การลดต้นทุนการผลิตโคขุนของเกษตรกรตําบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การลดต้นทุนการผลิตโคขุนของเกษตรกรตําบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การลดต้นทุนการผลิตโคขุนของเกษตรกรตําบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ตําบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายธนิตพันธ์ พงษ์จงมิตร62/1 ถ.เกษตรสมบูรณ์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000082-9464993อ.ธนิตพันธ์ พงษ์จงมิตร
อ.ฐิติมา นรโภค
ผศ.สายัญ พันธ์สมบูรณ์
อ.นพรัตน์ ผกาเชิด
กิตติภพ โพธิกุดสัย 1469900418772
ศิริศักดิ์ วงคงศ์ 1450400167748
รจนีย์ อิ่มแมน 1469900423679
นพรัตน์ อนันทวรรณ 1459900690383
ธิดารัตน์ วงชู 1302301052201
ไพละนา ไชยรุน PA0209186
สุภัทรา มงคลสวัสดิ์ 1119900806074
เสาวลักษณ์ ปาลิศ 1459900683808
กวินธิดา การเรียน 1461000207999
วัชพล ดลรัศมี 1469900509484

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ขมิ้น ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

การเลี้ยงโคขุน จำเป็นต้องเลี้ยงด้วยอาหารที่มีปริมาณโภชนะที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ซึ่งเป็นการเพิ่มต้นทุนค่าอาหารสัตว์อันเป็นต้นทุนหลักในการผลิตสัตว์ แต่หากสามารถนำวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น และหาซื้อได้ง่าย ที่มีราคาถูกมาจัดสัดส่วนให้มีโภชนะ และพลังงานที่เหมาะสมจะช่วยให้อาชีพการเลี้ยงโคเนื้อมีผลตอบแทนที่คุ้มค่า และมีความยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ยังมีทรัพยากร/วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่สามารถหาได้ท้องถิ่นอยู่จำนวนมาก สามารถนำมาพัฒนาร่วมกับเทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อใช้ลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคได้การเลี้ยงโคขุนสิ่งที่สำคัญในต้นทุนการผลิตที่สำคัญที่สุดคืออาหารสัตว์ เนื่องจากพืชอาหารสัตว์ในท้องถิ่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นมีฤดูความแห้งแล้งที่ยาวนานหลายเดือนจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเลือกใช้วัตถุดิบท้องถิ่นเป็นวัตถุดิบหลักหรือการนำวัตถุดิบที่หาง่ายราคาถูกมาปรับปรุงคุณภาพเป็นวัตถุดิบทางเลือกเพื่อใช้เลี้ยงโคขุน เช่นมันเส้นมีโปรตีนเพียง 2.5 %ขณะที่ข้าวโพดมีโปรตีน 8.0 % หากนำมันเส้นมาใช้ในสูตรอาหารจะทำให้ต้องใช้วัตถุดิบแหล่งโปรตีนในปริมาณมากขึ้นดังนั้นจึงมีการใช้กระบวนการต่างๆในการที่จะทำให้ระดับโปรตีนในมันสำปะหลังที่ใช้เลี้ยงสัตว์มีระดับสูงขึ้น ซึ่งกระบวนการหมักเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มระดับโปรตีนในมันสำปะหลังให้สูงขึ้น 14 % สำหรับใช้เป็นแหล่งโปรตีนในสูตรอาหารสัตว์ และนำไปสู่การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรรายย่อยผู้เลี้ยงสัตว์อีกทางหนึ่งโดยมุ่งเน้นให้เกษตรกรฝึกปฎิบัติให้มีความเชี่ยวชาญและคุณภาพของอาหารที่หมักมีคุณภาพดี ในส่วนเรื่องการจัดการฟาร์มและการดูแลสุขภาพของโคขุนในฟาร์มเนื่องจากเกษตรกรเองก็มีความสูญเสียเนื่องจากโคขุนในฟาร์มป่วยหรือโคตายซึ่งถือได้ว่าสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมากเพราะฉะนั้นจึงมีความจำป็นอย่างมากที่องค์กรของรัฐต้องมีส่วนสนับสนุนให้เกษตรกรฝึกปฏิบัติทักษะที่ต้องทำเองในฟาร์มให้เป็นอาทิเช่น หลักการฉีดยารักษาโรคเบื้องต้น การช่วยคลอด การทำสุขาภาลในฟาร์มโคเนื้อ การผสมเทียม เป็นต้นเพื่อให้เกษตรกรประกอบอาชีพให้มีความยั่งยืนและเพิ่มความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพให้กับนักศึกษา อีกทั้งยังสามารถนำโครงการไปประยุกต์ใช้บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน ซึ่งอยู่ในหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ) สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์จากการลงพื้นที่สำรวจสอบถามความต้องการองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการลดต้นทุนการผลิตโคและหรือการเลี้ยงโค เกษตรกรผู้เลี้ยงโคมีความต้องการได้รับองค์องค์ความรู้ดังกล่าวอยู่สูงรวมถึงการสนับสนุนทรัพยากร การถ่ายทอดองค์ความรู้ การฝึกปฎิบัติจริง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมทางอาหารสัตว์มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหา ประกอบด้วย การให้อาหารสัตว์ การแปรรูปอาหารสัตว์ การจัดการเลี้ยงโค การสุขาภิบาลโคเนื้อ เป็นการแบ่งปันองค์ความรู้ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ด้วยการร่วมเรียน ร่วมรู้ และร่วมทำ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุนสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์

จัดทำเครื่องมือที่ใช้เป็นตัวชี้วัดการลดต้นทุน/รายได้ที่เพิ่มขึ้น  ได้แก่  แบบสอบถาม/ แบบสัมภาษณ์

0.00 1.00
2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง

นักศึกษาเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงจนแล้วเสร็จโครงงานพร้อมมีรายงานส่ง

0.00 1.00
3 เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อสามารถจัดการเลี้ยงดูอย่างถูกสุขลักษณะและลดรายจ่ายจากต้นทุนการผลิตโคขุนได้
  • การสัมภาษณ์และการสอบถามข้อมูลที่จำเป็น ในการจัดทำโครงการ และพัฒนาแก้ไขภายในชุมชน
  • มีการลงพื้นที่ติดตามทุกเดือน พร้อมให้คำแนะนำ แก่สมาชิกในชุมชน
0.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กวินธิดา การเรียน 1461000207999 1
กิตติภพ โพธิกุดสัย 1469900418772 1
คณาจารย์นิเทศ 4
ธิดารัตน์ วงชู 1302301052201 1
นพรัตน์ อนันทวรรณ 1459900690383 1
รจนีย์ อิ่มแมน 1469900423679 1
วัชพล ดลรัศมี 1469900509484 1
ศิริศักดิ์ วงคงศ์ 1450400167748 1
สุภัทรา มงคลสวัสดิ์ 1119900806074 1
เกษตรกรผู้เลี้ยงโคตําบลขมิ้นอําเภอเมืองกาฬสินธุ์ 20
เสาวลักษณ์ ปาลิศ 1459900683808 1
ไพละนา ไชยรุน PA0209186 1

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การวางแผนการดำเนินการร่วมกับชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุนสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง
  3. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อสามารถจัดการเลี้ยงดูอย่างถูกสุขลักษณะและลดรายจ่ายจากต้นทุนการผลิตโคขุนได้
รายละเอียดกิจกรรม
ขออนุมัติโครงการและเสนอโครงการเพื่อจัดซื้อวัสดุ พร้อมติดต่อประสานงาน ประชุมวางแผนร่วมกับชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้แผนการดำเนินงาน และได้วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

จ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิลโครงการ 1.5×3 เมตร จำนวน 4 ป้าย X 600 บาท

4 ชิ้น 600 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- มันเส้น(358 กระสอบ X 360 บาท) =128,880 - กากถั่วเหลือง(30 กระสอบ X 1,300 บาท) =39,000 - อาหารโคเนื้อ( 30 กก./กระสอบ100 กระสอบ X 340 บาท)=34,000 - ฟาง (2,000 ก้อน X 30 บาท) =60,000 - ยาบำรุง (100 ml. 12 ขวด X 300 บาท) =3,600 - ยาลดไข้ (100 ml.10 ขวด X 100 บาท) =1,000 - ยาถ่ายพยาธิ (100 ml. 10 ขวด X 400 บาท) =4,000 - แร่ธาตุก้อน (50 ก้อน X 40 บาท) =2,000 - กากน้ำตาล (ขนาด 20 ลิตร/แกลลอน49 แกลลอน X 330 บาท) =16,170 - ปุ๋ยยูเรีย (50 กก./กระสอบ 50 กระสอบ X 600 บาท) =30,000 - กากมันสำปะหลัง (5,000 กิโลกรัม X 3 บาท) =15,000 - ยาเอ็นโรฟล๊อกซาซิน (100 ml. 10 ขวด X 300 บาท) =3,000 - ยาเพ็นสเตร็ป (10 ขวด X 400 บาท) =4,000 - เข็มเบอร์ 18 ((100 อัน/กล่อง) 9 กล่อง X 90 บาท) =810 - ไซริงค์ 10 ml (5 กล่อง X 600 บาท) =3,000 - ยาฆ่าเชื้อ 500 ml. (10 ขวด X 150 บาท) =1,500 - รองเท้าบู๊ดไซต์กลาง (15 อัน X 200 บาท) 3,000 - ผ้าปิดจมูก (3 กล่อง X 170 บาท) =510 - ถุงมือผสมเทียม (100 ใบ/กล่อง 5 กล่อง X 350 บาท)= 1,750 - ผ้ายางปูบ่อ (20 ม้วน X 1,500 บาท) =30,000 - กระสอบ (1000 ใบ X 5 บาท) =5,000

1 ชุด 386,220 1 386,220
รวมค่าใช้จ่าย 388,620

กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการจัดโครงการจัดเตรียมเอกสาร และดำเนินโครงการตามแผน

ชื่อกิจกรรม
การดำเนินการจัดโครงการจัดเตรียมเอกสาร และดำเนินโครงการตามแผน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุนสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง
  3. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อสามารถจัดการเลี้ยงดูอย่างถูกสุขลักษณะและลดรายจ่ายจากต้นทุนการผลิตโคขุนได้
รายละเอียดกิจกรรม
- การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการในการนำใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีในท้องถิ่นรวมถึงการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์
- การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการเกี่ยวกับเทคโนโลยีการให้อาหารสัตว์
-การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสัตว์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ได้วัตถุดิบอาหารคุณภาพสูงที่มีในท้องถิ่นเพื่อทดแทนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีราคาแพง
-เกษตรได้ความรู้เกี่ยวกับการให้อาหารสัตว์ถูกต้องตามหลักวิชาการและสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้
-เกษตรกรสามารถปฎิบัติการสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้นด้วยตัวเองเพื่อลดต้นทุนการผลิตลงได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

- ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษา( 4 คน X 30 วัน X 240 บาท)=28,800

4 คน 240 30 28,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน

- ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คน X 20 วัน X 120 บาท) = 24,000

10 คน 120 20 24,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ (4 คน X 8 ชม. X 600 บาท)=19,200

4 คน 600 8 19,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและคณะกรรมการดำเนินงาน (34 คน X 120 บาท X 3 มื้อ ) = 12,240

34 คน 120 3 12,240
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและคณะกรรมการดำเนินงาน (34 คน X 35 บาท X 6 มื้อ) = 7,140

34 คน 35 6 7,140
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 50 กม.* 2 คัน* 4 บาท* 10 ครั้ง=4,000 บาท

1 ชุด 4,000 1 4,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- ปลั้กสามตา 2 อัน* 500 บาท=1,000 - หมึกสำหรับเครื่องพิมพ์ = 1,600 - กระดาษเอ 4 จำนวน 4 กล่อง*550 บาท= 2,200 - ดินสอดำ ขนาด 2บี พร้อมยางลบ 40 แท่ง* 10 บาท = 400 - ปากกาสีเมจิก 4 กล่อง * 100 บาท = 400 - ปากกาลูกลื่น 200 ด้าม * 5 บาท = 1,000 - กระดาษบรู๊ฟ 100 แผ่น * 4 บาท = 400

1 ชุด 7,000 1 7,000
ค่าถ่ายเอกสาร

- ค่าถ่ายเอกสาร/เข้าเล่ม = 6,000 บาท

1 คน 6,000 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่

- ค่าเช่าสถานที่ = 3,000 บาท

1 คน 3,000 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 111,380

กิจกรรมที่ 3 การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุนสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง
  3. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อสามารถจัดการเลี้ยงดูอย่างถูกสุขลักษณะและลดรายจ่ายจากต้นทุนการผลิตโคขุนได้
รายละเอียดกิจกรรม
- นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงาน รูปแบบ Power Point ต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงงาน
- มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะกรรมการ สป.อว.ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนชุมชนเพื่อ ประเมินผลตามตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ได้ทราบผลการดำเนินงานรวมไปถึงจุดแข็งจุดอ่อนของการดำเนินงานตลอดโครงการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 4 การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม

ชื่อกิจกรรม
การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุนสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง
  3. เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อสามารถจัดการเลี้ยงดูอย่างถูกสุขลักษณะและลดรายจ่ายจากต้นทุนการผลิตโคขุนได้
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมสรุปผลการประเมินผลโครงการและ เผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 มีนาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- สามารถสรุปผลการดำเนินงานตลอดโครงการรวมทั้งจัดทำเล่มรายงานเผยแพร่สู่สาธารณะได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 74,400.00 32,380.00 393,220.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 14.88% 6.48% 78.64% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สมาชิกในตำบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ในชุมชนตลอดจน ได้รับการเรียนรู้หลักการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของประชาชนในชุมชนโดยที่นักศึกษาได้มีการร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
ผลลัพธ์ (Outcome) - ชุมชนนำไปขยายผลหรือเผยแพร่ไปหมู่บ้านใกล้เคียง
- มหาวิทยาลัย และอาจารย์ได้ทำหน้าที่ในบทบาทของการรับใช้สังคม ตลอดจนเผยแพร่องค์ ความรู้ที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีมากขึ้น
นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการทำงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
ผลกระทบ (Impact) การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ทำให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น-ทำให้สมาชิกในชุมชนตำบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มีอาชีพ และมีส่วนร่วมที่จะทำให้ชุมชนเกิดรายได้
- เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชนตำบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่จะจัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนการเลี้ยงโคขุน
- เมื่อคนในชุมชนตำบลขมิ้น อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีรายได้เพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีกำลังใจในการจับจ่ายใช้สอยทำให้มีเงินหมุนเวียนในชุมชนเพิ่มขึ้น
1. นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญ และสามารถนำไปคิดต่อยอดองค์ความรู้เองได้
2. นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์หลักสูตรสัตวศาสตร์สามารถเทียบโอนหน่วยกิต 3 หน่วยกิตคิดเป็น 100 % ในรายวิชาปัญหาพิเศษสัตวศาสตร์ และนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หลักสูตรพืชศาสตร์สามารถเทียบโอนหน่วยกิต 1 หน่วยกิตคิดเป็น 100 % ในรายวิชาฝึกทักษะพืชศาสตร์
นำเข้าสู่ระบบโดย tanitpan.po tanitpan.po เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 16:45 น.