โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม กรณี หมู่บ้านดงซ่อม ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม กรณี หมู่บ้านดงซ่อม ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม กรณี หมู่บ้านดงซ่อม ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก1) กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านดงซ่อม 2) กลุ่ม อสม.ชุมชนบ้านดงซ่อม 3) โรงเรียนบ้านดงซ่อมพิทยาคม 4) อบต. เชียงทอง 5) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอวังเจ้า 6) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตากมู่บ้านดงซ่อม ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตากนายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี41 ถนน พหลโยธิน ตำบล ไม้งาม อำเภอเมืองตาก ตาก 63000โทรศัพท์/โทรสาร 091-0259091 E-mail – address : wonglerdee@gmail.com1) ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-5342492 E-mail – address : gift.phanthipa@gmail.com
2) ผศ.ซินเนีย รัติภัทร์
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-8817961 E-mail – address : rzinzin@hotmail.com
3) ดร.ยุธนาศรีอุดม
สังกัด สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 095-6369747 E-mail – address:num_kmutt@hotmail.com
4) ดร.ปิยะวรรณ คุ้มญาติ
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 062-3098322 E-mail – address : piya_mk@hotmail.com
5) นางกัลยา สุวรรณวิไล
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 095-6343387 E-mail – address : kallaya_kal@hotmail.com
6) นายสมชาย บุญพิทักษ์
สังกัด สาขาออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 097-9203247 E-mail – address : boonpitak.chai@gmail.com
7) นางสาวเจนจิรา ฝั้นเต็ม
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-8811829 E-mail – address : janjirakae2004@hotmail.com
8) นายพงษ์พิพัฒน์ เสน่ห์ดี
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 083-5991646 E-mail – address : psanedee@gmail.com
9) นายบุญชัยแก้ววิเชียร
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-1705745 E-mail – address : Kaewvidhier@hotmail.com
10) นายอภิชัยซื่อสัตย์สกุลชัย
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-7275731 E-mail – address : api_sue@hotmail.com
11) นางนมิดาซื่อสัตย์สกุลชัย
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 089-4380037 E-mail – address : namida_nong@hotmail.com
12) นางสาวทิชากรเนตรสุวรรณ์
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 082-6218307 E-mail – address : ticnet27@gmail.com
13) ผศ.อำไพสงวนแวว
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-4564286 E-mail – address : ampai_09@hotmail.com
14) ผศ.อภิศักดิ์ขันแก้วหล้า
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-5965365
15) นางพิมพ์ภัช บุญโรจน์นนท์
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 089-6386085
16) นางสาวสาวิตรี วงศ์ฤกษ์ดี
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 099-4691454 E-mail – address : s.wongrerkdee@gmail.com
17) นายโชคชรัตน์ ฤทธิ์เย็น
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 081-0430984 E-mail – address : chok.kpg@gmail.com
18) นายสิทธิพพงษ์ เพ็งประเดิม
สังกัด สาขาบริหารธุรกิจ คณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ เขตพื้นที่ตาก
โทรศัพท์/โทรสาร 085-8773009 E-mail – address : sittpongpa@rmutl.ac.th
19) นายทองสุข ทุมอาริยะ
ตำแหน่ง ประธานกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านดงซ่อม โทรศัพท์/โทรสาร 061-6462218

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ตาก

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนหมู่บ้านดงซ่อม ต.เชียงทอง อ.วังเจ้า จ.ตาก มีครัวเรือนทั้งสิ้น 286 ครัวเรือนมีประชากรในชุมชนทั้งหมด 865 คน เป็นชาย 435 คน เป็นหญิง 430 คน โดยพื้นที่อาศัยจะตั้งอยู่ในเขตพื้นที่การปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลเชียงทอง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านเด่นคา ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้าจังหวัดตาก ระยะห่างจากจังหวัดตากประมาณ 35 กิโลเมตรปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน ตำบลเชียงทองมีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 442 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 276,250 ไร่ นอกจากนี้ตำบลเชียงทองยังเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอวังเจ้า ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ของตำบลเชียงทอง โดยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ ที่ราบเชิงเขา และมีภูเขาล้อมรอบ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงทองประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา, ทำไร่, ทำสวน, เลี้ยงสัตว์ และบางส่วนมีอาชีพรับจ้างหมู่บ้านดงซ่อมมีจุดแข็งที่สามารถนำมายกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนได้ 4 ด้าน ได้แก่ 1. มีผู้นำที่ค่อนข้างมีความเข้มแข็งซื่อสัตย์ เสียสละและมีความรับผิดชอบ เป็นศูนย์รวมให้กับคนในชุมชนทำงานร่วมกันได้อย่างดี การทำงานภายในหมู่บ้านจะเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ทุกคนในชุมชนได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน 2. มีทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพมากมาย และมีทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของที่เป็นทางผ่านของแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของอำเภอวังเจ้า คือ อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า ที่มีทั้งธรรมชาติที่สวยงาม และเป็นการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย 3. มีการจัดตั้งกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านดงซ่อม พร้อมทั้งจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนอย่างถูกต้อง และมีโครงสร้างของกลุ่มอย่างชัดเจนรวมทั้งยังมีการออมเงินจากสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อนำไปต่อยอดผลิตภัณฑ์ในรุ่นถัดไป และ 4. มีการใช้วัตถุดิบที่มีในชุมชนนำมาแปรรูป และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างหลากหลาย เช่น ยากันยุงจากตะไคร้หอม พิมเสนน้ำจากสมุนไพรธรรมชาติ ก้อนเบจกูล (หัวเชื้อ) และสบู่สมุนไพรจากธรรมชาติ เป็นต้น1.คนในชุมชนมีหนี้สินมาก 2.ขาดความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) 3.ขาดเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ในชุมชน 4. ขาดความรู้ด้านการตลาด และการจำหน่ายสินค้าในช่องทางสมัยใหม่ยกระดับคุณภาพชีวิต ผ่านกลไกอาจารย์พี่เลี้ยงโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ตั้งแต่เริ่มกระบวนการการค้นหาโครงการจนกระทั้งสิ้นสุดโครงการ ตามแนวทาง “ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา” ซึ่งเป็นแนวคิดและวิธีการที่ช่วยแก้ไขปัญหาหนี้สิน และปัญหาต่างๆ ภายในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การบูรณาการการทำงานร่วมกันของ 4 คณะ ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ของชุมชนหมู่บ้านดงซ่อม โดยการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

 

0.00
2 เพื่อสร้างช่องทางการจำหน่ายสินค้าให้แก่ผลิตภัณฑ์ของชุมชนหมู่บ้านดงซ่อม

 

0.00
3 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และสังคม พร้อมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของชุมชน

 

0.00
4 เพื่อให้ผลงานวิจัยและงานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยได้ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมชุมชน

 

0.00
5 เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ระหว่าง คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ภาคประชาชน

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะทำงาน 19
ชุมชนหมู่บ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก 25
นักศึกษา 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมการยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อมให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมการยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อมให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    อบรมกิจกรรมการยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อมให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    - เชิงปริมาณ ได้ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อมให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) จำนวนอย่างน้อย 3 ผลิตภัณฑ์ มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 20 คน และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน
    - เชิงคุณภาพ สามารถยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม ให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ได้ และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
    - เชิงเวลา 1 ปี . - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 60,000 บาท
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 240 5 6,000
    ค่าอาหาร 25 คน 80 2 4,000
    ค่าอาหาร

    - ค่าอาหารกลางวัน (80 บ x 25 คน x 2 วัน)

    25 คน 25 4 2,500
    อื่น ๆ

    - ค่าพิมพ์สติ๊กเกอร์ติดบรรจุภัณฑ์

    1 ครั้ง 1,500 1 1,500
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 600 1 600
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (50 กม.x 4บ. x 10 เที่ยว x 2 คัน)

    50 เที่ยว 4 20 4,000
    อื่น ๆ

    ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานสมบูรณ์

    1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 17,000 1 17,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์

    1 คน 8,400 1 8,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าดำเนินการจดแจ้งเลขสารบบ

    1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 60,000

    กิจกรรมที่ 2 2 กิจกรรมการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม

    ชื่อกิจกรรม
    2 กิจกรรมการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      พัฒนาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อมด้วยระบบ E-Commerce
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - เชิงปริมาณ ได้ช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ช่องทางผ่านระบบ E-Commerce มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 5 คน และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน .
      - เชิงคุณภาพ เกิดการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนผ่านระบบ E-Commerce เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
      - เชิงเวลา 1 ปี . - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 35,000 บาท
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      อื่น ๆ

      ค่าจ้างจัดทำระบบ E-Commerce

      1 ครั้ง 27,000 1 27,000
      ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 1,000 1 2,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 3,000 1 3,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,000 1 3,000
      รวมค่าใช้จ่าย 35,000

      กิจกรรมที่ 3 3 กิจกรรมการพัฒนาเครื่องกวนส่วนผสมของผลิตภัณฑ์สบู่ ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจาน และผลิตภัณฑ์น้ำยาซักผ้า

      ชื่อกิจกรรม
      3 กิจกรรมการพัฒนาเครื่องกวนส่วนผสมของผลิตภัณฑ์สบู่ ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจาน และผลิตภัณฑ์น้ำยาซักผ้า
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        พัฒนาเครื่องกวนส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านดงซ่อม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        - เชิงปริมาณ ได้เครื่องกวนส่วนผสมของผลิตภัณฑ์สบู่ ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจาน และผลิตภัณฑ์น้ำยาซักผ้า มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 5 คน และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน .
        - เชิงคุณภาพ สามารถลดระยะเวลาในการผลิตผลิตภัณฑ์สบู่ ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจาน และผลิตภัณฑ์น้ำยาซักผ้าได้ และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
        - เชิงเวลา 1 ปี . - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 50,000 บาท.
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        อื่น ๆ

        ค่าพัฒนาเครื่องกวนส่วนผสม

        1 ชุด 35,000 1 35,000
        ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 1,000 1 5,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
        ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,000 1 2,000
        ค่าวัสดุสำนักงาน

        ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์

        1 ชุด 3,000 1 3,000
        รวมค่าใช้จ่าย 50,000

        กิจกรรมที่ 4 4 กิจกรรมการออกแบบ และพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จากกล้วยของชุมชนบ้านดงซ่อม

        ชื่อกิจกรรม
        4 กิจกรรมการออกแบบ และพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จากกล้วยของชุมชนบ้านดงซ่อม
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ออกแบบ และพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จากกล้วยของชุมชนบ้านดงซ่อม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          - เชิงปริมาณ ได้ต้นแบบผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์จากการแปรรูปกล้วยของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก อย่างน้อยจำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 5 คน และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน .
          - เชิงคุณภาพ ได้ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์จากการแปรรูปกล้วยที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
          - เชิงเวลา 1 ปี . - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 45,000 บาท.
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          อื่น ๆ

          ค่าจ้างจัดทำต้นแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่

          1 ชุด 30,000 1 30,000
          ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 1,000 1 5,000
          ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
          ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
          รวมค่าใช้จ่าย 45,000

          กิจกรรมที่ 5 5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) ของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก

          ชื่อกิจกรรม
          5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) ของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            ดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) กับชุมชนต้นแบบ
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            - เชิงปริมาณชุมชนบ้านดงซ่อมได้รับองค์ความรู้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) ของตนเอง และได้เครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างชุมชนอื่น มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 20 คนและนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน .
            - เชิงคุณภาพได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) ของชุมชนบ้านดงซ่อม การสร้างอัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ให้แก่ผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างการจดจำแก่ผู้บริโภคอย่างยั่งยืน และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
            -เชิงเวลา 1 ปี.- เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 50,000 บาท
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 24 14,400
            ค่าอาหาร 30 คน 80 4 9,600
            ค่าอาหาร 30 คน 25 8 6,000
            ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 1,000 1 5,000
            ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
            ค่าถ่ายเอกสาร 30 ชุด 100 1 3,000
            ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 7,000 1 7,000
            รวมค่าใช้จ่าย 50,000

            กิจกรรมที่ 6 6 กิจกรรมการขยายสายการผลิตผลิตจากการแปรรูปกล้วยในท้องถิ่นให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่

            ชื่อกิจกรรม
            6 กิจกรรมการขยายสายการผลิตผลิตจากการแปรรูปกล้วยในท้องถิ่นให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              จัดฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากการแปรรูปกล้วยของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              - เชิงปริมาณ ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่จากการแปรรูปกล้วยในชุมชน อย่างน้อยจำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 20 คน และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน .
              - เชิงคุณภาพ ได้ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์จากการแปรรูปกล้วยที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านดงซ่อม อ.วังเจ้า จ.ตาก และมีผลการประเมินโครงการอย่างน้อยอยู่ในระดับ ดี
              - เชิงเวลา 1 ปี . - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 50,000 บาท.
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 800 1 800
              ค่าอาหาร 30 คน 80 4 9,600
              ค่าอาหาร 30 คน 25 8 6,000
              ค่าเช่ารถ 30 คน 100 2 6,000
              ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 1,000 1 5,000
              ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
              ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 17,600 1 17,600
              รวมค่าใช้จ่าย 50,000

              กิจกรรมที่ 7 7 กิจกรรมการติดต่อประสานงาน ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน

              ชื่อกิจกรรม
              7 กิจกรรมการติดต่อประสานงาน ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                การติดต่อประสานงาน ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                - เชิงปริมาณ ประสานงาน และติดตามผลดำเนินโครงการทั้ง 6 โครงการย่อย และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 3 คน
                - เชิงคุณภาพ สามารถกำหนดแผนการดำเนินโครงการในแต่ละโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งรายงานผลเป็นรายกิจกรรม และประเมินผลความพึงพอใจต่อการดำเนินงานโครงการได้
                - เชิงเวลา 1 ปี
                - เชิงค่าใช้จ่าย (บาท) 10,000 บาท
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าตอบแทนการประสานงาน 1 คน 2,000 1 2,000
                ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 ครั้ง 3,600 1 3,600
                ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
                ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,400 1 2,400
                รวมค่าใช้จ่าย 10,000

                รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

                ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                ค่าใช้จ่าย (บาท) 44,400.00 1,400.00 89,300.00 70,400.00 94,500.00 300,000.00
                เปอร์เซ็นต์ (%) 14.80% 0.47% 29.77% 23.47% 31.50% 100.00%

                11. งบประมาณ

                300,000.00บาท

                12. การติดตามประเมินผล

                ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                ผลผลิต (Output) ชุมชนบ้านดงซ่อมได้รับองค์ความรู้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์โอทอป (OTOP) ของตนเอง และได้เครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างชุมชนอื่น มีคนในชุมชนเข้าร่วมอย่างน้อย 20 คน นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
                ผลลัพธ์ (Outcome) แก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ เช่น ด้านความยากจน ความเหลื่อมล้า และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยการสร้างหรือนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาบูรณาการในการแก้ปัญหา บัณฑิตมีการนำองค์ความรู้มาการบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านความยากจนความเหลื่อมลํ้า และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยใช้การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
                ผลกระทบ (Impact) ประชาชนในชุมชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ปัญหาของชุมชนในมิติต่าง ๆ ได้รับการแก้ไข เช่น ด้านความยากจน ความเหลื่อมล้า และปัญหาคุณภาพชีวิต การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
                นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 09:19 น.