ระบบการบริหารจัดการฐานทรัพยากรเกษตรตำบลสทิงหม้อ

แบบเสนอโครงการ
ระบบการบริหารจัดการฐานทรัพยากรเกษตรตำบลสทิงหม้อ

1. ชื่อโครงการ

ระบบการบริหารจัดการฐานทรัพยากรเกษตรตำบลสทิงหม้อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยทักษิณ ,เทศบาลเมืองสิงหนครสทิงหม้อผศ.ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่โทรศัพท์ 0-7428-6834 โทรสาร 0-7442-9758โทรศัพท์เคลื่อนที่ 089-7869250 E-mail :milesgodfather@yahoo.com1.ผศ.ดร.เอมอรเจียรมาศ ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2.นายบุญเลิศ จันทระสถาบันคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา สิงหนคร สทิงหม้อ

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลสทิงหม้อ แบ่งเขตการปกครอง เป็น 13 หมู่บ้าน
ประกอบด้วยหมู่บ้าน หมู่1 บ้านเขาเขียว , หมู่2 บ้านท่าเสา , หมู่3 บ้านนอก , หมู่3 บ้านธรรมโฆษณ์ , หมู่4 บ้านสทิงหม้อ , หมู่4 บ้านพร้าว , หมู่5 บ้านนาออก (สายลำเท็ง) , หมู่5 บ้านคลองท่าแตง , หมู่6 บ้านสถิตย์ , หมู่6 บ้านทำนบท่าตก (ฉาง) , หมู่7 บ้านทำนบ , หมู่8 บ้านบ่อสระ , หมู่9 บ้านดีหลวง
ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่การปกครองอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มี 6 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลสทิงหม้อทั้งหมด 6 หมู่บ้าน
ทิศเหนือ จรด ตำบลทำนบ และตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ทิศใต้ จรด ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร และตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองฯ และทะเลสาบสงขลา
ทิศตะวันออก จรด ตำบลชิงโค และตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ทิศตะวันตก จรด ทะเลสาบสงขลา ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองฯ และตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ชุมชนบ้านสทิงหม้อ เป็นชุมชนที่มี พื้นที่ติดทะเลสาบสงขลาชาวบ้านมีอาชีพทำประมง รับซื้อกุ้ง รับซื้อปลา มีกลุ่มฟาร์มทะเล และกลุ่มเลี้ยงปลากะพงในกระชังกลุ่มเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ แพะ ไก่ วัว อีกทั้งมีพื้นที่ทำนา และสวนมะพร้าว

จำนวนประชากรใน ตำบลสทิงหม้อ
จำนวนหลังคาเรือน : 5,953 หลังคาเรือน
จำนวนประชากร : 26,482 คน
จำนวนผู้สูงอายุ : 3,605 คน
จำนวนเด็กแรกเกิด ถึง 6 ปี : 2,848 คน
จำนวนผู้สูงอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง : 1,151 คน
จำนวนสตรีตั้งครรภ์ : 205 คน
จำนวนผู้สูงอายุ ที่ช่วยตนเองไม่ได้ : 25 คน
จำนวนสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป : 6,302 คน
จำนวนผู้พิการ : 230 คน
หมู่ที่ 1 สังกัดเขตเทศบาลเมืองสิงหนคร แยกเป็น 4 ชุมชนคือ ชุมชนบ้านใหม่ ชุมชนเขาเขียว ชุมชนชายหิน และชุมชนหนองหีบ ทั้ง 3 ชุมชน พื้นที่ติดทะเลสาบสงขลาชาวบ้านมีอาชีพทำประมง รับซื้อกุ้ง รับซื้อปลา มีกลุ่มฟาร์มทะเล และกลุ่มเลี้ยงปลากะพงในกระชังยกเว้นชุมชนบ้านใหม่ที่ไม่ได้ติดทะเลสาบสงขลาชุมชนหนองหีบ ชุมชนเขาเขียวชาวบ้านส่วนหนึ่งทำสวนมะม่วงพิมเสน และมะม่วงเบา
หมู่ที่ 2 สังกัดเทศบาลเมืองสิงหนคร แยกเป็น 2 ชุมชนคือ ชุมชนท่าเสา และชุมชนบ้านล่างพื้นที่ติดทะเลสาบสงขลา ชาวบ้านมีอาชีพทำประมง รับซื้อกุ้ง รับซื้อปลา มีกลุ่มฟาร์มทะเล กลุ่มเลี้ยงปลากะพงในกระชัง และกลุ่มเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ แพะ ไก่ วัว
หมู่ที่ 3 ชุมชนธรรมโฆษณ์ สังกัดเทศบาลเมืองสิงหนคร พื้นที่ติดทะเลสาบสงขลาชาวบ้านมีอาชีพทำประมง รับซื้อกุ้ง รับซื้อปลา มีกลุ่มฟาร์มทะเล และกลุ่มเลี้ยงปลากะพงในกระชังมีพื้นที่ป่ายเลน ที่วัดบ่อปาบประกาศเป็นพื้นที่เขตอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำป่าชายเลน พื้นที่บางส่วน ทำตาลโตนด ทำสวนผสม ได้แก่ มะม่วงพิมเสน มะม่วงเบา กล้วย มะพร้าว มะนาว มีกลุ่มปุ๋ยหมัก นางต่วน ลือชนม์ และกลุ่มเลี้ยงสัตว์ได้แก่ แพะ ไก่ วัว กลุ่มตาลโตนด
หมู่ที่ 4 ชุมชนบ้านสทิงหม้อ พื้นที่ติดทะเลสาบสงขลาชาวบ้านมีอาชีพทำประมง รับซื้อกุ้ง รับซื้อปลา มีกลุ่มฟาร์มทะเล และกลุ่มเลี้ยงปลากะพงในกระชังกลุ่มเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ แพะ ไก่ วัว
หมู่ที่ 5 แบ่งออกเป็น ชุมชนบ้านสีเต้ปากหาร ชุมชนบ้านนอกป่า ชุมชนบ้านนาออก-หนองบ่อ ส่วนใหญ่ ปลูกมะม่วงพิมเสน มะม่วงเบา สวนมะพร้าวน้ำหอม มีกลุ่มเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงวัว และเลี้ยงไก่
หมู่ที่ 6 แบ่งเป็นชุมชนบ้านหน้าเมือง และชุมชนวัดสถิต พื้นที่ส่วนใหญ่ทำสวนมะม่วงพิมเสน มะม่วงเบา และทำสวนผสม เช่น กล้วย มะพร้าว มะละกอ ข้าวโพด
- ชุมชนสทิงหม้อเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพประมง ทำนา และทำสวนเป็นส่วนใหญ่
- เจ้าของสวนมะพร้าวที่สนใจในการจัดการทรัพยากรให้เกิดประโยชน์จำนวนประมาณ 50 สวน
- ในชุมชนมีการรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพ เช่น กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มสวนมะม่วง กลุ่มเลี้ยงไก่ กลุ่มสวนผสม กลุ่มเลี้ยงแพะ กลุมเลี้ยงปลากะพงในกระชัง กลุ่มประมง กลุ่มฟาร์มทะเล กลุ่มแม่บ้านทำขนม กลุ่มแม่บ้านขนมน้ำพริก
ชุมชนสทิงหม้อเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีสวนมะพร้าว สวนมะม่วง กล้วยเป็นของตนเอง และประกอบอาชีพทางการเกษตร แต่ไม่มีกำลังและขาดองค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรทางการเกษตรและผลผลิตให้เกิดมูลค่า ทำให้เกิดการเอาเปรียบด้านราคาจากพ่อค้าคนกลาง เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ซึ่งทำให้ชาวสวนขาดกำลังใจให้การดูแลสวนของตนเอง จึงปล่อยให้พื้นที่สวนรกร้าง และไม่ได้ใช้ประโยชน์ ในขณะเดียวกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตเนื่องจากรายได้ในครอบครัวลดน้อยลงต้องการความรู้และระบบการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ที่ชุมชนสามารถบริหารจัดการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวสวนและคนในชุมชนตลอดจนลดความเหลื่อมล้ำระหว่างชาวสวน กับพ่อค้าคนกลาง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.กระบวนการ Hackathon
2.เศรษฐกิจสร้างสรรค์
3. smart farmer
4.กระบวนการ Active Learning
5.กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
6.ระบบวิสาหกิจชุมชน
7.ความรู้จากนักศึกษาจากแต่ละสาขา
8.Design thinking

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ

นวัตกรรมการจัดการฐานทรัพยากรเกษตร ตำบลสทิงหม้อ 1 นวัตกรรม

1.00 0.70
2 เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

คนในชุมชนจำนวน 50 สามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ในชุมชนตนเองได้ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ

1.00 0.70
3 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21

นักศึกษา จำนวน 10 คน เกิดกระบวนการเรียนรู้ทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ ตามศตวรรษที่ 21

1.00 0.90
4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้

นวัตกรรมระบบการบริหารจัดการฐานทรัพยากรเกษตรของตำบลสทิงหม้อ

1.00 0.80

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คนในตำบลสทิงหม้อ 50
ชาวสวนมะพร้าว ชุมชนสทิงหม้อ 200
นักศึกษา 20
ผู้ประกอบการ 20
แกนนำชุมชน 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 รับสมัครนักศึกษาที่สนใจทำโครงงาน

ชื่อกิจกรรม
รับสมัครนักศึกษาที่สนใจทำโครงงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
ประกาศรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
- คณะศิลปศาสตร์
- คณะเศรษฐศาสตร์
- คณะทรัพยากรธรรมชาติ
- คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์ จำนวน 20 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาเข้าร่วมโครงงาน จำนวน 10 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 . จัดกระบวนการ Hackathon

ชื่อกิจกรรม
. จัดกระบวนการ Hackathon
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อให้นักศึกษาได้ระดมความคิด และสร้างสรรค์ไอเดีย หรือนวัตกรรมใหม่ เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน
- จัดกระบวนการ Hackathon
- ลงพื้นที่เป้าหมาย เรียนรู้ชุมชน วิเคราะห์ปัญหาเพื่อหาแนวทางแก้ไข
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาได้ฝึกคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์และสามารถสร้างสรรค์ไอเดียหรือนวัตกรรมใหม่ เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- ชุมชน
-P-seda สถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร (ช่วงเช้า) (จำนวน 4 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) = 19,200

4 คน 1,200 4 19,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 30 คน) = 3,600

30 คน 120 1 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 30 คน )=3000

30 คน 50 2 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร ช่วงบ่าย(จำนวน 4 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง)

4 คน 1,200 4 19,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค่าเดินทางสำหรับวิทยากร 3,000 บาท (ไป-กลับ)

1 ครั้ง 1,500 2 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิ้นงาน/ทดลองผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,000

กิจกรรมที่ 3 work shop เครื่องมือวิเคราะห์ผูู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ชื่อกิจกรรม
work shop เครื่องมือวิเคราะห์ผูู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ สอนเครื่องมือ/การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ สวนเสีย ในการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับนักศึกษา จำนวน 20 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และสามารถสร้างนวัตกรรมที่สามารถแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตและความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของชุมชนเกษตรตำบลสทิงหม้อได้จริงและยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 30 คน)

30 คน 120 1 3,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 30 คน )= 3,000 บาท

30 คน 50 2 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร ช่วงเช้า (จำนวน 4 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) = 19200

4 คน 1,200 4 19,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากร ช่วงบ่าย (จำนวน 4 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) = 19,200

4 คน 1,200 4 19,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค่าเช่าเหมายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (ไป - กลับ ) 3,000 บาท

1 ครั้ง 1,500 2 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,000

กิจกรรมที่ 4 นักศึกษาลงพื้นที่เรียนรู้ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาลงพื้นที่เรียนรู้ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชิบโครงการ ลงพื้นที่เป้าหมาย เรียนรู้ชุมชน วิเคราะห์ปัญหาเพื่อหาชุมชนแนวทางแก้ไข
ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาจำนวน 20 คน ได้เรียนรู้ชุมชน นำทักษะที่ได้จากการฝึกอบรมมาวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ทำให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการชุมชนเกษตรด้วยตนเองได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- เทศบาลเมืองสิงหนคร
- ผู้นำชุมชน ตำบลสทิงหม้อ
- กลุ่มต่างๆในชุมชน
- P-seda สถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา
- ผู้มีประสบการณ์ด้านผู้ประกอบการทางสังคม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการลงพื้นที่ร่วมกับนักศึกษาในการวิเคราะผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของชุมชน

2 คน 1,200 1 2,400
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 20 คน x คนละ 120 บาท x 2 ครั้ง)=2,400 บาท

20 คน 120 2 4,800
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่าง (จำนวน 20 คน x คนละ 50 บาท x 2 ครั้ง)=2,000 บาท

20 คน 50 2 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถสำหรับลงพื้นที่ - ค่าเช่าเหมารถยนตร์พร้อมน้ำมันเชื้ เพลิง (คันละ 2,800 บาท x 2 ครั้ง) =5,600

1 ครั้ง 2,800 2 5,600
รวมค่าใช้จ่าย 14,800

กิจกรรมที่ 5 นักศึกษาลงพื้นที่ภาคสนามเก็บข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาลงพื้นที่ภาคสนามเก็บข้อมูล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อออกแบบนวัตกรรมระบบการบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาจำนวน 20 คน สามารถวิเคราะห์และออกแบบนวัตกรรมที่สามารถแก้ปัญหาได้ตามความต้องการของชุมชน และเป็นนวัตกรรมที่ชุมชนสามารถใช้ได้จริงและสามารถพัฒนาธุรกิจการเกษตรได้อย่างยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
- P-seda สถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา
- เทศบาลเมืองสิงหนคร
- ผู้มีประสบการณ์ด้านผู้ประกอบการด้านสังคม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

- ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ ( 1,200 บาท x 2 คนx 1 ครั้ง ) = 2,400

2 คน 1,200 1 2,400
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 20 คน x คนละ 120 บาท x 2 ครั้ง)=4,800 บาท

20 คน 120 2 4,800
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่าง (จำนวน 20 คน x คนละ 50 บาท x 2 ครั้ง)=2,000

20 คน 50 2 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค่าเช่าเหมารถยนตร์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (คันละ 2,800 บาท x 2 ครั้ง) =5,600

2 ครั้ง 2,800 1 5,600
รวมค่าใช้จ่าย 14,800

กิจกรรมที่ 6 นักศึกษาพัฒนานวัตกรรมระบบบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาพัฒนานวัตกรรมระบบบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างไอเดียใหม่ๆ ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มีนาคม 2563 ถึง 29 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน เกิดไอเดียในพัฒนานวัตกรรมระบบบริหารจัดการฐานทรัพยากรเกษตรตำบลสทิงหม้อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
- P-seda สถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา
- ผู้มีประสบการณ์ด้านผู้ประกอบการทางสังคม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 350 บาท x 30 คน) = 10,500 บาท

30 คน 350 1 10,500
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่าง (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80 บาท x 30 คน)=4,800

30 คน 80 2 4,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรกระบวนการ ช่วงเช้า (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง)

3 คน 1,200 4 14,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากรกระบวนการ ช่วงบ่าย (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง)

3 คน 1,200 4 14,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

- ค่าเดินทางสำหรับวิทยากร 2,000 บาท (ไป-กลับ)

2 คน 1,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าสาธารณูปโภค และวัสดุสำนักงาน 1,900 บาท

1 ครั้ง 1,900 1 1,900
รวมค่าใช้จ่าย 48,000

กิจกรรมที่ 7 workshop เพื่อพัฒนาโครงงานและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงงาน

ชื่อกิจกรรม
workshop เพื่อพัฒนาโครงงานและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
workshop เพื่อพัฒนาโครงการ และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงงานโดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างนวัตกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพชีวิตและความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (2 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 30 คน) = 7,200

30 คน 120 2 7,200
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 30 คน)

30 คน 50 4 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 1 ช่วงเช้า (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) - ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 1 ช่วงบ่าย (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) - ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 2 ช่วงเช้า (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง) - ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 2 ช่วงบ่าย (จำนวน 3 คน x คนละ 1,200 บาท x 4 ชั่วโมง)

3 คน 1,200 16 57,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

- ค่าเดินทางสำหรับวิทยากร 4,000 บาท (ไป-กลับ)

4 ครั้ง 1,000 1 4,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค่าเดินทางพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 2,800

2 ครั้ง 1,400 1 2,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าเอกสารประกอบการประชุม (30 คน x 100 บาท)=3,000

30 คน 100 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าสาธารณูปโภค และวัสดุสำนักงานสำหรับจัดงานประชุม=1,600 บาท

1 คน 1,600 1 1,600
รวมค่าใช้จ่าย 82,200

กิจกรรมที่ 8 นำเสนอโครงงานนวัตกรรม

ชื่อกิจกรรม
นำเสนอโครงงานนวัตกรรม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษานำเสนอโครงงานนวัตกรรมต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
22 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนเข้าใจการนำนวัตกรรมระบบบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-เทศบาลเมืองสิงหนคร
-อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละสาขา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 30 คน)=3,600

30 คน 120 1 3,600
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 30 คน )

30 คน 50 2 3,000
ค่าเช่ารถ

- ค่าเช่าเหมารถ =2,900 บาท

1 ครั้ง 2,900 1 2,900
รวมค่าใช้จ่าย 9,500

กิจกรรมที่ 9 ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม ในพื้นที่ตำบลสทิงหม้อ

ชื่อกิจกรรม
ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม ในพื้นที่ตำบลสทิงหม้อ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาลงพื้นที่ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม ในพื้นที่ชุมชนสทิงหม้อ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร ยกระดับคุณภาพชีวิตและลดความเหลื่อมล้ำในชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนสามารถใช้ในวัตกรรมในการบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรในชุมชนได้ด้วยตนเอง ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
นักศึกษาจำนวน 20 คน มีทักษะและสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-ผู้ประกอบการในชุมชน
-มหาวิทยาลัยทักษิณ
-เทศบาลเมืองสิงหนคร
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ค่าปฏิบัติงานการใช้นวัตกรรม 100,000 บาท

1 ชิ้น 100,000 1 100,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 10 สถาบันอุดมศึกษาเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์

ชื่อกิจกรรม
สถาบันอุดมศึกษาเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ตำบลสทิงหม้อ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  3. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
สถาบันอุดมศึกษาเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 สิงหาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
รายงานการดำเนินงานที่สามารถเป็นรุปแบบในการพํัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรของชุมชน โดยชุมชนสามารถจัดการตนเองอย่างยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- เทศบาลเมืองสิงหนคร
- ผู้มีประสบการณด้านผู้ประกอบการทางสังคม
- เกษตรอำเภอ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 30 คน)

30 คน 120 1 3,600
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 30 คน )=3,000

30 คน 50 2 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าสาธารณูปโภค และค่าวัสดุสำนักงาน =2,100

1 ครั้ง 2,100 1 2,100
รวมค่าใช้จ่าย 8,700

กิจกรรมที่ 11 สื่อสารสาธารณะ

ชื่อกิจกรรม
สื่อสารสาธารณะ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ประมวลผล และมีความคิดสร้างสรรค์ตามการเรียนในศตวรรษที่ 21
  2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
รายละเอียดกิจกรรม
ประเมินผลโครงการ และเผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กันยายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้เข้าร่วมประชุมชน เกษตรกร ผู้ประกอบการทางสังคมได้เรียนรู้และมีแนวทางใหม่ๆ นวัตกรรมใหม่ๆที่สามารถพัฒนาระบบเศรษฐกิจในชุมชนตนเอง ระบบบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรในชุมชนตนเองด้วยตนเอง ที่ชุมสามารถเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
-สำนักเกษตรจังหวัดสงขลา
-เทศบาลเมืองสิงหนคร
-มหาวิทยาลัยทักษิณ
-มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 120 บาท x 60 คน)=7,200

60 คน 120 1 7,200
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x 60 คน )

60 คน 50 2 6,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

- ค่าจัดทำสื่อเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 20,000 บาท

1 ชุด 20,000 1 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

- ค่าเช่าเหมายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง =2,800

2 ครั้ง 1,400 1 2,800
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ค่าสาธารณูปโภค ค่าวัสดุสำนักงาน และค่าเอกสารประกอบการประชุม

1 ชุด 6,000 1 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 42,000

กิจกรรมที่ 12 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ และการประสานงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ และการประสานงาน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ และการประสานงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เจ้าหน้าที่สามารถบริหารงาน ให้เกิดนักศึกษา ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรฐานเกษตรตำบลสทิงหม้อ ได้
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    มหาวิทยาลัยทักษิณ
    -มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
    -ผู้ประกอบการทางสังคม
    -P-seda สถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าตอบแทนการประสานงานและการพัฒนาศักยภาพคนทำงาน

    2 คน 4,000 10 80,000
    รวมค่าใช้จ่าย 80,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 251,000.00 20,000.00 110,400.00 118,600.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 50.20% 4.00% 22.08% 23.72% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) นวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตรตำบลสทิงหม้อ กระบวนการเรียนรู้ที่สามารถฝึกประสบการณ์การทำงานตรงตามสาขา และองค์ความรู้ที่เรียนโดยมีชุมชนเป็นฐานในการนำองค์ความรู้ทางวิชาชีพในสาขาที่เรียนสู่การปฏิบัติ และสามารถพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการทางสังคม
    ผลลัพธ์ (Outcome) -ชุมชนสามารถนำนวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการเกษตร ไปบริหารจัดการอาชีพ พื้นที่ ทรัพยากรด้านการเกษตรชุมชนได้ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ
    -ลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในชุมชนระหว่างพ่อค้าคนกลางกับเกษตกรได้อย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม
    -เกิดระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในชุมชน โดยชุมชนจัดการตนเอง
    นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาให้ชุมชนได้ จนเกิดทักษะการคิด วิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะในการเรียนในศตวรรษที่ 21 คือการพัฒนานวัตกรรม การใช้สื่อสารสนเทศกับชุมชน และทักษะอาชีพในอนาคตสามารถทำงานร่วมกับชุมชนและทำงานเป็นทีมได้ และนำองค์ความรู้ที่ได้รับใช้ในห้องเรียน ตลอดจนการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถเข้าสู่ตลาดอาชีพในอนาคต
    ผลกระทบ (Impact) - เกิดเกษตรกรแนวใหม่ในชุมชน/ผู้ประกอบการทางสังคม
    - เกิดการต่อยอดการทำงาน การนำนวัตกรรมไปขยายผล และเชื่อมโยงกับอาชีพอื่นๆ ในชุมชน จนเกิดเป็นระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในชุมชน
    - เกิดการยึดโยงความสัมพันธ์กันของคนในชุมชนในทุกๆวัย
    - โมเดลการพัฒนาชุมชนการเกษตรโดยชุมชนจัดการตนเอง
    - นักศึกษา จำนวน 20 คน สามารถเป็นผู้ประกอบการทางสังคมได้
    - มหาลัยพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ที่เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ฐานชุมชนเป็นหลักและเน้นการสร้างประโยชน์เพื่อส่วนรวม
    - นักศึกษาเกิดแรงบันดาลใจในการออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะตามกระบวนการเรียนในศตวรรษที่ 21
    - นักศึกษาเห็นประโยชน์ส่วนร่วมสำนึกบ้านเกิด และเกิดจิตสำนึกพลเมือง(Active citizen)
    นำเข้าสู่ระบบโดย songkhlalake_2562 songkhlalake_2562 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 13:07 น.