การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทศบาลตำบลโคกศรี, รพสต.อุ่มเม่า, พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด, ธกส.ยางตลาดเทศบาลตำบลโคกศรีนายอ๊อต โนนกระยอม177/58 ม.15 ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์088-5637939อาจารย์
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปวิชญา ณัฏฐากรกุล อาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงเกียรติ ซาตันอาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพิมล พิมพ์แก้ว อาจารย์สาขาวิชานิติศาสตร์
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมกริช ทองนาค อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา
-นายโสภณ มูลหา อาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
-นายปรีชา ทับสมบัติ อาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
-นางสาวพรพิทักษ์ เห็มบาสัตย์ อาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
-นายนพคุณ ทองมวล อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
-นายวรกร วิชัยโย อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
นักศึกษา
-นางสาวลาวัลย์ บุญสงครามนักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ๑-๔๖๑๓-๐๑๒๒๐-๐๖-๔
-นายเกีรติศักดิ์ โกฎิรักษ์ นักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ๑-๔๖๙๙-๐๐๕๓๗-๙๘-๔
-นายภาณุวัฒน์ ทองฤทธิ์ นักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ๑-๔๖๑๓-๐๑๒๒๑-๘๒-๖
-นางสาวสุภาภรณ์ วงศ์ศรี นักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ๑-๔๖๙๙-๐๐๕๒๖-๓๙-๗
-นายทวีศักดิ์ แสงแก้ว นักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ๑-๔๖๙๙-๐๐๓๕๔-๕๑-๑
-นายพรนภัส โสธา นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว ๑-๔๖๙๙-๐๐๕๒๒-๔๗-๒
-นายนริศราพร มังครุดร นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว ๑-๔๖๙๙-๐๐๕๒๒-๕๘-๘
-นางสาวจุฑาลักษณ์ การคิด นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว ๑-๔๖๙๙-๐๐๔๙๘-๒๗-๐
-นายพัชรพร ภูเอิบ นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว ๑-๔๖๙๙-๐๐๕๑๔-๘๔-๔
-นางสาวลัดดา ดลกุล นักศึกษาสาขา่วิชาการท่องเที่ยว ๑-๔๖๑๓-๐๑๒๑๘-๓๕-๕
นักศึกษาสาขาวิขาสัวตวศาสตร์ เทียบโอนรายวิชา พลวัตทางสังคมกับการดำรงชีวิตอย่่างมีความสุข จำนวน ๓ หน่วยกิต
นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว เทียบโอนรายวิชา นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว จำนวน ๓ หน่วยกิต และรายวิชา กฎหมายในชีวิตประจำวัน จำนวน ๒ หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนหนาแน่น ผู้สูงอายุมีการร่วมกลุ่มทำกิจกรรมเป็นประจำเพื่อสร้างอาชีพเสริมในในช่วงสูงวัย ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย กิจกรรมจิตอาสาให้กับชุมชนเป็นประจำ ดำเนินงานเพื่อสาธารณะประโยชน์ ต้องการให้ผู้สูงอายุได้มีทักษะทั้งด้านชีวิตและสังคมให้เหมาะกับวัย บางคนที่รวมกลุ่มกันสร้างผลิตภัณฑ์ตามทรัพยากรที่่มีอยู่ในท้องถิ่น แต่ไม่สามารถหาตลาดรองรับ มีแต่การขายให้กลุ่มกันเอง บางคนก็ยังมีปัญหาเรื่องสุขภาพในวัยสูงอายุ ทำอย่างไรปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุจะได้แนวคิด "สร้างนำซ่อม" มีการวางแผน ๔ แผน ทั้งแผนชีวิต แผนอาชีพ แผนสุขภาพ และแผนการเงิน เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีทิศทางที่ชัดเจนทั้งด้านชีวิตและสังคมต่อไป-ชาวบ้านปลูกผักขายเป็นอาชีพเป็นหลัก
-มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม เช่น ฟ้อนลำ แอร์โรบิค เป็นต้น
-มีหน่วยงานเทศบาลท้องถิ่นให้การสนับสนุนกิจกรรม
-มีจิตอาสาเพื่อท้องถิ่น
-การพัฒนาอาชีพที่ต่อเนื่่อง
-ปัญหาการดูแลสุขภาวะองค์รวมอย่างเป็นระบบ
-การใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร
ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งด้านชีวิตและสังคม สร้างอาชีพเสริมให้เป็นอาชีพหลัก ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม "สร้างนำซ่อม"

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

-แผน ๔ แผน ได้แก่ แผนชีวิต แผนอาชีพ แผนสุขภาพ แผนการเงิน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

-สามารถจัดหมวดหมู่ด้านชีวิตและสังคมของผู้สุูงอายุ

4.00 4.00
2 เพื่อสังเคราะห์ความต้องการสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

-ได้ประเด็นความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านชีวิตและสังคม

4.00 4.00
3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

-มีการวางแผนชีวิตและดำเนินตามแผน -มีอาชีพเสริมนอกจากอาชีพหลัก 1 อาชีพ -มีการออมเงินอย่างเป็นระบบ และเกิดกลุ่มออมอย่างน้อย 1 กลุ่ม -มีการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ ค่าเบาหวาน ค่าความดันลดลง -มีอัตราการรักษาพยาบาลน้อยลง -มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่างๆ อย่างน้อย 1 กลุ่มกิจกรรม

80.00 50.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ต้นน้ำ ๑. สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ต้นน้ำ ๑. สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
  2. เพื่อสังเคราะห์ความต้องการสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
-สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
-รวมกลุ่มรับการถ่ายทอดความการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2563 ถึง 14 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-กลุ่มผู้สูงอายุแยกตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ผู้สูงอายุต้องการด้านต่างๆ
-กลุ่มผู้สูงอายุได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลโคกศรี อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์, รพสต.อุ่มเม่า, พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด, ธกส.ยางตลาด
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,800 1 7,200
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าอาหาร 1 คน 100 80 8,000
ค่าถ่ายเอกสาร 80 ชุด 100 1 8,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 300 1 24,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 1 1,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 9 คน 2,000 1 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 1,400 1 2,800
รวมค่าใช้จ่าย 71,200

กิจกรรมที่ 2 กลางน้ำ ๑.ประชุมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านชีวิตและสังคม

ชื่อกิจกรรม
กลางน้ำ ๑.ประชุมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านชีวิตและสังคม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
-ประชุมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้ตามแผน ๔ แผน ได้แก่ แผนชีวิต แผนอาชีพ แผนการเงิน และแผนสุขภาพ
-ฝึกปฏิบัติการเขียนแผน ๔ แผน
-การปฏิบัติตามแผน ๔ แผน
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ได้แผนชีวิตและดำเนินตามแผนชีวิต
-ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริมอย่างน้อย 1 อาชีพ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
-มีการออมเงินอย่างเป็นระบบ และเกิดกลุ่มออมอย่างน้อย 1 กลุ่ม
-มีการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ ค่าเบาหวาน ความดันลดลง มีอัตราการเข้าโรงพยาบาลลดลง
ทรัพยากรอื่น ๆ
-วัสดุในการอบรมต่างๆ
-ปราชญ์ท้องถิ่น
-ผู้รู้
-วิทยากร
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลโคกศรี มีส่วนร่วมในการอำนวยความสะดวกด้านสถานที่และบุคลากรในการฝึกอบรมและให้คำปรึกษา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,800 3 21,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน 9 คน 2,000 3 54,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 3 3,600
ค่าเช่าสถานที่ 3 ครั้ง 2,000 3 18,000
ค่าอาหาร 90 คน 100 3 27,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 4 ชุด 5,000 3 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 80 ชุด 100 3 24,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 240 3 57,600
รางวัลเพื่อการยกย่อง 8 คน 500 3 12,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 15,000 2 60,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 11,400 1 11,400
รวมค่าใช้จ่าย 349,200

กิจกรรมที่ 3 ปลายน้ำ ๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ชื่อกิจกรรม
ปลายน้ำ ๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิต
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
-แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุ ๔ กลุ่มตามฐานกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต จัดการความรู้ร่วมกันกับคณะผู้ดำเนินงานและภาคีเครือข่าย เล่าเรื่องการดำเนินงานตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำที่ได้ดำเนินโครงการมา
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 13 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-รายงานฉบับสมบูรณ์
-วิดีทัศน์การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
-คู่มือการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
-ผู้สูงอายุต้นแบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
-ผู้ทรงคุณวุฒิในการวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม
-ตัวแทนปราชญ์ชาวบ้าน
ภาคีร่วมสนับสนุน
-ชุมชนท้องถิ่นเข้าร่วมเวทีถอดบทเรียนร่วมกัน และหาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับพื้นที่
-เทศบาลตำบลโคกศรี มีส่วนร่วมในการจัดเวทีสะท้อนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และนำข้อมูลไปบรรจุในแผนการพัฒนาเทศบาลต่อไป
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 2,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,200 1 1,200
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าอาหาร 90 คน 100 1 9,000
รางวัลเพื่อการยกย่อง 6 คน 1,000 1 6,000
ค่าถ่ายเอกสาร 80 คน 120 1 9,600
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 240 1 19,200
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน 1,800 1 5,400
รวมค่าใช้จ่าย 79,600

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 234,200.00 6,000.00 199,800.00 60,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 46.84% 1.20% 39.96% 12.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) -ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
-ผู้สูงอายุรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพของตน ลดการพึ่งพาผู้อื่น
-ผู้สูงอายุตระหนักในคุณค่าของตนเองและอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี มีอยู่มีกินในท้องถิ่น
-ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีขึ้น
-ผู้สูงอายุเรียนรู้จักตนเองและโลกที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามวัย
-นักศึกษาได้บูรณาการรายวิชาสู่ภาคปฏิบัติ
-เกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
-ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง การแก้ปัญหา และการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) -มีอาชีพเสริมเพิ่มขึ้น ๑ อาชีพ
-ผู้สูงอายุมีอาชีพเสริม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
-มีการวางแผนชีวิตและดำเนินตามแผน
-มีอาชีพเสริมนอกจากอาชีพหลัก ๑ อาชีพ
-เกิดกลุ่มออมอย่างน้อย ๑ กลุ่ม
-มีการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ ค่าเบาหวาน ความดันลดลง มีอัตราการเข้าโรงพยาบาลลดลง
-นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เรียนรู้รูปแบบ กระบวนการ เนื้อหาเชิงพื้นที่
-เกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สามารถเทียบโอนประสบการณ์ เทียบเคียงการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีในรายวิชาต่างๆ ดังนี้
1. รายวิชานันทนการเพื่อการท่องเที่ยว 3(2-2-5)และรายวิชากฎหมายในชีวิตประจำวัน ของนักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว
2. รายวิชาพลวัตทางสังคมกับการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข 3(3-0-3) ของนักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์
ผลกระทบ (Impact) -ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผุ้สูงอายุ
-พัฒนาอาชีพเสริมให้เกิดเป็นอาชีพหลัก
-ชุมชนเกิดกลุ่มวิสาหกิจเพื่อสังคมผู้สูงอายุ
-เกิดทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ
นำเข้าสู่ระบบโดย aot.no aot.no เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 16:03 น.