ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ. เชียงราย เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน

แบบเสนอโครงการ
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ. เชียงราย เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน

1. ชื่อโครงการ

ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ. เชียงราย เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย1. เกษตรตำบลดงมะดะ2. ศูนย์การศึกษานอกเรียนอำเภอแม่ลาว 3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)4. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) สาขาเชียงราย 5. กลุ่มท่องเที่ยว ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงรายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ. เชียงรายนางสาวภัทราพร สมเสมอ99 ถนน พหลโยธิน ตำบล ทรายขาว อำเภอ พาน เชียงราย 57120โทร.081-3869896 , 053-723-971 ต่อ 5120 E-mail : Somsamer@gmail.com1. นางสาวกรปภา จันทาพูน คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ คณะทำงาน
2. นางกมลลักษณ์ ชัยดี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ คณะทำงาน
3. นางสาวบุญญรัตน์ อ่ำสุรา คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ คณะทำงาน
4. นายกนกพงษ์ ศรีเที่ยง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรคณะทำงาน
5. นายสุริยงค์ ประชาเขียว คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรคณะทำงาน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงราย แม่ลาว

3. รายละเอียดชุมชน

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มเกษตรที่ทำการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่โดยเกษตรกรในพื้นที่ 9 หมู่บ้าน 3 ตำบล ประกอบด้วย 10 สวนได้แก่ 1) เปิงใจ๋ฟาร์ม ผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน, โฮมสเตย์, จิ้งหรีด และผักออร์แกนิค 2) สวนภูเคียงนา แหล่งเรียนรู้การปลูกและแปรรูปว่านหางจระเข้ พริกไทย และผักกูด 3) ภูตาดเกษตรธรรมชาติ ศูนย์การเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรใหม่ ผักปลอดสารพิษ 4) มานพฟาร์ม แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงปลาธรรมชาติ(ลดต้นทุน) บัวฉัตร เกษตรผสมผสาน 5) ไร่กาแฟสดดอยมะค่า ผลิตกาแฟสดดอยมะค่า พี่พักโฮมสเตย์ 6) ไร่วาสนา สวนกล้วยน้ำว้า แปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย 7) สวนลุงจ่าเกษตรม่วนใจ๋ ผลิตข้าวหอมเจียงฮาย ข้าวอินทรีย์ข้าวกล้อง8) สวนปงลาว แหล่งเรียนรู้การบริการจัดการฟาร์มผักตามฤดูกาล 9) อินทะนะ ฟาร์ม แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงหมูป่าและ 10) ศูนย์เรียนรู้สวนเอเดนเกษตรอินทรีย์เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์เศรษฐกิจพอเพียง สับปะรดอินทรีย์ ก๊าชชีวภาพ และหมูหลุม
ผลจากการเข้าส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน ในปีที่ผ่านมา พบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ได้เกิดการบริหารจัดการกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรม มีการกำหนดกฎระเบียบในการบริหารจัดการกลุ่ม มีการจัดทำโครงสร้างองค์กร การบริหารทางการเงิน และผลจากการเข้ามาส่งเสริมการประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสากิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ พบว่ากลุ่มเป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจของกลุ่มผู้ที่ต้องการศึกษาการทำเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ - สิงหาคม 2562 มีไม่น้อยกว่า 5 กลุ่ม สามารถสร้างรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่มเฉลี่ยเดือนละ 1,000 บาท ซึ่งเป็นรายได้จากการเป็นวิทยากรและรายได้จากการทำอาหาร อาหารว่าง และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของสมาชิกกลุ่ม มีการต่อยอดความคิดในการเพราะเห็ดโคนของสมาชิกกลุ่มโดยการผลิตเชื้อเห็ดโคนให้กับสมาชิกและให้สมาชิกนำไปเพาะต่อในสวนของตัวเองเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับสมาชิกต่อไป แต่ทางกลุ่มยังขาดความพร้อมที่จะต้อนรับผู้มาท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ยังขาดการวางโปรแกรมการท่องเที่ยวของกลุ่ม และยังพบถึงการขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการผลิตในกลุ่มสมาชิก
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ได้เกิดการบริหารจัดการกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรม มีการกำหนดกฎระเบียบในการบริหารจัดการกลุ่ม มีการจัดทำโครงสร้างองค์กร การบริหารทางการเงิน และผลจากการเข้ามาส่งเสริมการประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสากิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ พบว่ากลุ่มเป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจของกลุ่มผู้ที่ต้องการศึกษาการทำเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ - สิงหาคม 2562 มีไม่น้อยกว่า 5 กลุ่ม สามารถสร้างรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่มเฉลี่ยเดือนละ 1,000 บาททางกลุ่มยังขาดความพร้อมที่จะต้อนรับผู้มาท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ยังขาดการวางโปรแกรมการท่องเที่ยวของกลุ่ม และยังพบถึงการขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการผลิตในกลุ่มสมาชิกการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพในการบริหารจัดการกลุ่มจะสามารถส่งเสริมให้เป็นต้นแบบทางด้านการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรจนสามารถทำเป็นกลุ่มเกษตรฤษีใหม่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้อย่างยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เทคโลยีการผลิตถ่านใบโอชาร์ และตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่ในสถาบันอุดมศึกษามาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและจัดการตนเองได้

 

0.00
2 เพื่อให้การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม

 

0.00
3 เพื่อได้แนวทางการจัดการโปรแกรมการท่องเที่ยวควบคู่ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย

 

0.00
4 เพื่อให้เกิดการบูรณาการการใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิตและระบบสารสนเทศเข้าประยุกต์ใช้กับฐานการเรียนรู้และสนับสนุนศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย

 

0.00
5 เพื่อยกระดับศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 8
อาจารย์ที่ปรึกษา 3

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมที่ 1 พัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวควบคู่ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมที่ 1 พัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวควบคู่ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ลงพื้นที่เก็บข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานของ
    *สวนภูตาดเกษตรธรรมชาติ
    *ไร่กาแฟดอยมะค่า
    *เปิงใจ๋ฟาร์ม
    *ภูเคียงนา ไร่ตาเดช
    *สวนปงลาว
    *อินทะนะฟาร์ม
    *มานพ ฟาร์ม
    *สวนเอเดน
    *ลุงจ่าเกษตรม่วนใจ๋
    *ไร่วาสนา

    - สำรวจพื้นที่และการบริหารจัดการพื้นที่ทางการเกษตรเพื่อแผนผังสถานประกอบการ
    - สำรวจเส้นทางหลัก เส้นทางรอง ในการเดินทาง
    - สำรวจเศษวัสดุเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรที่เกิดขึ้น
    - สรุปสิ่งที่ได้ในช่วงเย็นของทุกวันร่วมกับสมาชิกเกษตรธรรมชาติ

    - สำรวจการคมนาคม เส้นทางเชื่อมโยงการเดินทางไปแต่ละสวนของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ
    - สำรวจสิ่งอำนวยความสะดวกที่สนับสนุนการจัดทำเส้นทางท่องเที่ยว
    - ประชุมสรุปสิ่งที่ได้ในช่วงเย็นของทุกวันร่วมกับสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    - เชิงปริมาณ
    1. มีการประชุมร่วมกับกลุ่มวิสากิจชุมชน จำนวน 24 ครั้ง
    2. มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 3 วัน
    3. โปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ชุด
    4. แผนผังท่องเที่ยว จำนวน 10 ป้าย
    - เชิงคุณภาพ
    มีโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่และเกิดการบริการจัดการกลุ่ม
    - เชิงเวลา
    โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    - ค่าตอบแทนวิทยากรอบรม (300 บาท*3 คน* 6 ชม. *3 วัน)

    3 คน 300 18 16,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ (24 วัน*8 คน*240 บาท)

    8 คน 240 24 46,080
    ค่าที่พักตามจริง 8 คน 400 12 38,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 4 330 1,320
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ (24 วัน*8 คน*30 บาท*4 มื้อ)

    8 คน 30 96 23,040
    ค่าอาหาร 30 คน 100 3 9,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 บาท*30 คน*6 มื้อ)

    30 คน 30 6 5,400
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าออกแบบทำแผนที่ท่องเที่ยวชุมชนและติดตั้ง (10 ป้าย *3,000 บาท)

    10 ชิ้น 3,000 1 30,000
    อื่น ๆ

    ค่าทดลองจัดทำโปรแกรมสาธิตการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โปรแกรมที่ 1

    1 ครั้ง 15,000 1 15,000
    อื่น ๆ

    ค่าทดลองจัดทำโปรแกรมสาธิตการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โปแกรมที่ 2

    1 ครั้ง 20,000 1 20,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ป้ายโครงการ (1ม.* 2.5 ม.*120บาท)

    1 ชิ้น 300 1 300
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 9,260 1 9,260
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ (8 บาท*2,000 แผ่น)

    2,000 ชิ้น 8 1 16,000
    รวมค่าใช้จ่าย 230,000

    กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมที่ 2 เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิตเพื่อสนับสนุนศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร

    ชื่อกิจกรรม
    2. กิจกรรมที่ 2 เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิตเพื่อสนับสนุนศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      - ศึกษาสำรวจของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่ม และประชุมร่วมกับสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ
      - ออกแบบและผลิตเครื่องจักรเพื่อจัดการของแหลือทิ้งจากภาคการเกษตร (ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ /การทำถ่านใบโอชาร์ )
      - อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการจัดการของแหลือทิ้งจากภาคการเกษตรให้เป็นประโยชน์และเกิดมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโลยีการผลิตถ่านใบโอชาร์ และตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
      - อบรมบริหารการจัดการผลผลิตที่ได้จากการทำ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์และการทำถ่านใบโอชาร์
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - ทราบถึงปริมาณของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรที่สามาถนำมาใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่ม
      - ได้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์และเตาถ่านใบโอชาร์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
      - เกิดผลผลิต ได้แก่ ถ่านใบโอชาร์ และผลิตภัณฑ์แปรรูป สามารถนำมาจำหน่ายสร้างรายได้ให้กลับกลุ่มวิสาหกิจในขณะที่มีผู้เข้ามาท่องเที่ยวศึกษาดูงานหรือนำไปจำหน่ายออกร้านค้าต่างๆ ได้
      - เชิงปริมาณ
      1. มีการประชุมร่วมกับกลุ่มวิสากิจชุมชน จำนวน 2 ครั้ง
      2. มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน
      3. เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต จำนวนไม่น้อยกว่า 1 แบบ
      หรือจัดการของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตร
      4. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเทคโนโลยี จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
      5. ฐานการเรียนรู้ เชิงเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 2 ฐาน
      - เชิงคุณภาพ
      มีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาให้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตร เป็นฐานเรียนรู้ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการจัดการของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตร
      - เชิงเวลา
      โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรอบรม (300 บาท*2 คน* 6 ชม. *2 วัน)

      2 คน 300 12 7,200
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ (2 วัน*10 คน*240 บาท)

      10 คน 240 2 4,800
      ค่าที่พักตามจริง 10 คน 400 1 4,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเดินทางลงพื้นที่ ไป-กลับ (20 กม.* 4 บาท)

      1 คน 4 20 80
      ค่าอาหาร

      - ค่าอาหารว่างอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ (2 วัน*10 คน*30 บาท*4 มื้อ)

      10 คน 30 8 2,400
      ค่าอาหาร 30 คน 100 2 6,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อบรม (30 บาท*30 คน*4 มื้อ)

      30 คน 30 4 3,600
      อื่น ๆ

      - ค่าจ้างเหมาออกแบบและประกอบอุปกรณ์ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์

      1 ชุด 25,000 1 25,000
      อื่น ๆ

      - ค่าจ้างเหมาออกแบบและประกอบอุปกรณ์ การทำถ่านใบโอชาร์

      1 ชุด 20,000 1 20,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชิ้น 10,920 1 10,920
      ค่าถ่ายเอกสาร

      - ค่าจัดทำคู่มือการใช้เครื่องจักร (30 เล่ม *200 บาท)

      30 ชิ้น 200 1 6,000
      รวมค่าใช้จ่าย 90,000

      กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่

      ชื่อกิจกรรม
      3. กิจกรรมที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        - อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
        - ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
        - นำระบบสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้กับฐานการเรียนรู้ในแต่ละฐานของกลุ่มวิสากิจชุมชนฯ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        - เชิงปริมาณ
        1. มีการประชุมร่วมกับชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
        2. มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน
        3. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว จำนวน 1 ระบบ
        4. ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 1 ช่องทาง
        - เชิงคุณภาพ
        ระบบสารสนเทศสามารถสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่
        - เชิงเวลา
        โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 300 6 3,600
        ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 240 2 4,800
        ค่าที่พักตามจริง 10 คน 400 1 4,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 4 20 80
        ค่าอาหาร

        - ค่าอาหารว่างอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ (2 วัน*10 คน*30 บาท*4 มื้อ)

        10 คน 30 8 2,400
        ค่าอาหาร

        - ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท*30 คน*1 มื้อ)

        30 คน 100 1 3,000
        ค่าอาหาร

        - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 บาท*30 คน*2 มื้อ)

        30 คน 30 2 1,800
        อื่น ๆ

        - ค่าออกแบบและจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว พร้อมติดตั้ง (10 ชุด* 1,500 บาท)

        10 ชุด 1,500 1 15,000
        อื่น ๆ

        - ค่าออกแบบและจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (วีดีโอ)

        1 ชุด 25,000 1 25,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 10,120 1 10,120
        ค่าถ่ายเอกสาร

        - ค่าเอกสารสรุปเล่มโครงการ (5 เล่ม*200 บาท)

        5 ชิ้น 200 1 1,000
        รวมค่าใช้จ่าย 70,800

        กิจกรรมที่ 4 4. สรุปและถอดบทเรียน

        ชื่อกิจกรรม
        4. สรุปและถอดบทเรียน
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 พ.ค. 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 390,800.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 82,680.00 46,300.00 111,520.00 30,300.00 120,000.00 390,800.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 21.16% 11.85% 28.54% 7.75% 30.71% 100.00%

          11. งบประมาณ

          390,800.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) ระบบสารสนเทศสามารถสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่ นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ
          ผลลัพธ์ (Outcome) การจัดการโปรแกรมการท่องเที่ยวควบคู่ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย การบูรณาการด้านการเรียนการสอน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ตนในชุมชนให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
          ผลกระทบ (Impact) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ อ.แม่ลาว จ. เชียงราย การพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
          นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 14:44 น.