 ตู้
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        เทศบาลตำบลภูสิงห์
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าอาหาร 50 คน 120 12 72,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 50 คน 35 24 42,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 6 เที่ยว 2,000 1 12,000
        อื่น ๆ

        เบี้ยเลี้ยงอาจารย์

        14 คน 180 12 30,240
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

        12 คน 120 12 17,280
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 172,860 1 172,860
        รวมค่าใช้จ่าย 346,380

        กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 สร้างเสริมศักยภาพด้านการตลาด

        ชื่อกิจกรรม
        กิจกรรมที่ 4 สร้างเสริมศักยภาพด้านการตลาด
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางการคำนวณต้นทุน ราคาจำหน่าย ระดมความคิดเพื่อหาแบรนด์สินค้าร่วมกัน จัดทำแผนธุรกิจ จัดหาช่องทางการจำหน่ายที่เหมาะสม สร้างเพจการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ดบน Facebook หรือช่องทางออนไลน์อื่นๆ และวางจำหน่ายในช่องทางออฟไลน์ ได้แก่ ร้านค้าในชุมชน ร้านค้าในเมือง ห้างร้านอื่นๆ เป็นต้น สร้าง
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 มีนาคม 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          สร้างเพจ ช่องทาการจำหน่ายสินค้า อย่างน้อย 3 ช่องทาง
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          เทศบาลตำบลภูสิงห์
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร 50 คน 120 2 12,000
          ค่าอาหาร 50 คน 35 4 7,000
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

          14 คน 180 2 5,040
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

          12 คน 120 2 2,880
          ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,080 1 3,080
          รวมค่าใช้จ่าย 32,000

          กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 สร้างเสริมศักยภาพด้านการท่องเที่ยว

          ชื่อกิจกรรม
          กิจกรรมที่ 5 สร้างเสริมศักยภาพด้านการท่องเที่ยว
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            เพื่อเป็นการส่งเสริมการที่มีซึ่งรายได้แก่ชุมชน นักศึกษาด้านการท่องเทียวจะต้องดำเนินการดำเนินการสร้างเสริมศักยภาพด้านกรรมการท่องเที่ยว
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 มกราคม 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ได้เส้นกิจกรรมเส้นทางท่องเที่ยว 3 เส้นทาง
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            เทศบาลตำบลภูสิงห์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสหัสขันธ์
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าอาหาร 30 คน 120 6 21,600
            ค่าอาหาร 30 คน 35 12 12,600
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
            อื่น ๆ

            ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

            6 คน 180 2 2,160
            อื่น ๆ

            ค่าเบี้ยงนักศึกษา

            4 คน 120 2 960
            ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 10,000 1 10,000
            ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,860 1 3,860
            รวมค่าใช้จ่าย 53,180

            กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 ติดตามผลและประเมินผล

            ชื่อกิจกรรม
            กิจกรรมที่ 6 ติดตามผลและประเมินผล
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              - นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงานรูปแบบ Video และ Power Point ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อประเมินผลการดำ เนินกิจกรรมโครงงาน
              - มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะกรรมการหน่วยงานภายนอกลงพื้นที่เพื่อประเมินผลตามตัวชี้วัดปริมาณและคุณภาพ
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              16 มีนาคม 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              นักศึกษาได้จัดทำสื่อ Video และ Power Point
              ได้เรียนรู้ ฝึกประสบการณ์การทำสื่อโฆษณา
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              ค่าอาหาร 20 คน 120 1 2,400
              ค่าอาหาร 20 คน 35 2 1,400
              ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
              อื่น ๆ

              ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

              12 คน 120 1 1,440
              อื่น ๆ

              ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

              8 คน 180 1 1,440
              ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
              รวมค่าใช้จ่าย 13,680

              รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 497,000.00 บาท

              ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
              ค่าใช้จ่าย (บาท) 16,320.00 214,400.00 199,800.00 66,480.00 497,000.00
              เปอร์เซ็นต์ (%) 3.28% 43.14% 40.20% 13.38% 100.00%

              11. งบประมาณ

              497,000.00บาท

              12. การติดตามประเมินผล

              ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
              ผลผลิต (Output) 1.ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาที่ถูกพัฒนาผลิตภัณฑ์
              2.เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ต้นแบบ
              3. มีแหล่งกระจายสินค้าช่องทางต่าง ๆ
              1.นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการผลิต ควบคุมคุณภาพ และพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา
              2.นักศึกษาได้เรียนรู้การสร้างเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ต้นแบบ
              3.นักศึกษาสามารถสร้างช่องทางการตลาด เพื่อสนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงหได้ได้
              4. นักศึกษาสามารถสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ได้
              ผลลัพธ์ (Outcome) 1.เกิดความรู้และประสบการณ์ในการผลิตและแก้ปัญหากระบวการผลิตและการขายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาที่ดีแก่ชุมชน
              2.ชุมชนเกิดความเข้มแข็งจากความรู้ด้านการผลิตที่มีมากขึ้น รายได้ที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวมีปัญหาด้านการเป็นอยู่น้อยลง
              1. นักศึกษาเรียนรู้การทำงานเป็นทีม ได้นำเอาความรู้การทำงานในสายวิชชีพที่เรียนมามาแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
              2. นักศึกษาสามารถทำงานและเรียนรู้จกประสบกาณ์ตรงและเรียนรู้การใช้ชีวิตและการปรับตัวในชุมชน
              3. นักศึกษาเกิดความมั่นใจ และเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น จากการเรียนรู้การทำงานในพื้นที่จริง
              ผลกระทบ (Impact) 1.ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มขึ้น
              2.ชุมชนเรียนรู้ และมีองค์ความรู้ด้านการผลิตและแปรรูปปลาที่ได้คุณภาพ มาตรฐานมากขึ้น
              3.ชุมชนมีความรู้ที่ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันในด้านการทำธุรกิจแบบหลายช่องทาง
              1. นักศึกษาเกดพลัง ความมุ่งมั่น และมีจิตอาสา
              2. นักศึกษามีความรู้จากห้องเรียนที่เป็นการใดำเนินชีวิตจริง ไม่ใช่เรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน
              3.นักศึกษามีรายได้ในระหว่างเรีน และเรียนรู้การทำธุรกิจจากประสบการณ์ที่ได้เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
              นำเข้าสู่ระบบโดย panorjit panorjit เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 13:48 น.