การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลค่าผลผลิตของมันเทศญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลค่าผลผลิตของมันเทศญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมูลค่าผลผลิตของมันเทศญี่ปุ่นให้เหมาะสมกับพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายเอกรินทร์ สารีพัว62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์0878658848สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
อาจารย์ที่ปรึกษา เลขบัตรประชาชน
1. อาจารย์เอกรินทร์ สารีพัว 1610400031437
นักศึกษา เลขบัตรประชาชน
1. นายองอาจ สารคาม 1460800091692
2. นางสาวพุทธชาติ โอภาษ1459900676356
3. นางสาววาสนา สำเนากลาง1309600043286
4. นางสาวจิตรติกาญ โภคลาภ 1430900250717
สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
อาจารย์ที่ปรึกษา เลขบัตรประชาชน
1. ผศ.กรรณิการ์ ห้วยแสน 3381800017849
2. อาจารย์เกียรติพงษ์ เจริญจิตต์ 3451300013193
3. อาจารย์หนูเดือน สาระบุตร 3460100877932
4. อาจารย์อ้อยทิพย์ สมานรส 3320101913607
นักศึกษา เลขบัตรประชาชน
1. นายพัฒน์พงษ์ ภาวงค์1470600124236
2. นางสาวยลดาถินวิสัย1469900463441
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
อาจารย์ที่ปรึกษา เลขบัตรประชาชน
1. อาจารย์สุพจน์ ดีบุญมี 1400500038648
2. อาจารย์มัลลิกา จำปาแพง3100600068587
นักศึกษา เลขบัตรประชาชน
1. นายนิธิวุฒิ ดำพลับ 1309901138863
2. นายบุลิน โรจน์สุกิจ 1469900380856

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ หนองกุง ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

หมู่ที่ 1 บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ พื้นที่เป็นที่ราบสูง สลับพื้นที่ราบลุ่ม มีประชากรประมาณ 150 หลังคาเรือน ส่วนใหญ่ 80 เปอร์เซ็นต์ มีอาชีพทำการเกษตร โดยมีพื้นอยู่อาศัยและพื้นทำการเกษตรแยกกัน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่จะเป็นข้าว และมีการปลูกพืชผัก และไม้ผล เป็นพืชประกอบเสริม ในปัจจุบันได้มีการนำเอาพืชหลังนามาปลูกเป็นอาชีพเสริม โดยเฉพาะมันเทศญี่ปุ่นที่เริ่มเป็นที่นิยมของชาวบ้าน เนื่องจากมีกลุ่มผู้นำชุมชนและเกษตรกรตัวอย่างได้นำมาเผยแพร่ และมีการสร้างตลาดรองรับที่มากขึ้น จึงทำให้เกษตรกรหลายรายสนใจเพิ่มพื้นที่ปลูกมากขึ้น แต่ปัญหาที่พบ จากการสำรวจพื้นที่ เนื่องจากเป็นพืชใหม่เกษตรกรยังไม่มีองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต จึงทำให้มีปัญหาในเรื่องคุณภาพผลผลิต และราคาผลผลิตตกต่ำตามมาลักษณะพื้นที่เหมาะแก่การทำเกษตร เนื่องจากอยู่ใกล้พื้นที่ในเขตชลประทาน ทำให้มีน้ำเพียงพอต่อการปลูกข้าวที่เป็นอาชีพหลัก และพืชอื่นๆ ที่เป็นพืชรอง โดยเฉพาะพืชผัก และไม้ผล
ลักษณะพื้นที่อยู่อาศัย อยู่เป็นชุมชนใกล้ชิดกันเป็นหมู่บ้านไม่ใหญ่มาก ทำให้การติดต่อประชาสัมพันธ์ง่าย และมีพื้นที่ใกล้เขตตัวจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่เป็นจุดศูนย์รวมทางราชการและการค้าขาย
1. การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ในการปลูกมันเทศญี่ปุ่นทำให้มีปัญหาในการบริหารปริมาณและคุณภาพของผลผลิตต่อความต้องการของตลาด
2. เกษตรที่ปลูกมันเทศญี่ปุ่นส่วนใหญ่เป็นรายใหม่ที่ยังไม่มีองค์ความรู้และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้ได้คุณภาพ และมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย
3. รูปแบบการจำหน่ายผลผลิตของเกษตรกรที่เป็นของสด และยังต้องพึ่งพาพ่อค้าคนกลางในการส่งตลาด
1. เทคโนโลยีการผลิตมันเทศญี่ปุ่น
2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมกับกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่
3. ช่องทางการตลาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์และสถานการณ์ปัจจุบัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. ต้นน้ำ: องค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิต ได้แก่ การปรับปรุงความอุคมสมบูรณ์ของดิน การเตรียมแปลงปลูก ระบบน้ำ การเลือกและจัดการพันธุ์มันเทศ การจัดการธาตุอาหาร และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสมตามมาตรฐานสินค้าเกษตร (สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช)
2. กลางน้ำ: นวัตกรรมในการแปรรูปผลผลิต ได้แก่ การสร้างผลิตภัณฑ์แปรรูปมันเทศญี่ปุ่นที่เหมาะสมกับปริมาณผลผลิต และเป็นเอกลักษณ์ในพื้นที่ของชุมชน (สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร)
3. ปลายน้ำ: องค์ความรู้ในการสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูป ได้แก่ รูปแบบหรือช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปมันเทศญี่ปุ่นที่เหมาะสมกับบริบทของเกษตรกรในพื้นที่ และสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต (สาขาวิชาบริหารธุรกิจ)

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย

ผลผลิตของเกษตรที่ได้มีปริมาณและคุณภาพเพิ่มมากขึ้น

50.00 1.00
2 เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่

ตัวอย่างต้นแบบผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น อย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์

30.00 1.00
3 เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

รูปแบบช่องทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปแบบจากมันเทศญี่ปุ่น อย่างน้อย 1 ช่องทาง

20.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่น บ้านคำไผ่ 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. คณะกรรมการ นักศึกษาในโครงการ ทำการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดการร่วมกับชุมชน
    2. ทำเรื่องจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 ธันวาคม 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1. ได้แผนการดำเนินโครงการ
    2. ได้รับการอนุมัติจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินงาน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าวิทยากรดำเนินการ จำนวน 6 คน x 1 วัน x 600 บาท

    6 คน 600 1 3,600
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    จ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิลโครงการ

    2 ชุด 1,500 1 3,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 90 บาท

    50 คน 90 1 4,500
    ค่าถ่ายเอกสาร

    จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

    41 ชุด 100 1 4,100
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    20 คน 120 1 2,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าพาหนะเดินทางในการพานักศึกเข้าพื้นที่ชุมชน

    3 คน 300 1 900
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าสถานที่เพื่อใช้ในการประชุมเกษตรกรและนักศึกษา

    1 ครั้ง 1,500 1 1,500
    รวมค่าใช้จ่าย 20,000

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพ (ต้นน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 2 กระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพ (ต้นน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย
    รายละเอียดกิจกรรม
    เป็นการอบรมให้ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตมันเทศญี่ปุ่น ให้มีปริมาณและคุณภาพผลผลิตสูง และได้ตามมาตราสินค้าเกษตรปลอดภัย โดยมีนักศึกษาเข้าไปช่วยเกษตรกรทำแปลงปลูกในพื้นที่แปลงสาธิตของเกษตรกรต้นแบบ
    หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์
    รายวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชผัก (3 หน่วยกิต)
    นักศึกษา ห้อง PS341 จำนวน 4 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 ธันวาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    นักศึกษาจะได้ฝึกประสบการณ์จริงและได้เรียนรู้ทักษะการผลิตมันเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่กระบวนการผลิต การแปรรูป และการตลาด ในการลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกร
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ในการอบรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตมันเทศญี่ปุ่น

    2 คน 1,800 1 3,600
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้ามาอบรมของเกษตรกร

    30 คน 300 1 9,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่ที่ใช้ในการอบรม

    1 ครั้ง 1,500 1 1,500
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    20 คน 120 4 9,600
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารและเครื่องดื่มของผู้เข้าอบรม

    50 คน 90 1 4,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าพนะในการเดินทางของอาจารย์และนักศึกษาในการลงพื้นที่ในภาคปฏิบัติิ

    3 คน 300 4 3,600
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 1.2 x 400 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,500 บาท 15,000 พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 0.8 x 400 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,200 บาท 12,000 พลาสติกสานกำจัดวัชพืช ขนาด 0.9 x 50 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท 10,000 เทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร ยาว 1,000 เมตร จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท 10,000 วาล์วต่อเทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 5 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 50 แพ็คๆ ละ 50 บาท 2,500 ลูกยางรองวาล์ว ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 10 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 28 แพ็คๆ ละ 50 บาท 1,400 หัวน้ำหยดแบบปรับระดับน้ำได้ จำนวน 50 ตัวต่อแพ็ค จำนวน 20 แพ็คๆ ละ 150 บาท 3,000 ฟางอัดก้อน ขนาดกว้าง 40 ซม. ยาว 110 ซม. สูง 30 ซม. จำนวน 100 ก้อนๆ ละ 50 บาท 5,000 กาวทาท่อพีวีซี ขนาด 100 กรัม จำนวน 20 กระป๋องๆ ละ 120 บาท 2,400 ท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 50 ท่อนๆ ละ 120 บาท 6,000 ท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 110 บาท 4,400 ท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 80 บาท 3,200 ท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 40 ท่อนๆ ละ 60 บาท 2,400 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 40 อันๆ ละ 60 บาท 2,400 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 40 อันๆ ละ 80 บาท 3,200 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 100 บาท 2,000 บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 120 บาท 2,400 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 40 บาท 800 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 40 บาท 800 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 30 บาท 600 ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 20 อันๆ ละ 20 บาท 400 ถาดเพาะกล้า ขนาด 104 หลุม จำนวน 50 อันๆ ละ 40 บาท 2,000 ถาดเพาะกล้า ขนาด 200 หลุม จำนวน 50 อันๆ ละ 40 บาท 2,000 พีทมอส ขนาด 10 ลิตรต่อกระสอบ จำนวน 10 กระสอบๆ ละ 350 บาท 3,500 ผ้าสแลนสีดำ 60 % ขนาด 2.5 x 50 เมตร จำนวน 6 มัวนๆ ละ 1,500 บาท 9,000 ท่อพีอี ขนาด 20 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน จำนวน 8 ม้วนๆ ละ 1000 บาท 8,000 ท่อไมโคร พีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 800 บาท 8,000 ข้อต่อสายไมโครกับท่อพีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร จำนวน 5 แพ็คๆ ละ 100 บาท 500 ปุ๋ยคอกมูลไก่ จำนวน 180 กระสอบๆ ละ 60 10,800 ปุ๋ยคอกมูลวัว จำนวน 180 กระสอบๆ ละ 60 10,800 ต้นพันธุ์มันเทศญี่ปุ่น จำนวน 2000 ยอดๆ ละ 5 บาท 10,000

    1 ชุด 134,200 1 134,200
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าวัสดุในการจัดทำเอกสารสำหรับอบรมเกษตกร

    40 คน 100 1 4,000
    รวมค่าใช้จ่าย 170,000

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น (กลางน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น (กลางน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
    รายละเอียดกิจกรรม
    เป็นการศึกษาและงานวิจัยในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น โดยการนำมันเทศญี่ปุ่นที่ขนาดของหัวมันเทศไม่ได้มาตรฐาน ให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่โดยมีกรอบแนวคิดว่ามันเทศญี่ปุ่นที่มีขนาดของหัวมันเทศไม่ได้มาตรฐานล้างทำความสะอาด แบ่ง 2ส่วนส่วนที่ 1ส่วนเปลือกมันเทศนำไปสกัดเพื่อให้ได้สารสกัดหยาบเพื่อวิเคราะห์สารสำคัญและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อมันเทศ นำแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากมันเทศญี่ปุ่น ทั้งสองส่วนจะผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้ได้ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นนำความรู้ที่ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยการฝึกปฏิบัติการแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น จากต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
    หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
    รายวิชาการควบคุมคุณภาพอาหาร (03-054-301) (3 หน่วยกิต) และ การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร (03-054-302)(3 หน่วยกิต)รวม 6 หน่วยกิตจำนวนนักศึกษา1 ราย
    รายวิชาทักษะวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2 (03-051-202) (3 หน่วยกิต) และการแปรรูปอาหาร 1 (03-052-202) (3 หน่วยกิต) รวม 6 หน่วยกิตจำนวนนักศึกษา1 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกษตรกรในพื้นที่จะได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนเทคโนโลยีในการผลิต การแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น ให้ได้ตามมาตราสินค้าเกษตรปลอดภัย
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบเเทนวิทยากรในการอบรมการถ่ายทอดผลงานวิจัยการศึกษาเทคนิคและวิธีการในการเพิ่มมูลค่าการแปรรูปมันเทศญี่ปุ่น

    4 คน 6,000 1 24,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    2 คน 120 20 4,800
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่สำหรับอบรมการถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการในการแปรรูปผลิตภัณฑ์

    2 ครั้ง 1,500 1 3,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารและเครื่องของผู้เข้าร่วมอบรม

    50 คน 100 2 10,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องของผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 2 วัน

    50 คน 70 2 7,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าวัสดุในการจัดทำเอกสารประกอบการอบรม

    50 คน 100 1 5,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัตถุดิบ ส่วนผสม และอุปกรณ์บางส่วนในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่นและการถ่ายทอดองค์ความรู้

    2 ชุด 20,000 1 40,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าบรรจุภัณฑ์ชั้นในและชั้นนอกที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น

    2 ชุด 20,000 1 40,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    การผลิตต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อทดสอบทางการตลาด

    2 ชุด 5,000 1 10,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชย รถยนต์ส่วนบุคคล

    20 ครั้ง 310 1 6,200
    รวมค่าใช้จ่าย 150,000

    กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น (ปลายน้ำ)

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 4 การสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น (ปลายน้ำ)
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ดำเนินการศึกษาวิจัย ช่องทางการตลาดและศึกษาการรับรู้ผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น
    2. พัฒนาช่องทางการตลาดสมัยใหม่ ควบคู่ไปกับการพัฒนาช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิม
    3. สร้างการรับรู้สร้างการรับรู้คุณสมบัติผลิตภัณฑ์มันเทศญี่ปุ่น และการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์จากมันเทศญี่ปุ่น ผ่านการดำเนินการทางการตลาด อาทิเช่น สร้าง Content Marketing จัดทำ Video บนช่องทาง Youtube และสื่อรูปแบบอื่นๆ ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
    หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
    รายวิชาสัมมนาการตลาด (3 หน่วยกิต) จำนวน 1 ราย
    รายวิชาวิจัยการตลาด (3 หน่วยกิต) จำนวน 1 ราย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ช่องทางการตลาดมันเทศญี่ปุ่นแปรรูปที่เหมาะสมกับพื้นเกษตรกรบ้านคำไผ่ ต.หนองกุง อ.เมืองกาฬสินธุ์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    2 คน 120 30 7,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาในการลงพื้นที่

    2 คน 240 10 4,800
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารในการประชุม/อบรม (อาหารกลางวัน 120 บาท อาหารว่าง 35 บาท*2 ครั้ง ต่อวัน)

    50 คน 170 6 51,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถาม

    400 ชุด 5 2 4,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจัดทำรูปเล่ม

    8 ชุด 250 1 2,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 2 คน * 2 วัน* 1200 บาท

    2 คน 7,200 2 28,800
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าเดินทางวิทยากร

    2 คน 3,600 1 7,200
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช้จ่ายในการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (Content Marketing สำหรับผลิตภัณฑ์มันเมศญี่ปุ่น 2 Content *5000 บาท)

    2 ชิ้น 5,000 1 10,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าใช้จ่ายในการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (จัดทำคลิปวีดีโอ เพื่อเผยแพร่บนช่องทาง Youtube 5 ชิ้น * 5000 บาท)

    5 ชิ้น 5,000 1 25,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช่จ่ายในการประชาสัมพันธ์ (ค่าใช้จ่ายในการจัดทำสก๊ปข่าว จำนวน 2 ครั้ง * 5000 บาท)

    1 ชิ้น 5,000 1 5,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ (ค่าใช่จ่ายในการจัดกิจกรรมปะชาสัมพันธ์ โดยการจัดงานกินผลิตภัณฑ์มันเทศญี่ปุ่น จำนวน 1 ครั้ง *5000 บาท)

    1 ชิ้น 5,000 1 5,000
    รวมค่าใช้จ่าย 150,000

    กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมันเทศญี่ปุ่นให้มีคุณภาพได้สินค้าเกษตรปลอดภัย
    2. เพื่อได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ให้ตรงตามความต้องการทางการตลาดในปัจจุบันและความเหมาะสมกับพื้นที่
    3. เพื่อสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น ที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรในพื้นที่ บ้านคำไผ่ ตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
    2. สรุปผลการดำเนินงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    รายงานสรุปการดำเนินโครงการ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าหมึกปริ้นเอกสาร และค่าจัดทำเล่มสรุปผลการดำเนินโครงการ

    1 ชุด 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 10,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 104,800.00 23,000.00 113,000.00 259,200.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 20.96% 4.60% 22.60% 51.84% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) 1.เทคโนโลยีในการปลูกมันเทศญี่ปุ่นที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่
    2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมันเทศญี่ปุ่น อย่างน้อย 2 รูปแบบ
    3. รูปแบบช่องทางการตลาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์และพื้นที่
    1. นักศึกษา จากรายวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชผัก เข้าไปปฏิบัติและช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่แปลงปลูกโดยตรง
    2. นักศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ และรายวิชาทักษะวิชาชีพทางเทคโนโลยีการอาหาร ที่มีเป้าหมายในรายวิชาที่นักศึกษาต้องการสร้างนวัฒกรรมการแปรรูปอาหารจากมันเทศญี่ปุ่นต้นแบบ
    3. นักศึกษาได้มีการศึกษาช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม จากนักศึกษารายวิชาวิจัยการตลาด
    ผลลัพธ์ (Outcome) 1 .กลุ่มเกษตรกรได้ลงมือปฏิบัติจริง และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรรายอื่นได้
    2. เกษตรกรสามารถนำต้นแบบผลิตภัณฑ์แปรรูปไปใช้ในการสร้างผลิตภัณฑ์และเอกลักษณ์ของกลุ่ม
    3. นำช่องทางการตลาดที่ได้มีการศึกษาแล้วมาปรับใช้กับเกษตรกร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่สุดในการจำหน่ายผลผลิตของกลุ่ม
    นักศึกษาได้ลงพื้นที่ และได้เรียนรู้ประสบการณ์จริง ในการทำงานร่วมกับชุมชนและสถานการณ์ในการทำงานจริง และได้ฝึกการทำงานเป็นทีมและการอยู่ร่วมกันในสังคม เพื่อสร้างมิตรภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับชุมชน ในมีระเบียบวินัย เคารพกฎ และกติกา ทำให้รู้จักเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน และยังคงวัฒนธรรม การใช้ชีวิตและการทำงานเช่นเดิม
    ผลกระทบ (Impact) การสร้างอาชืพหลักหรืออาชืพเสริมให้กับเกษตรกร ได้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน นักศึกษาได้ออกไปช่วยเหลือชุมชนให้เกิดการพัฒนาและเป็นการสร้างแหล่งเรียนรู้สำหรับใช้ในการเผยแพร่สู่การบุคคลอื่นๆ ที่สนใจ
    นำเข้าสู่ระบบโดย Eakrin.sareepua Eakrin.sareepua เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 13:38 น.