โครงการพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยเทคโนโลยี Internet of thing (IOT)

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยเทคโนโลยี Internet of thing (IOT)

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยเทคโนโลยี Internet of thing (IOT)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาองค์การบริหารส่วนตำบลแม่โป่งหมู่บ้านห้วยบ่อทอง หมู่ที่10 ต.แม่โป่ง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ดร.ประเสริฐลือโขงวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่0616749991

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ ดอยสะเก็ด แม่โป่ง ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองโดยใช้เทคโนโลยี Internet of thing (IOT) 2 เพื่อพัฒนาวัตถุดิบทดแทนรองรับตลาดที่กว้างขึ้นโดยใช้เครื่องจักร 3 เพื่อยืดอายุผลิตภัณฑ์โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

• มีโรงอบดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 1 หลัง • มีระบบควบคุมกระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยระบบ IOT จำนวน 1 ระบบ สามารถควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ได้ • มีเครื่องสับย่อยกิ่งไม้ จำนวน 1 เครื่อง

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโ่ลยีและสหวิทยการ 10
ประชาชนหมู่บ้านห้วยบ่อทอง 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การยืดอายุผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

ชื่อกิจกรรม
การยืดอายุผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.วางแผนการดำเนินการ(P) ออกแบบโรงอบพลังงานแสงอาทิตย์ ทำเอกสารจัดซื้อวัสดุ
    2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) ดำเนินการก่อสร้างตามแบบโดยชาวบ้านในชุมชน ร่วมกับนักศึกษาเตรียมสถาปัตยกรรม นักศึกษาเตรียมวิศวกรรมศาสตร์
    3.การติดตามประเมินผล(C) ตรวจสอบการใช้งาน
    4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A) แก้ไขข้อบกพร่องที่พบ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    • มีโรงอบพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 6 x 8.20 เมตร จำนวน 1 หลัง
    ผลลัพธ์
    • ผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองมีคุณภาพสามารถเก็บไว้ได้เกินกว่า 2 ปี
    • ผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองมีคุณภาพดี มีความหน้าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับจากผู้ซื้อ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    องค์การบริหารส่วนตำบลแม่โป่ง
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    วิทยากร 300 (บาท) x 1 (คน) x 6 (ชั่วโมง)

    1 คน 1,800 1 1,800
    ค่าอาหาร

    อาหารและเครื่องดื่ม 40 (คน) X 80 (บาท) อาหารว่าง 40 (คน) x 25 (บาท) x 2 (มื้อ)

    40 คน 130 1 5,200
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    วัสดุก่อสร้างโรงอบพลังงานงานแสงอาทิตย์ ขนาด 6 x 8.20 เมตร 1 หลัง

    1 ชิ้น 153,000 1 153,000
    รวมค่าใช้จ่าย 160,000

    กิจกรรมที่ 2 การพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยเทคโนโลยี Internet of thing (IOT)

    ชื่อกิจกรรม
    การพัฒนากระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยเทคโนโลยี Internet of thing (IOT)
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. วางแผนการดำเนินการ(P) ออกแบบระบบภายในโรงเรือนและโรงอบ ฯ ทำเอกสารจัดซื้อวัสดุ
      2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) โดยชาวบ้านในชุมชน ร่วมกับนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีและสารสนเทศ
      3.การติดตามประเมินผล(C) ตรวจสอบการใช้งาน
      4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผล การติดตาม(A) แก้ไขข้อบกพร่องที่พบ
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มกราคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต
      • มีระบบควบคุมคุณภาพดินเพาะกว่างห้วยบ่อทอง จำนวน 2 ระบบ เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรือนอัจฉริยะแก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และสาธารณะชนต่อไป
      ผลลัพธ์
      • ผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองมีคุณภาพดี มีความหน้าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับจากผู้ซื้อ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      องค์การบริหารส่วนตำบลแม่โป่ง
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      วิทยากร 300 (บาท) x 1 (คน) x 6 (ชั่วโมง)

      1 คน 1,800 1 1,800
      ค่าอาหาร

      อาหารและเครื่องดื่ม 40 (คน) X 80 (บาท) อาหารว่าง 40 (คน) x 25 (บาท) x 2 (มื้อ)

      40 คน 130 1 5,200
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      วัสดุสำหรับประดิษฐ์นวัตกรรมควบคุมคุณภาพดินเพาะกว่างห้วยบ่อทอง

      1 ชุด 73,000 1 73,000
      รวมค่าใช้จ่าย 80,000

      กิจกรรมที่ 3 การบริหารจัดการวัตถุดิบทดแทนด้วยเครื่องจักร

      ชื่อกิจกรรม
      การบริหารจัดการวัตถุดิบทดแทนด้วยเครื่องจักร
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1.วางแผนการดำเนินการ(P) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
        2.การดำเนินการจัดโครงการ(D) จัดอบรมการนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ OTOP
        3.การติดตามประเมินผล(C) ติดตามความก้าวหน้า
        4.การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม(A) แก้ไขข้อบกพร่องที่พบ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        15 มีนาคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต
        • มีเครื่องสับย่อยกิ่งไม้ จำนวน 1 เครื่อง
        ผลลัพธ์
        • มีวัตถุดิบทดแทน รองรับตลาดที่กว้างขึ้น
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        องค์การบริหารส่วนตำบลแม่โป่ง
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        วิทยากร 300 (บาท) x 1 (คน) x 6 (ชั่วโมง)

        1 คน 1,800 1 1,800
        ค่าอาหาร

        อาหารและเครื่องดื่ม 40 (คน) X 80 (บาท) อาหารว่าง 40 (คน) x 25 (บาท) x 2 (มื้อ)

        40 คน 130 1 5,200
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชิ้น 53,000 1 53,000
        รวมค่าใช้จ่าย 60,000

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

        ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 5,400.00 15,600.00 279,000.00 300,000.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 1.80% 5.20% 93.00% 100.00%

        11. งบประมาณ

        300,000.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) • มีโรงอบดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 1 หลัง
        • มีระบบควบคุมกระบวนการผลิตดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองด้วยระบบ IOT จำนวน 1 ระบบ สามารถควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ได้
        • มีเครื่องสับย่อยกิ่งไม้ จำนวน 1 เครื่อง
        นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
        ผลลัพธ์ (Outcome) • ผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองสามารถเก็บไว้ได้เกินกว่า 2 ปี
        • ผลิตภัณฑ์ดินเพาะกว่างห้วยบ่อทองมีคุณภาพดี มีความหน้าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับจากผู้ซื้อ
        • มีวัตถุดิบทดแทน รองรับตลาดที่กว้างขึ้น
        เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
        ผลกระทบ (Impact) • ชุมชนบ้านห้วยบ่อทอง หมู่ที่ 10 ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีผลิตภัณฑ์ดินเพาะด้วงคุณภาพดีเพื่อจำหน่าย สร้างรายได้แก่ชุมชน
        • ความช่วยเหลือเกื้อกูลระหว่างมหาวิทยาลัย ฯ กับชุมชนใกล้เคียง
        • ปลูกฝังให้ชาวบ้านรักษาทรัพยากรป่าไม้ รวมถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมล้านนาสืบต่อไป
        การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
        นำเข้าสู่ระบบโดย kwangtong kwangtong เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 10:12 น.