การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูสู่ตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างสมดุล

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูสู่ตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างสมดุล

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูสู่ตลาดดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างสมดุลวิทยาลัย นอร์ทเทิร์นวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่นายธีระเชษฐสอนปะละ พัฒนาการจังหวัดขอนแก่น สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่นและชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู1. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร 2. ดร.กัญญกาญจน์ไซเออร์ส3. ดร. ภาคภูมิ ภัควิภาส 4. อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร1. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธรคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 2. ดร.กัญญกาญจน์ไซเออร์ส คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ที่อยู่ 150 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 3. ดร. ภาคภูมิ ภัควิภาส คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 4. อาจารย์ เบญญาภา กันทะวงศ์วารคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นเลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000e-mail: tok2029@gmail.com1. สมาชิกกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู จำนวน 15 คน
2. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จำนวน 5 คน
3. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น จำนวน20 คน
4. อาจารย์และนักวิชาการคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นและคณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น จำนวน5 คน
5. พัฒนาการจังหวัดขอนแก่น สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่นและหน่วยงานภาครัฐ จำนวน 5 คน
6. ชาวชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ จำนวน 50 คน
รวมทั้งสิ้น 100 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ขอนแก่น ภูผาม่าน โนนคอม ชนบท
ขอนแก่น ภูผาม่าน ภูผาม่าน ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลโนนคอม อำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น เป็นชุมชนคนดั้งเดิม คนอีสานเรียกว่า “เฒ่าเก่า” อพยพถิ่นฐานมาจากหลวงพระบาง ส่วนหนึ่งไปตั้งรกรากอยู่ที่ อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ และมีจำนวน 5 ครอบครัว มาตั้งถิ่นฐานในชุมชนวัดเฉลียงทอง กลุ่มจากทั้ง 2 จังหวัด มีวัฒนธรรมเดียวกัน ไปมาหาสู่กัน และทำบุญร่วมวัดเดียวกันจนถึงทุกวันนี้ ณ วัดเฉลียงทอง ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกของชาวภูผาม่าน เขตการปกครองขึ้นตรงต่อเทศบาล ตำบลภูผาม่าน ห่างจากที่ว่าการอำเภอภูผาม่าน 2 กม.
ปัจจุบันมีประชากร จำนวน 363 คน 117 ครัวเรือน โดยได้มีกลุ่มชาวบ้านได้ก่อตั้งเป็นกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู โดยพื้นที่เป็นพื้นที่ในอุทยานแห่งขุนเขา “ภูผาม่าน” มาจากเทือกเขาหินปูน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนทิ้งตัวลงมา มองคล้ายผ้าม่าน จึงได้รับการขนานนามว่า อำเภอภูผาม่าน เป็นอำเภอชายแดนสุดเขตของจังหวัดขอนแก่น เชื่อมต่อไปยังจังหวัดเลยเป็นที่มีดินอุดมสมบูรณ์และมีลำห้วย ลำคลองหลายสาย น้ำพุ น้ำซับหลายแห่ง ประกอบกับพื้นที่มีพืชพันธุ์นานาชนิด และเป็นดินแดนแห่งอารยะธรรม และจุดเด่นของชุมชนได้แก่ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต หลายอย่างที่เป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ดังนี้
การแต่งกายถือเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น ของชาวชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ ที่ยึดถือและสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นกันมา จนกลายเป็นอัตลักษณ์อันโดดเด่นของชุมชน การแต่งกายของชาวไทภูผาม่านนิยมแต่งกายด้วยเสื้อสีดอกหมาก นุ่งผ้าซิ่นควบสีหมากสุก สำหรับผู้หญิง ส่วนผู้ชายจะนุ่งผ้าสะโหร่งในวันสำคัญทางศาสนา งานประเพณี และต้อนรับแขกที่มาเยือน ซึ่งชาวบ้านจะทอใช้เอง และเป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน โดยได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ
ไทภูผาม่าน ภาษาเอกลักษณ์ทรงเสน่ห์ของชุมชน
ประเพณีตรุษไทภูผาม่าน(บุญเดือน 4) พิธีขอขมาผู้สูงอายุ ลูกหลานคืนถิ่น : วันแรม 15 ค่ำเดือน 4เป็นประเพณีที่แสดงออกถึงความยินดี ความกตัญญูต่อบรรพบุรุษทั้งที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว ตอนเช้า วันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๔ ซึ่งถือว่าเป็นวันสุดท้ายของปีเก่า ชาวบ้านจะแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าชุดใหม่ที่คิดว่าสวยงามที่สุดนำอาหารหวาน คาวกระทงเก้าห้อง ออกไปที่วัดเพื่อร่วมทำบุญถวายและอุทิศส่วนกุศลหาบรรพบุรุษที่ล่วงรับไปแล้ว ซึ่งจะมีการทาบุญตักบาตร ฟังเทศน์ ขอขมาพระสงฆ์สามเณร และนอกจากนี้ยังเป็นโอกาสที่จะได้ขอขมาและขอพรจากญาติผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่ร่วมทำบุญในวัดเช้านี้หลังจากนั้น ตอนเย็นจะเป็นการไปขอขมาและขอพรผู้สูงอายุในหมู่บ้านที่มีอาวุโสน้อยกว่า จะไปขอขมาและขอพรจากผู้อาวุโสสูงกว่าสำหรับผู้เฒ่า ผู้แก่ที่เป็นที่นับถือของชาวบ้านจะไม่ไปไหน จะนั่งรอลูกหลานอยู่ที่บ้าน
สะบ้าการละเล่นพื้นถิ่น การละเล่นเพื่อความสนุกสนานลูกสะบ้าจะมีเปลือกแข็งมีลักษณะกลม ขนาดเท่ากับสะบ้าของหัวเข่าคน ลักษณะกลมแบนแต่ตรงกลางนูนการเล่นสะบ้ามาจากมอญ เพราะมีการเล่นในงานสงกรานต์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีการเล่นชนิดนี้ สะบ้าเป็นการละเล่นของไทยโบราณที่เรียกว่า สะบ้า เพราะมีลูกสะบ้าเป็นเครื่องมือในการเล่นและยังเป็นการแสดงถึงความเคารพต่อผีเจ้า ผีนายด้วย เนื่องตลอดเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา ทุกคน ทุกครอบครัวต่างก็ออกไปประกอบอาชีพตามไร่นา หรือต่างถิ่น เมื่อถึงกำหนดวันตรุษไทภูผาม่าน ทุกคนจะกลับบ้านเกิดของตัวเองในการกลับมาบ้านในครั้งนี้จึ้งมีการเฉลิมฉลอง การดื่ม การกิน การเล่น ซึ่งทุกครอบครัว จะจัดเตรียมข้าวปลาอาหาร และขนมต่างๆ ไว้เป็นจำนวนมาก สำหรับเลี้ยงแขกที่จะมาเยี่ยม
นอกจากนี้ในชุมชนยังมีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านจักสาน การทอผ้า การทอเสื่อจากต้นกก มีการทาพานบายศรี และยังมีการทำขนม อาหารพื้นบ้านจะทำในช่วงเทศกาลหรืองานบุญต่างๆ เพื่อถวายพระสงฆ์และทำเลี้ยงแขกที่มาเยือน และอุทิศส่วนกุศลหาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ได้แก่ คั่วเนื้อ คั่วปลา ขนมจีน ข้าวเฮียง ข้าวตอก ข้าวปาด ข้าวเหนียวแดง ขนมฝักบัว ประเพณีสงกรานต์ที่สืบสานภูมิปัญญา ชุมชนวัดเฉลียงทองจะใช้ข้าวหมาก เป็นขนมหวาน อาหารคาว ในการทำบุญ และต้อนรับแขก เป็นแหล่งผลิตที่อร่อยที่สุด จึงเป็นที่มาของชื่อถนนสายข้าวหมาก สงกรานต์ภูผาม่าน
สินค้าชุมชน ในชาวชุมชนมีการทอผ้าเป็นอาชีพเสริมและใช้เองในครัวเรือน มีทั้งผ้าไหมและผ้าฝ้าย ชาวอำเภอภูผาม่านจะแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นกว่าพื้นที่ใกล้เคียง ถือเป็น หนึ่งเดียวในจังหวัดขอนแก่น คือ ชุดไทภาม่าน มีจำหน่ายเป็นของที่ระลึก แก่ ญาติมิตรแขก และนักท่องเที่ยวที่มาเยือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีการเล่นชนิดนี้
กิจกรรมในชุมชน ใส่บาตรข้าวเหนียวคราวเดียว ๒ จังหวัด ขอนแก่น – ชัยภูมิ ชาวชุมชนมีวัฒนธรรมประเพณี ที่โดดเด่นและยึดถือสืบทอดกันมา คือการทาบุญใส่บาตรข้าวเหนียว ๒ จังหวัด (ขอนแก่น – ชัยภูมิ) ณ บริเวณ สะพาน ๒ จังหวัด ถนนข้าวหมาก บ้านเซินเหนือ การร้อยพวงมาลักิจกรรมชวนนักท่องเที่ยว ร้อยพวงมาลัย และนำไปไหว้พระ และทอผ้าใต้ถุนบ้านชาวบ้านหลายครัวเรือนในหมู่บ้าน มีกี่สำหรับทอผ้าที่ใต้ถุนบ้าน ถ้านักท่องเที่ยวผ่านเข้ามาในหมู่บ้าน จะมองเห็นชาวบ้านกำลังทอผ้า เป็นภาพที่คุ้นตาสำหรับคนในชุมชน
การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนจากแอ่งเล็กไปแอ่งใหญ่ โดยกิจกรรมการท่องเที่ยวจากชุมชนสู่ธรรมชาติ ได้แก่ น้ำผุดตาดเต่าเป็นน้ำผุดจากโพรงหินปูนใต้ดิน แล้วไหลไปลงลำน้ำเชิญ แหล่งมีขนาดกว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร มีบรรยากาศร่มรื่น มีบริเวณให้นักท่องเที่ยวลงเล่นน้ำ น้ำใสไหลเย็นเห็นตัวปลา เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจยิ่งนัก ช่วงเย็นก่อนที่อาทิตย์ใกล้ลับขอบฟ้า ค้างคาวนับล้านตัวต่างบินเรียงกันออกมาจากถ้ำเป็นสายยาวอย่างสวยงาม ดูคล้ายงูใหญ่ที่เลื้อยออกมาแหวกว่ายไปในอากาศ ทำให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมภาพฝูงค้างคาวกันเป็นจำนวนมาก ถ้ำค้างคาวที่ อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น เป็นถ้ำขนาดใหญ่ปากถ้ำกว้าง 8 เมตร สูง 12 เมตร ลึก 100 เมตร อยู่บริเวณหน้าผาเทือกผาม่านภายในถ้ำมีค้างคาวปากย่นขนาดเล็กอาศัยอยู่นับล้านๆ ตัว ทุกวันค้างคาวจะออกจากถ้ำในเวลาประมาณ 18.00 น. ช่วงที่บินออกจะใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที น้ำตกตาดทิดมีเป็นน้ำตกชั้นเดียว เกิดจากทางน้ำของห้วยตาดฟ้ากัดเซาะไปตามรอยแตกในชั้นหินเกิดเป็นหน้าของน้ำตก ลักษณะของน้ำตกจะเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามความลาดเอียงของภูมิประเทศ บริเวณหน้าผาน้ำตกมีความสูง 14 เมตร กว้าง 25 เมตร ความยาวตามลำห้วยมากกว่า 100 เมตร จัดอยู่ในหมู่หินตาดฟ้า หมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วย หินโคลน หินดินดาน สีเทาดำ แสดงชั้นชัดเจนมาก ชั้นบางถึงปานกลาง แทรกสลับด้วยชั้นหินปูน และหินทราย สีเทาดำ มีอายุประมาณ 200-230 ล้านปีมาแล้ว (ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย) โดยบริบทชุมชนมีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยววัฒนธรรมอารยะธรรมไทและทำให้เกิดความยั่งยืนอย่างสมดุลได้ในอนาคต
กลุ่มชาวบ้านได้ก่อตั้งเป็นกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู โดยพื้นที่เป็นพื้นที่ในอุทยานแห่งขุนเขา “ภูผาม่าน” มาจากเทือกเขาหินปูน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนทิ้งตัวลงมา มองคล้ายผ้าม่าน จึงได้รับการขนานนามว่า อำเภอภูผาม่าน เป็นอำเภอชายแดนสุดเขตของจังหวัดขอนแก่น เชื่อมต่อไปยังจังหวัดเลยเป็นที่มีดินอุดมสมบูรณ์และมีลำห้วย ลำคลองหลายสาย น้ำพุ น้ำซับหลายแห่ง ประกอบกับพื้นที่มีพืชพันธุ์นานาชนิด และเป็นดินแดนแห่งอารยะธรรม และจุดเด่นของชุมชนได้แก่ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต หลายอย่างที่เป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ดังนี้ การแต่งกายถือเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น โดยไทภูผาม่าน ภาษาเอกลักษณ์ทรงเสน่ห์ของชุมชน ประเพณีตรุษไทภูผาม่าน(บุญเดือน 4) พิธีขอขมาผู้สูงอายุ ลูกหลานคืนถิ่น และการมีวัฒนธรรม ประเพณี ได้แก่ สะบ้าการละเล่นพื้นถิ่น เครื่องมือในการเล่นและยังเป็นการแสดงถึงความเคารพต่อผีเจ้า ผีนายด้วย และวันตรุษไทภูผาม่าน ทุกคนจะกลับบ้านเกิดของตัวเองในการกลับมาบ้านในครั้งนี้จึ้งมีการเฉลิมฉลอง การดื่ม การกิน การเล่น ซึ่งทุกครอบครัว จะจัดเตรียมข้าวปลาอาหาร และขนมต่างๆ ไว้เป็นจำนวนมาก สำหรับเลี้ยงแขกที่จะมาเยี่ยมนอกจากนี้ในชุมชนยังมีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านจักสาน การทอผ้า การทอเสื่อจากต้นกก มีการทาพานบายศรี และยังมีการทำขนม อาหารพื้นบ้านจะทำในช่วงเทศกาลหรืองานบุญต่างๆ เพื่อถวายพระสงฆ์และทำเลี้ยงแขกที่มาเยือน และอุทิศส่วนกุศลหาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ได้แก่ คั่วเนื้อ คั่วปลา ขนมจีน ข้าวเฮียง ข้าวตอก ข้าวปาด ข้าวเหนียวแดง ขนมฝักบัว ประเพณีสงกรานต์ที่สืบสานภูมิปัญญา ชุมชนวัดเฉลียงทองจะใช้ข้าวหมาก เป็นขนมหวาน อาหารคาว ในการทำบุญ และต้อนรับแขก เป็นแหล่งผลิตที่อร่อยที่สุด จึงเป็นที่มาของชื่อถนนสายข้าวหมาก สงกรานต์ภูผาม่าน สินค้าชุมชน ในชาวชุมชนมีการทอผ้าเป็นอาชีพเสริมและใช้เองในครัวเรือน มีทั้งผ้าไหมและผ้าฝ้าย ชาวอำเภอภูผาม่านจะแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นกว่าพื้นที่ใกล้เคียง ถือเป็น หนึ่งเดียวในจังหวัดขอนแก่น คือ ชุดไทภาม่าน มีจำหน่ายเป็นของที่ระลึก แก่ ญาติมิตรแขก และนักท่องเที่ยวที่มาเยือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็ กิจกรรมในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนจากแอ่งเล็กไปแอ่งใหญ่ โดยกิจกรรมการท่องเที่ยวจากชุมชนสู่ธรรมชาติ ได้แก่ น้ำผุดตาดเต่าเป็นน้ำผุดจากโพรงหินปูนใต้ดิน ช่วงเย็นก่อนที่อาทิตย์ใกล้ลับขอบฟ้า ค้างคาวนับล้านตัวต่างบินเรียงกันออกมาจากถ้ำเป็นสายยาวอย่างสวยงาม น้ำตกตาดทิดมีเป็นน้ำตกชั้นเดียว โดยบริบทชุมชนมีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยววัฒนธรรมอารยะธรรมไทและทำให้เกิดความยั่งยืนอย่างสมดุลได้ในอนาคตเริ่มเดินทางเข้าไปท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวเพิ่มมากยิ่งขึ้นจากกระบวนใช้พื้นฐานองค์ความรู้การของชุมชนและกลุ่มบ้านเพียงพอและบ้านเพาะช้างที่ได้ดำเนินการจัดการบนฐานองค์ความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมของชุมชนโดยใช้แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเงื่อนไขการเรียนรู้ของ "คน" ในชุมชน บนฐานคิด "กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน" ผู้มีส่วนได้เสีย คือ รัฐ ชุมชน และกลุ่มนายทุนและธุรกิจ อันจะนำไปสู่ทางร่วมในการจัดการพื้นที่ชุมชนการจัดการความรู้และขยายผลต้องมีพื้นที่เป้าหมายที่ชัดเจน มีศักยภาพที่จะส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน แต่หมู่บ้านพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาเส้นทางการเดินทางไกลจากตัวเมือง การติดต่อสื่อสารจะใช้การสื่อสารผ่านโทรศัพท์มือถือเป็นหลักในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งจากการศึกษาและสำรวจชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือยังไม่เป็นที่รู้จักแก่ผู้คนทั่วไป ยังขาดการเข้าถึงเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวหรือการบริหารจัดการด้านการตลาดรวมถึงสื่อสารเทคโนดิจิดอล จึงทำให้ผู้ที่สนใจเกิดความยากลำบากในการเดินทางเพื่อมาท่องเที่ยวและใช้บริการที่จะค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยว โดยยังไม่มีระบบจัดการฐานข้อมูล ดังนั้นคณะผู้จัดทำโครงการและคณะชุมชนจึงได้มีความสนใจในการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนต่อยอดองค์ความรู้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะสามารถนำไปต่อยอดดำเนินการในโครงการยกระดับหมู่บ้าน Village Profile และการรวบรวมข้อมูลไม่มีเทคโนโลยีรองรับเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มการพัฒนารูปแบบการจัดการกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์การท่องเที่ยวชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุลในระดับจุลภาค มหาภาคต่อไปในอนาคต1. รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
2. ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
3. การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา วิถีชุมชน และอนุรักษ์วัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู
4. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูโดยชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตามแผนการบริหารงานและแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ สามารถเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ (Goal results) โดยเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่สามารถก่อให้เกิดศักยภาพและมีแนวทางการในการทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมน วัฒนธรรมที่มีสามารถทำให้อนุรักณ์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. ความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูและด้านการจัดการท่องเที่ยวส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
2. ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อให้เกิดการต่อยอดให้กับชุมชนกลุ่มอื่นๆ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตภาคอีสานของประเทศไทยหรือบริบทพื้นที่ใกล้เคียงกันของการท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว

1.รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวต้นแบบของชุมชนที่มีส่วนร่วมโดยชุมชนที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จำนวน 2-5 รูปแบบ 2. การสร้างมัคคุเทศก์น้อยหรือมัคุเทศก์ชุมชน อย่างน้อย 15 คน 3.ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ ถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน

0.40 1.00
2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ

1.รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จำนวนอย่างน้อน 3 รูปแบบ 2.ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน

0.30 1.00
3 การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูโดยชุมชน

1.กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) 2. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code) 3.ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ ถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน 4.บทความวิจัยตีพิมพ์ระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 บทความ

0.40 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชาวชุมชนวัดเฉลียงทอง บ้านเซินเหนือ กลุ่มท่องเที่ยว 50
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ล้านนา ชม. 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจฯ มทร.อีสาน 5
สมาชิกกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู 15
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ภาครัฐ ขก. 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ล้านนา ชม. 2
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.อีสาน 3

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
การศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูโดยชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1.1 ศึกษาสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน ตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดภูมินิเวศวัฒนธรรม แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันอย่างสมดุล
2. ผู้วิจัยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์ในข้อที่ 1 มาดำเนินการจัดทำรูปแบบการพัฒนาศักยภาพบริพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยวชุมชนและพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
เพื่อเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถ
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ธันวาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. รูปแบบผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภูที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว
2. การได้มาความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยว และจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ครั้ง 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 15,000 1 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ครั้ง 2,000 1 8,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาอื่นๆ ตามจริง

4 ครั้ง 8,500 1 34,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ครั้ง 4,000 1 16,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 ครั้ง 8,000 1 16,000
รวมค่าใช้จ่าย 216,400

กิจกรรมที่ 2 รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูโดยชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. การทดสอบผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวชุมชน(ต้นแบบ) (Tourism Product Testing) กับกลุ่มนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวหรือนักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2. การประเมินผลและถอดบทเรียนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู ตามแนวคิดการจัดการความรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดภูมินิเวศวัฒนธรรม แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากร กายภาพ ชีวภาพทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ระยะเวลาดำเนินงาน
9 ธันวาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. การได้มาความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยว และจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อยอดให้กับกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
3.รูปแบบและผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภูได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ตรงกับความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 9,600 1 38,400
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 18,000 1 36,000
ค่าอาหาร 4 ครั้ง 3,000 1 12,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 5,000 1 20,000
อื่น ๆ 2 ครั้ง 12,000 1 24,000
อื่น ๆ

ค่าทำเล่มเอกสารฉบับสมบูรณ์

2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 5,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 169,400

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
  2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูที่มีการหลากหลายตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนที่เป็นที่ยอมรับนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ
  3. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูโดยชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1.ดำเนินการพัฒนาโดยกระบวนการ การจัดอบรมให้ความรู้อย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูหน่วยงานภาครัฐ คณะผู้วิจัย ผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการพัฒนผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์การท่องเทียว การกำหนดกิจกรรมการเที่ยวชุมชน การกำหนดส่วนประสมทางการตลาด และการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และการออกแบบสื่อการตลาดดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ การจัดการฐาน Village Profile การสร้างมัคคุเทศก์น้อย ต้นไม้พูดได้การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนให้ได้มาตรฐานการท่องเที่ยว และการสร้างตราตราสินค้าชุมชน
2.การพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัลและส่งเสริมการจัดการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด
3.เพื่อพัฒนาตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภูในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอารยะธรรมไทภู
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. รูปแบบและผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภูได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ตรงกับความต้องการของชุมชนและนักท่องเที่ยว
2. ความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภูและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
3. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการการท่องเที่ยวชุมชน ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของการท่องเที่ยวชุมชนในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
4.เพื่อพัฒนาตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการองค์ความรู้การได้มาซึ่งความรู้ด้านภูมินิเวศวัฒนธรรมและด้านการจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนในจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำฐานข้อมูลและสื่อดิจิทัล

1 ครั้ง 61,600 1 61,600
ค่าเช่ารถ 4 เที่ยว 6,000 1 24,000
ค่าที่พักตามจริง 1 ครั้ง 6,000 1 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าอาหาร 20 คน 50 1 1,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 4 คน 1,800 1 7,200
รวมค่าใช้จ่าย 114,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 145,400.00 8,000.00 215,000.00 131,600.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 29.08% 1.60% 43.00% 26.32% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. รูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับความต้องการของชุมชนกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จำนวน 2-5 รูปแบบ
2. การสร้างมัคคุเทศก์น้อยหรือมัคคุเทก์ชุมชน อย่างน้อย 15 คน
1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile)จำนวนอย่าน้อย 1 ผลงาน
2. กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @)
3. การจัดทำสื่อสารการทางการตลาดต้นไม้พูดได้ (QR Code)
4. ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
5. มีคณะกรรมการในการบริหารจัดการอย่างเป็นรูปธรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วม อย่างน้อย 1 กลุ่ม
6. ได้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สามารถสร้างความเข้มแข็งและต่อยอดของชุมชน สังคม ประเทศ
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5%
5.กลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนได้มีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้นจากการการให้บริการการท่องเที่ยวชุมชน
6. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
7. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชน หมู่บ้านใกล้เคียง หรืออำเภอ
8. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
9. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5%
5. ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
6. สร้างความเข้มแข็งทางความมั่นคงทางสังคม ชุม ชน ประเทศชาติ
7. การมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานกลุ่มการท่องเที่ยวชุมขน
8. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
9. ฐานข้อมูลหมู่บ้านอย่างมีส่วนร่วม (Village Profile) กลยุทธ์ทางการตลาดดิจิตอลและรูปแบบการจัดการความรู้ภูมินิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มท่องเที่ยว ที่มีการใช้เพื่อการบริหารชุมชนอย่างน้อย 3 เรื่องที่จะพัฒนาชุนชนหมู่บ้านใกล้เคียง หรืออำเภอ
10. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้
11. สร้างศักยภาพของชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู ให้การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อลดค่าใช้จ่ายของต้นทุนการท่องเที่ยว และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและรูปแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ๆจากการใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย 2-5 รูปแบบหรือผลิตภัณฑ์กลุ่มท่องเที่ยวอายะธรรมไทภู
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกล่าม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีให้มีสืบทอดต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์เพื่อต่อยอดให้เกิดการท่องเที่ยวมาตรฐานในระดับสูงขึ้น
นำเข้าสู่ระบบโดย tok2029 tok2029 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 22:08 น.