โครงการพัฒนาเครือข่ายประชารัฐในการบริหารจัดการระบบการผลิตและการตลาดในการส่งเสริมผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชนนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายประชารัฐในการบริหารจัดการระบบการผลิตและการตลาดในการส่งเสริมผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชนนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาเครือข่ายประชารัฐในการบริหารจัดการระบบการผลิตและการตลาดในการส่งเสริมผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชนนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์1) คณะเทคโนโลยีการเกษตร 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ 3) คณะบริหารศาสตร์ 4) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ 5) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกุฉินารายณ์ 6) สำนักงานเกษตรอำเภอกุฉินารายณ์ตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จริยา อินทนิลสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์โทร 093-5465665 E-mail : jariya_pang.pa@hotmail.com1. อาจารย์ ดร.นพพล อัคฮาด (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์)
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยะนุช เทือกเทพ (สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์)
3. อาจารย์ ดร.เอกรินทร์ สารีพัว (สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร)
4. อาจารย์ ดร.อรัญญา นนทราช (สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ)
5. อาจารย์นิตยา แสงประจักษ์ (สาขาวิชาการจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ)
6. อาจารย์อารยา ลาน้ำเที่ยง (สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์)
7. นางสาวศิริพรพลเทพ (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์)
8. นายปัญญา นิลบุตร (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์)
9. นางสาวกรรณิการ์ ภูกาสอน (สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์)
10. นางสาวฉัตรนารี เดชประเสริฐ (สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร)
11. นางสาววราภรณ์ ประทุมวัน (สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร)
12. นายไชยยา วะละคำ (สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร)
13. นายทรงพลแดงนาเพียง (สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์)
14. นายศราวุฒิ สาแก้ว (สาขาวิชาการจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมชนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
15. นางสาวรัตนา พลกล้า (สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ)
16. นางสาวสายธาร คำโทพล (สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กุฉินารายณ์ นาโก

3. รายละเอียดชุมชน

บริบททั่วไปของตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ที่ตั้งและอาณาเขต :
ตำบลนาโก เป็นตำบลหนึ่งในจำนวน ตำบลของอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ใช้เส้นทางเขาวง – กุฉินารายณ์ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ จดตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตกจดตำบลเหล่าใหญ่อำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก จดตำบลหนองห้าง อำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศใต้ จดตำบลบัวขาวอำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
เนื้อที่ :
ตำบลนาโก มีพื้นที่โดยประมาณ 54 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 33,750 ไร่
ลักษณะภูมิประเทศ :
ตำบลนาโก มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงนาดอน พื้นที่ราษฎรอาศัยเป็นที่ราบดินร่วนปนทรายและมีความชื้นเหมาะสำหรับการเกษตรปลูกข้าว มันสำประหลัง อ้อย
ลักษณะภูมิอากาศ :
สภาพภูมิอากาศมีลักษณะเป็นแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical Monoon Climate) มี 3 ฤดูคือ
ฤดูร้อนอากาศร้อนอบอ้าว ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม
ฤดูฝนจะมีฝนตกชุก ระหว่างเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม
ฤดูหนาว อากาศเย็นถึงเย็นมาก ระหว่างเดือน ตุลาคม – กุมภาพันธ์
จำนวนหมู่บ้าน :
รายชื่อหมู่บ้านตำบลนาโกอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง
1 บ้านนาโก นายจำรัส ไชยสุข ผู้ใหญ่บ้าน
2 บ้านนาโก นายโดน วิศรียา กำนัน
3 บ้านนาโก นายธนานนท์ วิศรียา ผู้ใหญ่บ้าน
4 บ้านนาโก นายธรรมนิต ไชยสุข ผู้ใหญ่บ้าน
5 บ้านหวาย นายบุญถมเพิ่มพูล ผู้ใหญ่บ้าน
6 บ้านชาด นายประดิษฐ์ผดุงจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน
7 บ้านนาโก นายพิชิตใจหมั่น ผู้ใหญ่บ้าน
8 บ้านชาด นายนราชัยนิลโสม ผู้ใหญ่บ้าน
9 บ้านหวาย นายประยูรศรีเครือดง ผู้ใหญ่บ้าน
ประชากร :
- จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,604ครัวเรือน
- จำนวนประชากรทั้งหมด4,796คนแยกเป็น
ชาย 2,400คน
หญิง2,396คน
ด้านเศรษฐกิจ :
1.การเกษตร
ประชากรในเขตตำบลนาโก ส่วนมากมีรายได้จากการประกอบอาชีพทางการเกษตร ผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมครัวเรือน รวมพื้นที่ด้านการเกษตร
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,911 ไร่ จัดเป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน ซึ่งนอกจากแบ่งโซนเป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร
- มีอาชีพทำนา มีพื้นที่ทำนาปี 2,118 ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย250 กิโลกรัมต่อไร่มีต้นทุนการผลิต 2,100 บาทต่อไร่
- มีสวนยางพารา มีพื้นที่ปลูกยางพารา1,163 ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย490 กิโลกรัมต่อไร่มีต้นทุนการผลิต 6,800 บาทต่อไร่
- ปลูกอ้อยมีพื้นที่ปลูกอ้อย276 ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 7,500 กิโลกรัมต่อไร่มีต้นทุนการผลิต 8,000 บาทต่อไร่
- มันสัมปะหลัง มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง284 ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย5,000 กิโลกรัมต่อไร่มีต้นทุนการผลิต 8,200 บาทต่อไร่
(แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก พ.ศ. 2561 – 2565)
2.การอุตสาหกรรม
ในเขตตำบลนาโก ไม่มีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีอุตสาหกรรมขนาดเล็ก คือโรงสีข้าวขนาดเล็ก และอุตสาหกรรมในครัวเรือน คือ การทอผ้า การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ การจักสาน สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นอย่างดี
- ร้านค้า39 แห่ง- โรงสีข้าว 16แห่ง
- ร้านเสริมสวย6แห่ง- บ้านเช่า4แห่ง
- ร้านซ่อมรถ11 แห่ง- น้ำมันหยอดเหรียญ 1แห่ง
- ปั้มน้ำมัน5แห่ง- โรงกรองน้ำดื่ม 1แห่ง
- ร้านดัดเหล็ก3แห่ง- โรงหล่อเสาปูน 1แห่ง
- ร้านเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง/คาร์แคร์ 1แห่ง- โรงผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ 1แห่ง
- ร้านขายพืชพรรณไม้ดอกไม้ประดับ 1แห่ง
3.การพาณิชยกรรม
ในเขตตำบลนาโก มีธุรกิจร้านอาหาร ร้านเสริมสวย ร้านตัดเสื้อ ร้านซ่อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และร้านขายของเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
4.การท่องเที่ยว
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว จึงไม่มีรายได้จากการท่องเที่ยว
ด้านอื่นๆ :
1.ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่พื้นที่ป่าภูน้อย, ภูเขาโหลยเป็นป่าอนุรักษ์แห่งชาติ,
ป่าชุมชนดงแฮ้ว
2.ทรัพยากรน้ำมีแหล่งน้ำสาธารณะดังนี้
- หนองน้ำได้แก่ หนองขี้หมู,หนองหมี,หนองหัวกลาง,หนองหอไตร,หนองวัดป่า,หนองคึกฤทธิ์
- ลำห้วยได้แก่ลำห้วยค้อ , ลำห้วยยาง, ลำห้วยนาบ้านเก่า,ลำห้วยตลุง,ลำห้วยแก่งคำบอน, ลำห้วยวังสง (ภูถ้ำพระ), ลำห้วยแก่งลัดซี,ลำห้วยเตย
- ฝาย จำนวน 11 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น จำนวน 237 แห่ง
- บ่อบาดาล จำนวน 22 แห่ง
บ้านนาโก หมู่ 3 ตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่อาศัยน้ำฝนตามธรรมชาติ เพราะอยู่นอกเขตชลประทาน ผลิตผลทางการเกษตรก็ขึ้นอยู่กับกลไกราคาตลาดที่มีความผันผวนตามสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและนโยบายการเมือง ทำให้ประชาชนในพื้นที่ไม่มีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและมีปัญหาในการผลิตการเกษตรที่ต้องพึ่งพากับตลาดภายนอก ทำให้ประสบปัญหาขาดทุนและอัตราหนี้สินเพิ่มขึ้นในแต่ละปีการจัดการความรู้จากต้นแบบผู้ทำเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่และการวางแผนการพัฒนาตลาดทางด้านเกษตรอินทรีย์ของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ได้รับการยอมรับและเป็นที่รู้จักของบุคคลอื่นอย่างแพร่หลาย

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การดำเนินโครงงานอาสาประชารัฐ “การพัฒนาเครือข่ายประชารัฐในการบริหารจัดการระบบการผลิตและการตลาดในการส่งเสริมผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชนนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
โดยมีบุคคลต้นแบบที่ดำเนินการในการผลิตเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ชุมชน คือ นายประสงค์ เรืองจรัส และพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ทางด้านการผลิตเกษตรอินทรีย์บริเวณบ้านเลขที่ 6/1 หมู่ 3 ตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากนี้ในพื้นที่ชุมชนนาโกยังมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าว “มีสุข” ซึ่งเป็นข้าวเหนียวอินทรีย์พันธุ์เขาวง ที่ได้รับการจดทะเบียนตัวบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ในพื้นที่ด้วย ทำให้สามารถพัฒนาองค์ความรู้ในการดำเนินการและส่งเสริมนวัตกรรมในการดำเนิน
ในครั้งนี้ มีการบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ที่หลากหลาย ประกอบด้วย อาจารย์ในสาขาวิชาดังต่อไปนี้
1) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์รับผิดชอบกิจกรรมด้านการวางแผน/การบริหารจัดการ
2) สาขาวิชานิเทศศาสตร์รับผิดชอบกิจกรรมด้านภูมิปัญญา/สื่อสาร
3) สาขาวิชาพืชศาสตร์ รับผิดชอบกิจกรรมด้านการถ่ายทอด-ผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์
4) สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รับผิดชอบกิจกรรมด้านการถ่ายทอด-สารเคมีจากเกษตร
5) สาขาวิชาการจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมชน รับผิดชอบกิจกรรมด้านผลผลิตที่ปลอดภัย
6) สาขาวิชาการจัดการ รับผิดชอบกิจกรรม ด้านการตลาด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาต้นแบบอาหารปลอดภัยจากเกษตรอินทรีย์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง

จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการยกระดับคุณภาพเกษตรอินทรีย์

50.00 50.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายทางการท่องเที่ยวชุมชนให้พร้อมแก่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

จำนวนหน่วยงานที่มาเข้าร่วมและสนับสนุนและยกระดับเกษตรอินทรย์ (ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน NGO)

3.00 3.00
3 3. เพื่อขอรับการตรวจประเมินมาตรฐานเกษตร

ร้อยละของเกษตรกรที่ขอรับการตรวจประเมินมาตรฐานเกษตร

40.00 40.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเกษตรกรที่สนใจการทำเกษตรอินทรีย์ 50

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจศักยภาพทางเกษตรอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
สำรวจศักยภาพทางเกษตรอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต้นแบบอาหารปลอดภัยจากเกษตรอินทรีย์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง
รายละเอียดกิจกรรม
- สำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรค และความต้องการทางเกษตรอินทรีย์
- ระดมความคิดเห็นทางเกษตรอินทรีย์ร่วมกับคนในชุมชน
- การวิเคราะห์ SWOT ของชุมชนทางเกษตรอินทรีย์
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ทราบบริบทของพื้นที่ตำบลนาโก
- สามารถทราบถึงศักยภาพของชุมชนในการทำเกษตรอินทรีย์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

7 คน 240 6 10,080
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

7 คน 120 6 5,040
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

จากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (นามน)ถึงองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ (50กม.*2เที่ยว*4บาท)

4 คน 400 6 9,600
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 2 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

50 คน 120 2 12,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 35 4 7,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษชาร์ท

1 ชุด 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษA4

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกา

2 ชุด 200 1 400
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 50 คน 50 2 5,000
อื่น ๆ

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

50 คน 50 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเครื่องปริ้น

3 คน 2,500 1 7,500
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 2 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 65,220

กิจกรรมที่ 2 ประเมินความพร้อมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่และจัดกลุ่มเพื่อการส่งเสริมพัฒนายกระดับเกษตรอินทร

ชื่อกิจกรรม
ประเมินความพร้อมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่และจัดกลุ่มเพื่อการส่งเสริมพัฒนายกระดับเกษตรอินทร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต้นแบบอาหารปลอดภัยจากเกษตรอินทรีย์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง
รายละเอียดกิจกรรม
- รวบรวข้อมูลของเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วม
- สำรวจลงพื้นที่จริง
- สัมภาษณ์เกษตรที่เข้าร่วม
- จัดกลุ่มเกษตรอินทรีย์แต่ละชนิด
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง 11 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมกับมีความพร้อมในการทำเกษตรอินทรีย์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

7 คน 240 10 16,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

7 คน 120 10 8,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

จากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (นามน)ถึงองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ (50กม.*2เที่ยว*4บาท)

4 คน 400 2 3,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 500 5 2,500
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 20 1 1,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

14 คน 25 1 350
รวมค่าใช้จ่าย 32,250

กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมเพิ่มความรู้และทักษะในการเป็นเกษตรอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมเพิ่มความรู้และทักษะในการเป็นเกษตรอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต้นแบบอาหารปลอดภัยจากเกษตรอินทรีย์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายทางการท่องเที่ยวชุมชนให้พร้อมแก่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์
- ตัวอย่างแปลงสาธิต
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ระบบการจัดการผลิตภัณฑ์เกษตร
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- เกษตรมีความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น
- เกษตรกรนำไปปรับใช้เกษตรอินทรีย์ในแปลงตนเอง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 30,000 2 120,000
ค่าอาหาร 50 คน 120 2 12,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ

1 คน 240 20 4,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

3 คน 120 20 7,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

จากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (ในเมือง) ถึงองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ 76 กม. * 2 เที่ยว * 4 บาท

2 คน 608 20 24,320
อื่น ๆ

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

50 คน 50 2 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 1.2 x 400 เมตร

3 ชิ้น 1,500 1 4,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

พลาสติกคลุมแปลง ขนาด 0.8 x 400 เมตร

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร ยาว 1,000 เมตร

3 ชิ้น 1,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วาล์วต่อเทปน้ำหยด ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 5 ตัวต่อแพ็ค

25 ชุด 50 1 1,250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ลูกยางรองวาล์ว ขนาด 16 มิลลิเมตร จำนวน 10 ตัวต่อแพ็ค

10 ชุด 50 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ฟางอัดก้อน ขนาดกว้าง 40 ซม. ยาว 110 ซม. สูง 30 ซม.

100 ชิ้น 50 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กาวทาท่อพีวีซี ขนาด 100 กรัม

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว

20 ชิ้น 120 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว

20 ชิ้น 110 1 2,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว

30 ชิ้น 80 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว

30 ชิ้น 80 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว

5 ชิ้น 30 1 150
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว

5 ชิ้น 20 1 100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ฝาครอบท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว

20 ชิ้น 20 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว

20 ชิ้น 60 1 1,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว

15 ชิ้น 80 1 1,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว

10 ชิ้น 100 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอลวาล์วท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว

10 ชิ้น 120 1 1,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว

20 ชิ้น 40 1 800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว

20 ชิ้น 30 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อตรงท่อพีวีซี ขนาด 3/4 นิ้ว

20 ชิ้น 20 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว

20 ชิ้น 60 1 1,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1.5 นิ้ว

20 ชิ้น 40 1 800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อสามทางท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว

20 ชิ้น 30 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถาดเพาะกล้า ขนาด 104 หลุม

50 ชิ้น 40 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถาดเพาะกล้า ขนาด 200 หลุม

50 ชิ้น 40 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

พีทมอส ขนาด 10 ลิตรต่อกระสอบ

10 ชิ้น 350 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ผ้าสแลนสีดำ 60 % ขนาด 2.5 x 50 เมตร

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อพีอี ขนาด 20 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน

3 ชิ้น 800 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ท่อไมโคร พีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร ยาว 100 เมตรต่อม้วน

3 ชิ้น 800 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้อต่อสายไมโครกับท่อพีอี ขนาด 3/5 มิลลิเมตร

3 ชุด 100 1 300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปุ๋ยคอกมูลไก่

100 ชิ้น 60 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปุ๋ยคอกมูลวัว

100 ชิ้น 60 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เมล็ดพันธุ์พืชผัก

100 ชิ้น 25 1 2,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 241,320

กิจกรรมที่ 4 จัดตั้งคณะทำงานภายใต้กลุ่มเกษตรอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งคณะทำงานภายใต้กลุ่มเกษตรอินทรีย์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดตั้งคณะทำงานภายใต้กลุ่มเกษตรอินทรีย์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 ธันวาคม 2562 ถึง 14 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์วิสาหกิจชุมชน พร้อมรายชื่อคณะทำงาน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    7 คน 120 10 8,400
    รวมค่าใช้จ่าย 8,400

    กิจกรรมที่ 5 รวบรวมเอกสาร หลักฐานและจัดทำแผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์โดยเครือข่ายประชารัฐ

    ชื่อกิจกรรม
    รวบรวมเอกสาร หลักฐานและจัดทำแผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์โดยเครือข่ายประชารัฐ
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายทางการท่องเที่ยวชุมชนให้พร้อมแก่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ทำยกร่างแผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์
    - การประชาพิจารณ์แผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์
    - การถ่ายทอดแผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์สู่ชุมชน
    - การนำเสนอแผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ต่อผู้นำชุมชน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    15 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้แผนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ 1 แผน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    -
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    7 คน 120 10 8,400
    อื่น ๆ

    ค่าจัดทำเล่มแผนการพัฒนา

    5 ชิ้น 250 1 1,250
    ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 50 คน 50 1 2,500
    รวมค่าใช้จ่าย 13,150

    กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานและเปิดบ้านเกษตรอินทรีย์

    ชื่อกิจกรรม
    ศึกษาดูงานและเปิดบ้านเกษตรอินทรีย์
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายทางการท่องเที่ยวชุมชนให้พร้อมแก่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ศึกษาดูงานเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับรองมาตรฐาน
    - เปิดบ้านเกษตรอินทรีย์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้เป็นต้นแบบบ้านเกษตรอินทรีย์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    -
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 15,000 2 30,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ชิ้น 1,000 1 3,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 120 4 24,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    50 คน 25 8 10,000
    อื่น ๆ

    ค่าจัดเตรียมสถานที่เกษรอินทรีย์

    50 คน 500 1 25,000
    รางวัลเพื่อการยกย่อง 50 คน 250 1 12,500
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    7 คน 120 4 3,360
    รวมค่าใช้จ่าย 107,860

    กิจกรรมที่ 7 สรุปผลแนวทางการพัฒนาและรวบรวมเอกสารยื่นต่อการขอรับรองเกษตรอินทรีย์ระดับประเทศ

    ชื่อกิจกรรม
    สรุปผลแนวทางการพัฒนาและรวบรวมเอกสารยื่นต่อการขอรับรองเกษตรอินทรีย์ระดับประเทศ
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายทางการท่องเที่ยวชุมชนให้พร้อมแก่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
    2. 3. เพื่อขอรับการตรวจประเมินมาตรฐานเกษตร
    รายละเอียดกิจกรรม
    - สรุปผลแนวทางการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
    - รวบรวมเอกสารยื่นต่อการขอรับรองเกษตรอินทรีย์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง 11 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกษตรกรมีเอกสารยื่นต่อการขอรับรองเกษตรอินทรีย์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    -
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 50 2 5,000
    อื่น ๆ

    ค่าจัดทำเล่มสมบูรณ์ในการยื่นขอประเมิน

    50 ชุด 200 1 10,000
    ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 120 1 6,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 50 คน 50 1 2,500
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน 2,400 1 4,800
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    50 คน 25 2 2,500
    รวมค่าใช้จ่าย 31,800

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 134,800.00 5,000.00 167,970.00 76,000.00 116,230.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 26.96% 1.00% 33.59% 15.20% 23.25% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) - เกษตรกรที่มีความพร้อมในการทำการเกษตรอินทรีย์-
    - เกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์
    - มีองค์กรที่สนับสนุนส่งเสริมการเป็นเกษตรอินทรีย์
    1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
    2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
    2.1 รหัสวิชา 10-201-506 หลักการปกครองท้องถิ่นจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.2 รหัสวิชา 10-201-514 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.3 รหัสวิชา 10-201-309 หลักเศรษฐศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.4 รหัสวิชา 03-023-302 เทคโนโลยีการผลิตผักจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.5 รหัสวิชา GE-040-004 จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.6 รหัสวิชา 10-701-227 การสุขาภิบาลและความปลอดภัยจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.7 รหัสวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดเเบบบูรณาการจำนวน 3 หน่วยกิต
    ผลลัพธ์ (Outcome) - วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นรูปธรรมและมีความเป็นระบบมากขึ้น 1กลุ่ม
    - มีระบบการบริหารจัดการ ที่มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทียอมรับของตลาด
    - ลดต้นทุนการผลิต ร้อยละ 5
    - มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8
    1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
    2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
    2.1 รหัสวิชา 10-201-506 หลักการปกครองท้องถิ่นจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.2 รหัสวิชา 10-201-514 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.3 รหัสวิชา 10-201-309 หลักเศรษฐศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.4 รหัสวิชา 03-023-302 เทคโนโลยีการผลิตผักจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.5 รหัสวิชา GE-040-004 จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.6 รหัสวิชา 10-701-227 การสุขาภิบาลและความปลอดภัยจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.7 รหัสวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดเเบบบูรณาการจำนวน 3 หน่วยกิต
    ผลกระทบ (Impact) - มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 6
    - มีกลุ่มวิสาหกิจเกษตรอินทรีย์ 1 กลุ่ม
    - มีคุณภาพและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 1 ระบบ
    1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
    2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
    2.1 รหัสวิชา 10-201-506 หลักการปกครองท้องถิ่นจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.2 รหัสวิชา 10-201-514 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.3 รหัสวิชา 10-201-309 หลักเศรษฐศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.4 รหัสวิชา 03-023-302 เทคโนโลยีการผลิตผักจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.5 รหัสวิชา GE-040-004 จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
    2.6 รหัสวิชา 10-701-227 การสุขาภิบาลและความปลอดภัยจำนวน 3 หน่วยกิต
    2.7 รหัสวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดเเบบบูรณาการจำนวน 3 หน่วยกิต
    นำเข้าสู่ระบบโดย jariya8330 jariya8330 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 13:20 น.