การนำเทคโนโลยีดิจิทัลส่งเสริมธุรกิจผ้าฝ้ายทอมือในจังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การนำเทคโนโลยีดิจิทัลส่งเสริมธุรกิจผ้าฝ้ายทอมือในจังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การนำเทคโนโลยีดิจิทัลส่งเสริมธุรกิจผ้าฝ้ายทอมือในจังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ บ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์นางสิริอร วงษ์ทวี62/1 ถ.เกษตรสมบูรณ์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์080-8969558นางสาวมณฑกานต์ ทุมมาวัติ อาจารย์หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์) สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะบริหารศาสตร์
นางสาวกมลวรรณ รัชตเวชกุล อาจารย์หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์) สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะบริหารศาสตร์
นายราชันย์ วงษ์ทวี อาจารย์โปรแกรมเทคโนโลยีอุตสาหการ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

นักศึกษา 8 คน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์) สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะบริหารศาสตร์
1469900443271 นายธีรภัทร วัลลิกุลโทร.0800563577
1469900451974 นายธนพล สินอ่อน โทร.0942828293
1469900427950 นายองอาจ แก้วมาลา โทร.0800601817
1460600155590 นายณัฐฐินันท์ ศรีขันธ์ซ้าย โทร.0800541716
1100702790785 นายสิทธิพร ศิลาแยง โทร.0807570021
1469900471690 นายนนทสินธุ์ ภูแพง โทร.0951831041
ในรายวิชาสัมมนาทางระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์รหัสวิชา 05-041-4013 (3-0-6) หน่วยกิต

1409901492241 นางสาวกัญญานัฐ แก้วสาร โทร.0939528105
1460600139560 นายพิชานนท์ ศรีขันธ์ซ้าย
ในรายวิชาอัจฉริยะทางธุรกิจเบื้องต้น รหัสวิชา 05-044-404 3(3-0-6) หน่วยกิต

นักศึกษา 2 คน IDT ปี 3 โปรแกรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
1461000218109 นายพรหมรินทร์ จำวงค์ลา
1469900345821 นายฉลอง การภักดี
ในรายวิชาการเตรียมโครงงานเทคโนโลยีอุตสาหการ 1(1-0-2) หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ห้วยโพธิ์

3. รายละเอียดชุมชน

กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2545 โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในสมัยนั้น แรกเริ่มทอผ้าขาวม้าผ้ามัดหมี่ ผ้าพื้นสีเดียวไว้สำหรับตัดชุด เรื่อยมาด้วยอัตลักษณ์และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยังไม่เป็นที่โดดเด่น และจำหน่ายได้น้อยลงชาวบ้านจึงหยุดทอผ้า จนถึงเมื่อปี2547 กลุ่มแม่บ้านจึงได้รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มขึ้นมาอีกรอบเพื่อจะสืบสานวัฒนธรรมการทอผ้า และการสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน โดยใช้ชื่อกลุ่มอาชีพเดิม ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 8 ม. 3 ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ. กาฬสินธุ์ โดยมีสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่ม มีสมาชิกรวม 36 คน สมาชิกได้ลงขันสมทบกองทุนคนละ 100 บาท ผลิตผ้าทอพื้นเมือง ประกอบด้วย ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าเกล็ดเต่าเป็นต้น และในปี 2549ได้จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อยหมู่ที่ 3กับสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกาฬสินธุ์
ปี 2554 หลังจากที่ประธานกลุ่ม คือนางทองมากผลบุญ เสียชีวิต จึงได้มีการแต่งตั้งประธานคนใหม่ คือนาง ทองปาน โคตะนนท์ และย้ายที่ทำการมาที่บ้านประธานคนใหม่ คือบ้านเลขที่ 60 ม.3 ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ. กาฬสินธุ์ มีการปลูกสร้างที่ทำการกลุ่มโดยมีการระดมทุนจากการจัดหารายได้จากการจัดโต๊ะจีนและได้รับความร่วมมือจากลุ่มพ่อบ้านจัดงานชนไก่ จึงได้ดำเนินการมาเรื่อยๆ ปี 2556 ได้รับงบสนับสนุนจากองค์การบริหารท้องถิ่นตำบลห้วยโพธิ์ เพื่อมาจัดกิจกรรมและฝึกอาชีพให้กับสมาชิก
ปี 2559 บ้านดงน้อยหมู่ที่ 3 ได้รับงบประมาณโครงการสัมมาชีพชุมชน ของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จึงได้นำกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อย เข้าศึกษาดูงานการย้อมผ้าสีจากธรรมชาติ ชุมชนจึงได้นำความรู้และเทคนิคต่างๆจากการศึกษาดูงาน มาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่คือ “ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ” เริ่มผลิตเมื่อเดือน สิงหาคม 2561 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
- มีการประชุมคณะกรรมการประจำเดือน และจดรายงานประชุมไว้เป็นหลักฐาน
- เลขานุการสรุปผลประกอบการเป็นรายวันและรายเดือน เพื่อนำมาพูดคุยในที่ประชุมประจำเดือน
- ความโปร่งใสในการทำบัญชี การบริหารงาน และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
- การบริหารจัดการตามความถนัดและความสามารถของสมาชิกในกลุ่ม
- การแก้ไข้ปัญหา และหาทางออกที่ตรงจุด ตรงประเด็น
- ยอดจำหน่ายทุกเดือน หลังจากหักค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน จะหักเข้ากลุ่มเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน จำนวน 30% และส่วนที่เหลือจัดเป็นค่าซ่อมบำรงอุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
จากการสำรวจข้อมูลกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติพบว่ากลุ่มทอผ้ามีปัญหาในการดำเนินกิจกรรม ดังต่อไปนี้
1. การวางแผนการผลิตสินค้าไม่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค เช่น ผลิตสินค้าชนิดเดียว สีเดียว ลายเดียว มากจนเกินไปทำให้ลูกค้าไม่มีตัวเลือกในผลิตภัณฑ์
2. สิ้นเปลืองไม้ฟืนสำหรับต้มน้ำย้อมสีจากธรรมชาติต้องใช้ไม้ฟื้นขนาดใหญ่และจำนวนมากจึงจะทำให้ได้อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมสำหรับการย้อมสีธรรมชาติชนิดต่าง ๆ ทำให้ต้องไปตัดไม้ขนาดใหญ่จำนวนมากจากป่าในชุมชนเป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติ
3. ไม่มีการจัดทำระบบคงคลังสินค้า ทำให้ไม่รู้ว่าสินค้าชนิดไหนขายได้มากหรือได้น้อย และที่สำคัญทางกลุ่มมีปัญหาในเรื่องของการกำหนดชื่อของลายมัดย้อม
4. ไม่มีช่องทางการจำหน่ายสินค้า เนื่องจากกลุ่มใช้วิธีขายตามงานที่หน่วยงานราชการจัดพื้นที่ให้ ยังไม่มีการขายในระบบออนไลน์หรือยังไม่มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมืองบ้านดงน้อยหมู่ที่ 3 ต.ห้วยโพธิ์ อ.เมือง จ. กาฬสินธุ์ มีความต้องการพื้นที่ในการจำหน่ายสินค้าในทุกวัน โดยไม่ต้องรอแต่ให้หน่วยงานราชการช่วยเหลือให้พื้นที่จำหน่ายสินค้า รวมถึงการจัดการกับสินค้า และการเพิ่มช่องทางการจำหน่าย เช่น Facebook Fan page เป็นต้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 ประยุกต์ใช้ความรู้ในรายวิชาการเตรียมโครงงาน ในหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตร์บัณฑิต โปรแกรมเทคโนโลยีอุตสาหการ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการในการออกแบบ เขียนแบบ และสร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง เพื่อให้เกิดนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์เตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงสำหรับต้นน้ำย้อมสีธรรมชาติ
ทฤษฎีการเผาไหม้ชีวมวล
การเผาไหม้ชีวมวลเป็นกระบวนการในการเปลี่ยนรูปชีวมวลเพื่อการใช้ประโยชน์ด้านพลังงานหรือเป็นเชื้อเพลิงซึ่งมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและประเภทของชีวมวลโดยทั่วไปแบ่งได้เป็น2กระบวนการคือการเปลี่ยนรูปทางชีวเคมี(Bio -chemicalconversion)และการเปลี่ยนรูปโดยความร้อน(Thermo-chemicalconversion)
การเปลี่ยนรูปโดยความร้อน(Thermo-chemicalconversion)เป็นการสลายพันธะเคมีของชีวมวลไปเป็นแหล่งพลังงานที่อยู่ในรูปของแข็งของเหลวหรือก๊าซวิธีการเปลี่ยนรูปโดยความร้อนขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทชีวมวลและเป้าหมายในการใช้งานแบ่งได้ดังนี้
- การเผาไหม้โดยตรง(CombustionProcess)เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างออกซิเจนกับคาร์บอนแล้วปลอดปล่อยพลังงานความร้อนออกมาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามต้องการผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเผาไหม้คือCO2และH2Oซึ่งการเผาไหม้ชีวภาพนั้นมีกระบวนการการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่มีความซับซ้อนโดยการเผาไหม้นั้นจะเกิดกระบวนการทำให้เชื้อเพลิงแข็งเกิดการเปลี่ยนรูปเป็นก๊าซก่อนและค่อยเกิดการเผาไหม้ก๊าซ ซึ่งจะได้ความร้อนในลักษณะเปลวไฟและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และน้ำโดยสัดส่วนของก๊าซCOและCO2ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการเผาไหม้และปริมาณอากาศที่ใช้ในการเผาไหม้โดยมีกลไกการเผาไหม้แผนภูมิ
ทฤษฎีการเผาไหม้
- การผลิตก๊าซ(GasiflcationProcess)เป็นการใช้ความร้อนสลายพันธะเคมีของชีวมวลในสภาพของแข็งในสภาวะจำกัดปริมาณออกซิเจนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตก๊าซเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ได้เรียกว่าProducearGasประกอบด้วยCO,H2คุณสมบัติของก๊าซขึ้นอยู่กับประเภทของเตาผลิตก๊าซ(gasifler)และคุณสมบัติของเชื้อเพลิง(FeedstockProperties)
- การแยกสลายด้วยความร้อน(PyrolysisorDistillationProcess)เป็นการสลายพันธะเคมีชีวมวลโดยความร้อนในสภาพแวดล้อมที่ไร้ออกซิเจนเกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ200-600องศาเซลเซียสภายใต้ความดันบรรยากาศปกติผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยของแข็ง30-50%ของเหลว18-20%และก๊าซ20-30%ปริมาณผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดขึ้นอยู่กับการกำหนดเงื่อนไขของHeatRateและMaximumTemperature ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยความร้อนแบ่งได้2กระบวนการคือslowpyrolysisอัตราการให้ความร้อนของชีวมวลต่ำกว่า10oC/sสารVolatileMatterระเหยออกมาช่วงอุณหภูมิ250-500องศาเซลเซียสที่อุณหภูมิ 600องศาเซลเซียสการแยกสลายด้วยความร้อนจะสิ้นสุดได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็นถ่านก๊าซที่ออกจากslowpyrolysisประกอบด้วยCO,Co2,CH4,C2Hnเป็นต้นมีค่าความร้อนอยู่ระหว่าง10.5-15MJ/m3อีกกระบวนการหนึ่งคือFastpyrolysisอัตราการให้ความร้อนของชีวมวลอยู่ระหว่าง10-100oC/sผลิตภัณฑ์ที่ได้ส่วนเป็นก๊าซที่มีค่าความร้อนสูงเช่นEthylene,Propaneที่อุณหภูมิสูงกว่า100องศาเซลเซียสของแข็งและของเหลวจะเกิดการสลายตัวเพิ่มขึ้นซึ่งจะเพิ่มปริมาณ Hydrocarbonในก๊าซสูงขึ้น

6.2 ประยุกต์ความรู้ในรายวิชาสัมมนาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ในหลักสูตรระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ในการออกแบบ และพัฒนาแอปพลิเคชันในการวางแผนการผลิต เพื่อนำมาใช้การวางแผนการผลิตผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ และหลักการออกแบบแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลังสำหรับจัดการสินค้าคงคลังของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 ให้สามารถผลิตสินค้าได้ในจำนวนที่เพียงพอและไม่มากจนล้นตลาด
ชัชฎาพร และคณะ ทำการประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตามลําดับชั้นสําหรับ (Analytic Hierarchy Process) หรือ เอเอชพี (AHP) แอปพลิเคชันบนมือถือเพื่อจัดการเงินของฉันโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอแนวทางในการพัฒนา แอปพลิเคชันบนมือถือสําหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยใช้กรณีศึกษาการพัฒนาโปรแกรมจัดการเงินของฉันและประยุกต์ใช้ เทคนิคการวิเคราะห์ตามลําดับชั้น หรือ AHP เข้ามาเพิ่มเป็นตัวเลือกเสริมในแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น การดําเนินการวิจัยสําหรับบทความนี้ ใช้ขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) หรือ เอสดีแอลซี (SDLC) ในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนมือถือเพื่อจัดการเงินของฉัน ซึ่งประกอบด้วยส่วนงาน 5 ส่วน คือ ) ส่วนงานบันทึกรายรับ รายจ่าย 2) ส่วนงานบัตรเครดิตและบัตรกดเงินสด 3) ส่วนงานบันทึกเงินฝากธนาคาร 4) ส่วนงานวางแผนการใช้จ่ายและเงินออม และ 5) ส่วนงานสนับสนุนการตัดสินใจ
วิเชียร (2552)สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ประกอบด้วย 3 ระดับ 1) ระดับภายใน หรือระดับกายภาพ เป็นฐานข้อมูลเชิงนามธรรมในระดับล่าง โดยจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลจริง อย่างไร 2) ระดับเชิงแนวคิด หรือระดับตรรกะ โดยอธิบายว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่ถูกจัดเก็บในฐานข้อมูลและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 3) ระดับภายนอกหรือระดับวิวเป็นข้อมูลเชิงนามธรรมระดับสูงสุด อธิบายเกี่ยวกับบางส่วนของฐานข้อมูล และมีความจำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น
ระบบจัดการฐานข้อมูล (2549) หรือ DBMS (Database Management System) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อทําหน้าที่ในการจัดการข้อมูล เช่น การเพิ่ม ลบหรือแกไขข้อมูล การป้องกันการขัดแย้งกันของข้อมูล การป้องกันและแก้ไขความเสียหายของข้อมูล รวมไปถึงการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกันของ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ และการกาหนดสิทธิ ํ 9ในการเรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลเป็นต้น ระบบ จัดการฐานข้อมูลส่วนใหญ่แล้วจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักได้แก่ ส่วนของภาษา พจนานุกรมข้อมูล โปรแกรมอํานวยความสะดวก โปรแกรมช่วยในการสร้างโปรแกรมประยุกต์ และโปรแกรมช่วยสร้างรายงาน

6.3 องค์ความรู้ นักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาธุรกิจอัจฉริยะได้องค์ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันวางแผนการผลิต และแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง ประยุกต์ความรู้ ในการเขียนคอนเทนสตรอรี่ การถ่ายภาพ การทำวิดีโอคอนเทน การจัดองค์ประกอบภาพเพื่อการค้าออนไลน์ การนำข้อมูลที่ผ่านการวางแผนการลงขายสินค้าผ่านทาง Facebook Fan page ของกลุ่ม ซึ่งองค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการดำเนินการคือ การวิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าที่ใช้งานบน Facebook Fan page ได้ง่ายและสามารถนำผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือของกลุ่มส่งผ่านไปยังลูกค้าที่สนใจได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
1) ทฤษฎีการสร้างเนื้อหาให้แก่ศิลปะภาพถ่าย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2558) เนื้อหาของภาพถ่าย คือเรื่องราวที่สอดแทรกอยู่ภายในงาน เป็นประเด็นหรือแก่นของงานที่ผู้ถ่ายภาพหรือผู้สร้างภาพต้องการจะบอกแก่ผู้อื่น งานภาพถ่ายที่มีความงดงามแต่ขาดเนื้อหาจะไม่สามารถสร้างความประทับใจแก่ใครได้ เหมือนงานที่ใช้ฝีมือประดิดประดอยจนสวยงาม แต่ขาดความคิดหรือสมองที่จะคิดกรอง
เนื้อหาของงานศิลปะนั้นนอกจากจะก่อให้เกิดความซาบซึ้ง ความเพลิดเพลินเจริญใจแก่ผู้ดูผู้ชม ศิลปะที่ดีจะต้องทำหน้าที่สร้างสรรค์ให้เกิดความดีงามขึ้นในสังคม และขัดเกลาความคิดและจิตใจของคนในสังคมด้วย มีลักษณะดังนี้ เนื้อหาที่เกี่ยวกับมนุษย์และธรรมชาติของมนุษย์ เนื้อหาที่เกี่ยวกับบุคคลรอบข้างและสังคม เนื้อหาที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์และความเชื่อ เนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
2) ทฤษฎีขนาดภาพบนเพจเฟสบุ๊ค
Orn Smith (2562) ขนาดรูป Facebook ที่ใช้บ่อย Assets ประเภทต่างๆ บน Facebook เพจ กรุ๊ป อีเวนต์ และโพสต์ มีขนาดรูปภาพที่ไม่เหมือนกัน แต่ละขนาดมีลักษณะดังนี้
2.1 รูปปก Cover และรูปโปรไฟล์ ของ Facebook Page ขนาด 820 x 312 px. คือขนาดแนะนำสำหรับ Coverของ Facebook Page
2.2 รูปปก Cover ของ Facebook Event ขนาด 1000 x 524 px หรือสามารถใช้ที่ 1200 x 628 px
2.3 ขนาดรูป Facebook Posts ที่ใช้บ่อย 9 ขนาด ได้แก่
- Shared Link 1200x628 px
- Sqaure Image 960x960 px
- Image 1200x800 px
- Horizontal Image 1200x630 px
- Vertical Image 960x1440 px
- Album Cover (1+3) 1200x800 px
- Album Cover (1+2) 1200x600 px
- Vertical Album Image (1+3) 960x1440 px
- Vertical Album Image (1+2) 720x1440 px

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการพัฒนาแอปพลิเคชันไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3

ช่วยให้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 มีแผนการผลิตสินค้าที่รองรับกับความต้องการของตลาด

1.00 1.00
2 2. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านธุรกิจอัจฉริยะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3

ช่วยให้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 มีช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page

1.00 1.00
3 3. เพื่อให้นักศึกษาใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยีอุตสาหการด้านการออกแบบ และสร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3

ช่วยให้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 มีเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงแก้ไขปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าในชุมชนเพราะใช้ไม้ฟืนจำนวนน้อยลงสำหรับใช้ในการต้มย้อมสีธรรมชาติ

1.00 1.00
4 4. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 โดยใช้องค์ความรู้จากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ช่วยให้กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3 มีการจัดการสินค้าคงคลังสามารถผลิตสินค้าได้ในจำนวนที่เพียงพอและไม่มากจนล้นตลาด

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สมาชิก กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย 36

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง

ชื่อกิจกรรม
สร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง
วัตถุประสงค์
  1. 3. เพื่อให้นักศึกษาใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยีอุตสาหการด้านการออกแบบ และสร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม
ออกแบบและพัฒนาเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
2. ออกแบบ เขียนแบบ และสร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง
3. ทดลองการใช้งานเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง (บันทึกผลการทดลอง)
4. แอปพลิเคชันวางแผนการผลิต
5. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
6. ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3จากแบบสอบถาม วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมโครงการ
8. สรุปผลโครงการและเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
9. ประเมินผลโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง จำนวน 9 เตา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

-  ค่าวิทยากรเตาชีวมวลภาคทฤษฎี (1 คน x 7 ชม. x 300 บาท) 2,100

1 คน 300 7 2,100
อื่น ๆ

-  ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ ( 1 คน x 36 วัน x 180 บาท) 6,480

1 คน 180 36 6,480
อื่น ๆ

-  ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา ( 2 คน x36 วัน x 120 บาท) 8,640

2 คน 120 36 8,640
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงนักศึกษา ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 5 คัน X 4 บาท) 4,608

36 ครั้ง 4 32 4,608
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ด้ายเรย่อน (50 กิโลกรัม × 190 บาท) 9,500

50 ชุด 190 1 9,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ด้ายซีกวง (50 กิโลกรัม × 190 บาท) 9,500

50 ครั้ง 190 1 9,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ฝ้าย (โรงงาน) (50 กิโลกรัม × 330 บาท) 16,500

50 คน 330 1 16,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

-    ฝ้ายเข็นมือ (33 กิโลกรัม × 550 บาท) 18,150

33 ชุด 550 1 18,150
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    เสื้อยืดสีขาว (22 ตัว × 130 บาท) 2,860

22 ชิ้น 130 1 2,860
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    เหล็กแผ่นขนาด 4x8 ฟุต หนา 1.6 ม.ม. (12 แผ่น × 1,800 บาท) 21,600

12 ชิ้น 1,800 1 21,600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ท่อแป๊บเหล็กขนาด 6 นิ้ว หนา 2.0 ม.ม. (1 เส้น × 1,700 บาท) 1,700

1 คน 1,700 1 1,700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ท่อแป๊บเหล็กขนาด 5 นิ้ว หนา 2.0 ม.ม. (1 เส้น × 1,300 บาท) 1,300

1 ชิ้น 1,300 1 1,300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-  ท่อแป๊บเหล็กขนาด 4 นิ้ว หนา 2.0 ม.ม. (1 เส้น × 1,000 บาท) 1,000

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ลวดเชื่อม 2.6 ม.ม. (5 ห่อ × 130 บาท) 650

5 ชิ้น 130 1 650
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    เหล็กเส้น 3 หุนเต็ม (6 เส้น × 110 บาท) 660

6 ชิ้น 110 1 660
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ใบหินเจียระไน 4 นิ้ว (6 ใบ × 35 บาท) 210

6 คน 35 1 210
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ใบตัดไฟเบอร์ขนาด 14 นิ้ว (5 ใบ × 140 บาท) 700

5 ชิ้น 140 1 700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ท่อแป๊บชุบกัลวาไนซ์ขนาด 6 หุน (6 เส้น × 350 บาท) 2,100

6 ชิ้น 350 1 2,100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    เหล็กกล่องกัลวาไนซ์ขนาด 2x1 นิ้ว หนา 1.5 ม.ม. (5 เส้น × 300 บาท) 1,500

5 ชิ้น 300 1 1,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กกล่องกัลวาไนซ์ขนาด 1x1 นิ้ว หนา 1.5 ม.ม. (8 เส้น × 250 บาท) 2,000

8 ชิ้น 250 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    สีกันสนิม (2 แกลลอน × 396 บาท) 792

2 ชิ้น 396 1 792
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    แปรงทาสี (1 อัน × 12 บาท) 12

1 ชิ้น 12 1 12
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ทินเนอร์ (5 ขวด × 40 บาท) 200

5 ชิ้น 40 1 200
ค่าตอบแทนวิทยากร

-    ไม้ฟืน 2,000

1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

-  ค่าวิทยากรเตาชีวมวลภาคปฏิบัติ (4 คน x 16 ชม. x 300 บาท) 19,200

4 คน 300 16 19,200
รวมค่าใช้จ่าย 134,962

กิจกรรมที่ 2 แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิต

ชื่อกิจกรรม
แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิต
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการพัฒนาแอปพลิเคชันไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม
ออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันการวางแผนการผลิต โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
2. วิเคราะห์และออกแบบระบบแอปพลิเคชันวางแผนการผลิต
3. ทดลองการใช้งานแอปพลิเคชันวางแผนการผลิต (บันทึกผลการทดลอง)
4. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
5. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
6. ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3จากแบบสอบถาม วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมโครงการ
8. สรุปผลโครงการและเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
9. ประเมินผลโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิต จำนวน 1 แอปพลิเคชัน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

-       ค่าวิทยากรแอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตภาคทฤษฎี (1 คน x 7 ชม. x 300 บาท) 2,100

1 คน 300 7 2,100
ค่าตอบแทนวิทยากร

-       ค่าวิทยากรแอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตภาคปฏิบัติ (4 คน x 24 ชม. x 300 บาท) 19,200

4 คน 300 16 19,200
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ ( 1 คน x 36 วัน x 180 บาท) 6,480

1 คน 180 36 6,480
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 3 คน x36 วัน x 120 บาท) 12,960

3 คน 120 36 12,960
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ไวนิล 1,000

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

-       ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงนักศึกษา ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 1 คัน X 4 บาท) 4,608

32 คน 4 36 4,608
ค่าวัสดุสำนักงาน

- กระดาษ เอ 4 ขนาด 80 แกรม (8 รีม x 120 บาท) 960

8 ชิ้น 120 1 960
ค่าวัสดุสำนักงาน

-    กระดาษโ.ฟโต้ชนิดกันน้ำ 180 แกรม (5 ห่อ x 310 บาท) 1,550

5 ชิ้น 310 1 1,550
ค่าวัสดุสำนักงาน

-    สีไม้ 48 สี (2 กล่อง × 240 บาท) 480

2 ชิ้น 240 1 480
ค่าวัสดุสำนักงาน

-    แฟ้มขนาด 3 นิ้ว (12 แฟ้ม × 75 บาท) 900

1 ชิ้น 75 12 900
อื่น ๆ

-       ค่าเช่าอินเทอร์เน็ตเหมาจ่ายรายเดือน (4 เดือน x 1 คน x 910 บาท) 3,640

1 คน 910 4 3,640
ค่าวัสดุสำนักงาน

-    ซองแฟ้มแบบเจาะ (20 ห่อ × 30 บาท) 600

20 ชิ้น 30 1 600
ค่าตอบแทนวิทยากร

-    ปากกา (36 ด้าม × 5 บาท) 180

36 ชิ้น 5 1 180
รวมค่าใช้จ่าย 54,658

กิจกรรมที่ 3 แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง

ชื่อกิจกรรม
แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการพัฒนาแอปพลิเคชันไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3
  2. 2. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านธุรกิจอัจฉริยะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม
ออกแบบและพัฒนาพัฒนาแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
2. วิเคราะห์และออกแบบระบบพัฒนาแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง
3. ทดลองการใช้งานแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง (บันทึกผลการทดลอง)
4. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
5. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
6. ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3จากแบบสอบถาม วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมโครงการ
8. สรุปผลโครงการและเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
9. ประเมินผลโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลังจำนวน 1 แอปพลิเคชัน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

-       ค่าวิทยากรแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลังภาคทฤษฎี (1 คน x 7 ชม. x 300 บาท) 2,100

1 คน 300 7 2,100
ค่าตอบแทนวิทยากร

-       ค่าวิทยากรแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลังปฏิบัติ (4 คน x16 ชม. x 300 บาท) 19,200

4 คน 300 16 19,200
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ (1 คน x 36 วัน x 180 บาท) 6,480

1 คน 180 36 6,480
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 3 คน x36 วัน x 120 บาท) 12,960

3 คน 120 36 12,960
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

-       ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงนักศึกษา ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 2 คัน X 4 บาท) 9,216

36 ชุด 4 64 9,216
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

-       ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงอาจารย์ ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 1 คัน X 4 บาท) 4,608

36 คน 4 32 4,608
อื่น ๆ

-       ค่าเช่าอินเทอร์เน็ตเหมาจ่ายรายเดือน (4 เดือน x 1 คน x 910 บาท) 3460

1 คน 910 4 3,640
อื่น ๆ

-       ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ (6 เล่ม x 500 บาท) 3,000

6 ชิ้น 500 1 3,000
อื่น ๆ

-       ค่าเอกสารฝึกอบรม (36 คน x 4 เล่ม x 100 บาท) 14,400

36 คน 100 4 14,400
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ป้ายไวนิล 1,000

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร

-       ค่าถ่ายเอกสาร (2,000 แผ่น x 50 สตางค์) 1,000

2,000 ชิ้น 1 1 1,000
ค่าอาหาร

-       ค่าอาหารกลาง (48 คน x 12มื้อ x 120 บาท) 69,120

48 คน 120 12 69,120
ค่าอาหาร

-       ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (48 คน x24 มื้อ x 35 บาท) 40,320

48 คน 35 24 40,320
อื่น ๆ

-          ค่าไฟฟ้า 2,000

1 ชุด 2,000 1 2,000
อื่น ๆ

-          ค่าน้ำประปา 1,000

1 ชุด 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าเนียมอุดหนุนสถาบัน ร้อยละ 10 50,000

1 ชุด 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 240,044

กิจกรรมที่ 4 ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page

ชื่อกิจกรรม
ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page
วัตถุประสงค์
  1. 2. เพื่อใช้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านธุรกิจอัจฉริยะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษาร่วมกับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม
ออกแบบและพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
2. เก็บภาพสินค้า เก็บข้อมูลสินค้า นำมาวิเคราะห์ข้อมูล วางแผนการขายออนไลน์ และออกแบบเพจเฟสบุ๊ค
3. ทดลองดำเนินการขายสินค้าออนไลน์ พร้อมกับการลงข้อมูล หรือคอนเทนด์สตอรี่ โดยโพสต์ขายตามตารางที่กำหนด (บันทึกผลการทดลอง)
4. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
5. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3
6. ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านดงน้อย หมู่ที่3จากแบบสอบถาม วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมโครงการ
8. สรุปผลโครงการและเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์
9. ประเมินผลโครงการและเผยแพร่สู่สาธารณะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page จำนวน 1 page
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์, บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าอบรมการขายออนไลน์และการจัดทำคอนเทนด์สตอรี่ภาคทฤษฎี (1 คน x 7 ชม. x 300 บาท) 2,100

1 คน 300 7 2,100
ค่าตอบแทนวิทยากร

-       ค่าวิทยากรเตาชีวมวลภาคปฏิบัติ (4 คน x 16 ชม. x 300 บาท) 19,200

4 คน 300 16 19,200
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ ( 1 คน x 36 วัน x 180 บาท) 6,480

1 คน 180 36 6,480
อื่น ๆ

-       ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 2 คน x36 วัน x 120 บาท) 8,640

2 คน 120 36 8,640
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

-       ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงนักศึกษา ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 1 คัน X 4 บาท)

36 ครั้ง 4 32 4,608
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

-       ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงอาจารย์ ( 32 ก.ม. x 36 ครั้ง x 1 คัน X 4 บาท) 4,608

36 ครั้ง 4 32 4,608
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- กระดาษการ์ดด้าน (10 รีม x 130 บาท) 1,300

10 ชุด 130 1 1,300
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

-       ค่าจ้างทำป้ายไวนิล (1 ป้าย x 1,000บาท) 1,000

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

-       ค่าเช่าอินเทอร์เน็ตเหมาจ่ายรายเดือน (4 เดือน x 1 คน x 910 บาท) 3640

1 คน 910 4 3,640
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- กาวสองหน้าแบบบาง (2 ม้วน × 170 บาท) 340

2 ชิ้น 170 1 340
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- กาวสองหน้าแบบหนา (2 ม้วน × 180 บาท) 360

2 ชิ้น 180 1 360
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- แลกซีน (2 ม้วน × 50 บาท) 100

2 ชิ้น 50 1 100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    หมึกอิงค์เจ็ทตลับสีดำ (5 ตลับ × 756 บาท) 3,780

5 ชิ้น 756 1 3,780
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    หมึกอิงค์เจ็ทตลับสี (6 ตลับ × 875 บาท) 5,250

6 ชิ้น 875 1 5,250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- หลอดไฟ LED ขนาด 40 W (8 หลอด × 400 บาท) 3,200

8 ชิ้น 400 1 3,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    อุปกรณ์สะท้อนแสงสว่าง (4 อัน × 200 บาท) 800

4 คน 200 1 800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    แคมป์ยึด (8 ชุด × 50 บาท) 400

8 ชิ้น 50 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ปลั๊กตัวผู้ (4 อัน × 10 บาท) 40

4 ชิ้น 10 1 40
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

-    ปลั๊กตัวเมีย (4 อัน × 35 บาท) 140

4 ชิ้น 35 1 140
ค่าตอบแทนวิทยากร

-     สายไฟขนาด 2x1.5 (50 เมตร × 15 บาท) 750

50 ชิ้น 15 1 750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

- ผ้าสีพื้น 4 สี (ดำ,ขาว,น้ำเงิน,เขียว) (36 เมตร × 100 บาท) 3,600

36 ชิ้น 100 1 3,600
รวมค่าใช้จ่าย 70,336

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 106,280.00 4,000.00 142,696.00 96,584.00 150,440.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 21.26% 0.80% 28.54% 19.32% 30.09% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ได้สร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงจำนวน 9 เตา ลดการไม้ฟืนขนาดใหญ่จำนวนน้อยลง โดยใช้ไม้ฟืนขนาดเล็กทดแทน ร่วมกับการใช้เตาชีวมวล ลดการทำลายป่าไม้ในชุมชนลง
2 ได้แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตสินค้า จำนวน 1 แอปพิเคชัน
3. ได้แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง จำนวน 1 แอปพิเคชัน ลดจำนวนการจัดเก็บไหม ด้าย ฝ้าย สี รู้จำนวนสินค้าคงเหลือ ลดจำนวนการจัดเก็บส่งผลให้ต้นทุนในการจัดเก็บลง
4. ได้เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทางFacebook Fan page จำนวน1 เพจ เพิ่มจำนวนยอดการสั่งซื้อมากขึ้น เพิ่มรายได้ขึ้น
นักศึกษาได้
1. ได้สร้างเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงจำนวน 9 เตา โดยใช้ไม้ฟืนจำนวนน้อยลง ลดการทำลายป่าไม้ในชุมชนลง
2 ได้แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตสินค้า จำนวน 1 แอปพิเคชัน
3. ได้แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง จำนวน 1 แอปพิเคชัน
4. ได้เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page จำนวน1 เพจ
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. เตาชีวมวลประสิทธิภาพสูงจำนวน 9 เตา ลดการไม้ฟืนขนาดใหญ่จำนวนน้อยลง 30 -50% โดยใช้ไม้ฟืนขนาดเล็กทดแทน ร่วมกับการใช้เตาชีวมวล ลดการทำลายป่าไม้ในชุมชนลง
2 แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตสินค้า จำนวน 1 แอปพิเคชัน ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายลงเพิ่มรายได้ขึ้น 5 - 10%
3. แอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง จำนวน 1 แอปพิเคชัน ลดจำนวนการจัดเก็บไหม ด้าย ฝ้าย สี รู้จำนวนสินค้าคงเหลือ ลดจำนวนการจัดเก็บส่งผลให้ต้นทุนในการจัดเก็บลง 5 - 10%
4. เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทางFacebook Fan page จำนวน1 เพจ เพิ่มจำนวนยอดการสั่งซื้อมากขึ้น เพิ่มรายได้ขึ้น 5 - 10%
นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้พัฒนากิจกรรม และสามารถเทียบหน่วยกิตได้ดังนี้
1. วิชาการเตรียมโครงงานเทคโนโลยีอุตสาหการ เทียบได้ 1 หน่วยกิต ประยุกต์ใช้ความรู้พัฒนาเตาชีวมวลประสิทธิภาพสูง
2. วิชาสัมมนาทางระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ เทียบได้ 3 หน่วยกิต ประยุกต์ใช้ความรู้พัฒนาแอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตสินค้า และแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลัง
3. วิชาอัจฉริยะทางธุรกิจเบื้องต้น เทียบได้ 3 หน่วยกิต ประยุกต์ใช้ความรู้ในการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทาง Facebook Fan page
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดค่าใช้ในการจ้างแรงงานตัดไม้ ลดการไม้ฟืนขนาดใหญ่ ลดการทำลายป่าไม้ในชุมชนลงส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
2 แอปพลิเคชันการวางแผนการผลิตสินค้า จำนวน 1 แอปพิเคชัน ลดต้นทุนในการผลิต ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายลง เนื่องจากการวางผลิตสินค้าตามเทศกาล เช่น ผลิตภัณฑ์โทนสีชมพู ในเทศกาลแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ เป็นต้น
3. เมื่อมีการนำแอปพลิเคชันจัดการสินค้าคงคลังมาจัดการสินค้าคงคลัง เช่น เทศกาลวันสงกรานต์ คนนิยมนำผลิตภัณฑ์ผ้าไทย ไปเป็นของฝากผู้อาวุโส ผู้บังคับบัญชาในหน่วยงานราชการ เป็นต้น ส่งลดจำนวนการจัดเก็บไหม ด้าย ฝ้าย สี รู้จำนวนสินค้าคงเหลือ ลดจำนวนการจัดเก็บส่งผลให้ต้นทุนในการจัดเก็บลง 5 - 10%
4. ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าตลอด 24 ชั่วโมงผ่านทางFacebook Fan page เพิ่มจำนวนยอดการสั่งซื้อมากขึ้น เพิ่มรายได้ขึ้น 5 – 10% ลูกค้าทั้งคนไทย และต่างประเทศสามารถสั่งซื้อได้ตลอดเวลา ลดต้นทุนในการเดินทางเพื่อนำสินค้าไปจำหน่ายนอกสถานที่
นักศึกษาได้ทำการทดลองแก้ไขปัญหาการตัดไม้ในชุมชน ของต้นไม้ขนาดใหญ่ ถูกตัดทำลายลง และนักศึกษาได้นำเตาชีวมวลคุณสูงมาใช้งานร่วมกับชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย siriorn siriorn เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 13:58 น.