การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการแปรรูปมะม่วงบ้านบึงวิชัย

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการแปรรูปมะม่วงบ้านบึงวิชัย

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการแปรรูปมะม่วงบ้านบึงวิชัยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เกษตรตำบลบึงวิชัย และเทศบาลตำบลบึงวิชัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงบึงวิชัยนางสาวหนูเดือน สาระบุตรรหัสประจำตัวประชาชน 3460100877932คณะเทคโนโลยีการเกษตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหารมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์62/1 ถ. เกษตรสมบูรณ์ อ.เมือง จ. กาฬสินธุ์09483027121. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สายัญพันธ์สมบูรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช รหัสประจำตัวประชาชน5460100086605เบอร์โทร 0643233579
2. นายเอกรินทร์ สารีพัว อาจารย์ที่ปรึกษาประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชรหัสประจำตัวประชาชน1610400031437 เบอร์โทร 0878658848
3. นางสาวอ้อยทิพย์ สมานรส อาจารย์ที่ปรึกษาประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร รหัสประจำตัวประชาชน 3320101913607เบอร์โทร 0644514563
4. นางสาววรางคณา ศรีสมบูรณ์ นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหารรหัสประจำตัวประชาชน1469900379254รหัสนักศึกษา 59432110068-8เบอร์โทร 0621037040 เทียบโอนรายวิชาปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารจำนวน 3หน่วยกิต
5. นางสาวชุติมา จันทะขันธ์ นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร รหัสประจำตัวประชาชน1469900503125รหัสนักศึกษา 614333022002-3 เบอร์โทร 0934811463เทียบโอนรายวิชาทักษะวิชาชีพทาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2จำนวน 3หน่วยกิตและรายวิชา การแปรรูปอาหาร 1 จำนวน 3หน่วยกิต
6. นายธวัชชัยภูธรรมะ นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช รหัสประจำตัวประชาชน1469900522146รหัสนักศึกษา 621220002004-3เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต
7. นางสาวศิริขวัญสุขสว่างนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชรหัสประจำตัวประชาชน1430301328000รหัสนักศึกษา 621220002005-0เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต
8. นางสาวศิริวรรณสุขสว่าง นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชรหัสประจำตัวประชาชน1430301327992รหัสนักศึกษา 621220002006-8เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต
9. นายนัฐวัฒน์สุริยะพงษ์ธร นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชรหัสประจำตัวประชาชน1469900503681รหัสนักศึกษา 621220002007-6เบอร์โทร 0970635013เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต
10. นางสาวสุมารินปรีพูลนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชรหัสประจำตัวประชาชน1459900816051รหัสนักศึกษา 621220002008-4เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต
11. นายกิตติพงษ์หงษ์แก้ว นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช รหัสประจำตัวประชาชน1469900494100รหัสนักศึกษา 621220002009-2เทียบโอนรายวิชาหลักและวิธีส่งเสริมการเกษตรจำนวน 3หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ บึงวิชัย ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

เกษตรกรบ้านบึงวิชัย ตำบลบึงวิชัย อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นชุมชนที่มีการปลูกมะม่วงกันอย่างแพร่หลาย มีพื้นที่ปลูกประมาณ1,500 ไร่ ได้ผลผลิตไร่ละ500-600กิโลกรัม ราคาขายกิโลกรัมละ35-45บาท แต่เกษตรกรมักประสบปัญหาในด้านการปลูกมะม่วงเพื่อให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด โดยปัญหาที่พบ ได้แก่ โรคและแมลงศัตรูที่เข้าทำลายมะม่วง ตลอดจนปัญหาการติดดอกออกผลของมะม่วง อีกทั้งเมื่อมีผลผลิตของมะม่วงที่มากเกินไปทำให้ราคาของมะม่วงตกต่ำมีพื้นที่ปลูกประมาณ1,500 ไร่ ได้ผลผลิตไร่ละ500-600กิโลกรัมเกษตรกรบ้านบึงวิชัย ตำบลบึงวิชัย อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นชุมชนที่มีการปลูกมะม่วงกันอย่างแพร่หลาย แต่เกษตรกรมักประสบปัญหาในด้านการปลูกมะม่วงเพื่อให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด โดยปัญหาที่พบ ได้แก่ โรคและแมลงศัตรูที่เข้าทำลายมะม่วง ตลอดจนปัญหาการติดดอกออกผลของมะม่วง อีกทั้งเมื่อมีผลผลิตของมะม่วงที่มากเกินไปทำให้ราคาของมะม่วงตกต่ำ เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงไม่ได้มีแนวทางในการแปรรูปจากมะม่วงและการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้รู้จักแหล่งปลูกมะม่วงที่สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ กล่าวคือเกษตรกรยังขาดองค์ความรู้และแนวคิดที่มีการจัดการสมัยใหม่และมีประสิทธิภาพมาช่วยในการบูรณาการภาคการเกษตร ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต แก้ไขปัญหาความยากจน ขับเคลื่อนความมั่นคงและความสุขให้กับคนในชุมชนเพื่อเพิ่มผลผลิตมะม่วง และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิตมะม่วง และเทคโนโลยีการการแปรรูปมะม่วง

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มผลผลิตมะม่วง

เพิ่มผลผลิตมะม่วงอย่างน้อยร้อยละ 10และรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20

50.00 1.00
2 การแปรรูปมะม่วงเพื่อสร้างรายได้

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะม่วงอย่างน้อย2ชนิด

50.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงในพื้นที่ บ้านบึงวิชัย 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชุมความพร้อมอาจารย์ที่ปรึกษาและทีมนักศึกษาเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมความพร้อมอาจารย์ที่ปรึกษาและทีมนักศึกษาเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มผลผลิตมะม่วง
  2. การแปรรูปมะม่วงเพื่อสร้างรายได้
รายละเอียดกิจกรรม
ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 เพื่อ
1. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่มีความประสงค์จะดำเนินการเพิ่มผลผลิต และการแปรรูปมะม่วง
2. นักศึกษาเขียนโครงร่างโครงงานเพื่อเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
3. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
4. ประสานติดต่อวิทยากร
5. ประสานงานกับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเตรียมสถานที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. มีกลุ่มปลูกมะม่วงบ้านบึงวิชัยเข้าร่วมโครงการการจัดการแปลงปลูก และการแปรรูป มะม่วง อย่างน้อย จำนวน 30 แปลง
2. ทราบผลิตภัณฑ์จากมะม่วงที่ชุมชนบึงวิชัยต้องการแปรรูปเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ข้าว
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง- รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 3 คัน x 60 กก.(ไป-กลับ) x 4 บาท

60 เที่ยว 4 3 720
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน

30 คน 70 1 2,100
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 30 ชุด x 100 บาท

30 ชุด 100 1 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน x 100 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน

30 คน 100 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 8,820

กิจกรรมที่ 2 การจัดการแปลงปลูกมะม่วงให้มีประสิทธิภาพและการจัดการในเรื่องของโรคและแมลงศัตรูของมะม่วง

ชื่อกิจกรรม
การจัดการแปลงปลูกมะม่วงให้มีประสิทธิภาพและการจัดการในเรื่องของโรคและแมลงศัตรูของมะม่วง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มผลผลิตมะม่วง
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดเตรียมทำจุดเรียนรู้เพื่ออบรมให้เกษตรกรทราบถึงการจัดการแปลงปลูกมะม่วงให้มีประสิทธิภาพและการจัดการในเรื่องของโรคและแมลงศัตรูของมะม่วง บริเวณพื้นที่เป้าหมายในตำบลบึงวิชัย จากการคัดเลือกแปลงเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบ 30 แปลง
2. จัดอบรมสร้างฐานข้อมูลและองค์ความรู้ด้านการป้องกันกำจัดศัตรูมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรต้นแบบ
3. จัดทำป้ายแปลงจุดเรียนรู้ และจัดทำทะเบียนกลุ่มเรียนรู้
4. การบริหารจัดการจุดเรียนรู้เพื่อประชาสัมพันธ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผลผลิตมะม่วงเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
2. รายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพิ่มขึ้นร้อยละ20
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ข้าว
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

1.ค่าวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (การจัดการแปลงปลูกมะม่วง)จำนวน 1 คน x 2 วัน x 2 ชั่วโมง x 600 บาท

1 คน 1,200 2 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (การจัดการแปลงปลูกมะม่วง)จำนวน 2 คน x 2 วัน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท

2 คน 3,600 2 14,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน x 30 วัน x 240 บาท

2 คน 240 30 14,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 10 คน x 30 วัน x 120 บาท

6 คน 120 30 21,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ จำนวน 1 คัน x 4 ครั้ง x 60 กก.(ไป-กลับ) x 4 บาท

60 เที่ยว 4 4 960
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(การจัดการแปลงปลูกมะม่วง)จำนวน 30 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน x 2 ครั้ง

30 คน 70 2 4,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(การจัดการแปลงปลูกมะม่วง)จำนวน 30 คน x 100 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน x 2 ครั้ง

30 คน 100 2 6,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 2 ป้ายๆ ละ 1,500 บาท x 1 ครั้ง

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
อื่น ๆ

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม (การจัดการแปลงปลูกมะม่วง)จำนวน 30 ชุด x 100 บาท x 1 ครั้ง

30 ชุด 100 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 250 กระสอบ x 350 บาท

250 ชิ้น 350 1 87,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าถุงห่อมะม่วง จำนวน 40,000 ถุง x 1.50 บาท

40,000 ชิ้น 2 1 60,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าสารชีวภัณฑ์ จำนวน 36 กระป๋อง x 500 บาท

36 ชิ้น 500 1 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 235,460

กิจกรรมที่ 3 การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง

ชื่อกิจกรรม
การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง
วัตถุประสงค์
  1. การแปรรูปมะม่วงเพื่อสร้างรายได้
รายละเอียดกิจกรรม
1. ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงที่คัดเลือกแล้วจากความต้องการของชุมชนกลุ่มเป้าหมาย
2. จัดเตรียมทำจุดเรียนรู้เพื่ออบรมถ่ายทอดการแปรรูปให้กับเกษตรกร บริเวณพื้นที่เป้าหมายในตำบลบึงวิชัย จากการคัดเลือกแปลงเรียนรู้และเกษตรกรต้นแบบจำนวน 30 ราย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ชุมชนต้นแบบสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงได้อย่างน้อย 2 ชนิด
2.เกษตรกรในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ร้อยละ 80
3.เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะม่วงจำหน่ายร้อยละ 20
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ข้าว
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง)จำนวน 1 คน x 2 วัน x 2 ชั่วโมง x 600 บาท

1 คน 1,200 2 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง)จำนวน 2 คน x 2 วัน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท

2 คน 3,600 2 14,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน x 30 วัน x 240 บาท

2 คน 240 30 14,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 2 คน x 30 วัน x 120 บาท

2 คน 120 30 7,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะ - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน x 60 กก.(ไป-กลับ) x 4 บาท

60 เที่ยว 4 4 960
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง)จำนวน 30 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน x 2 ครั้ง

30 คน 70 2 4,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง)จำนวน 30 คน x 100 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน x 2 ครั้ง

30 คน 100 2 6,000
อื่น ๆ

จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม (การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง)จำนวน 30 ชุด x 100 บาท x 1 ครั้ง

30 ชุด 100 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษ A4 จำนวน 10 รีม x 110 บาท

10 ชิ้น 110 1 1,100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เพคติน (เกรดที่ใช้กับอาหาร)จำนวน 10 กก. x 1,500 บาท

10 ชิ้น 1,500 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แคลเซียมคลอไรด์ (เกรดที่ใช้กับอาหาร)จำนวน 25 กก. x 350 บาท

25 ชิ้น 350 1 8,750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

น้ำตาลทรายจำนวน 25 กก. x 25 บาท

25 ชิ้น 25 1 625
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กรดซิตริก(เกรดที่ใช้กับอาหาร)จำนวน 10 กก. x 300 บาท

10 ชิ้น 300 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

น้ำผึ้ง (1.5 กก./แกลลอน)จำนวน 10 แกลลอน x 450 บาท

10 ชิ้น 450 1 4,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ขวดแก้วทนร้อนฝาเกลียวขนาด 75 มล.จำนวน 2,000 ขวด x 10 บาท

2,000 ชิ้น 10 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ขวดแก้วทนร้อนฝาเกลียวขนาด 100 มล.จำนวน 2,000 ขวด x 10 บาท

2,000 ชิ้น 10 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

มะม่วงสุก จำนวน 500 กก. x 50 บาท

500 ชิ้น 50 1 25,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เจลาตินผง 250 บลูม จำนวน 10 กก. x 900 บาท

10 ชิ้น 900 1 9,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถุงคราฟท์สีน้ำตาลซิปล๊อค มีหน้าต่างใส ขนาด 8x12 ซม. จำนวน 1,800 ซอง x 15 บาท

1,800 ชิ้น 15 1 27,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษโฟโต้ขนาด A4 (100 แผ่น/แพ็ค) จำนวน 10 แพ็ค x 500 บาท

10 ชุด 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถุงอลูมิเนียมฟอยด์ ขนาด 4x6 นิ้ว จำนวน 1,000 ซอง x 10 บาท

1,000 ชิ้น 10 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถุงอลูมิเนียมฟอยด์ ขนาด 7x11 นิ้ว จำนวน 1,000 ซอง x 12 บาท

1,000 ชิ้น 12 1 12,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ซองเมทัลไลท์ ขนาด 7x13 ซม. จำนวน 2000 ใบ × 6 บาท

2,000 ชิ้น 6 1 12,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

หม้อสแตนเลสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 18 ซม. จำนวน 10 ใบ× 350 บาท

10 ชิ้น 350 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระทะทองเหลือง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 18 ซม. จำนวน 4 ใบ x 2500 บาท

4 ชิ้น 2,500 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระเป๋าใส่เอกสารประกอบการอบรม cและปากกา จำนวน 50 ชุด x 150 บาท

50 ชุด 150 1 7,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สำหรับบดผลไม้ จำนวน 4 ชุด x 1500 บาท

4 ชุด 1,500 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษวัดค่าพีเอช(pH-paper) 0-6 จำนวน 1 กล่อง x 185 บาท

1 ชิ้น 185 1 185
รวมค่าใช้จ่าย 252,720

กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มผลผลิตมะม่วง
  2. การแปรรูปมะม่วงเพื่อสร้างรายได้
รายละเอียดกิจกรรม
1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
2. สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงสามารถผลิตมะม่วงได้อย่างมีคุณภาพ
2. นักศึกษาจะได้ฝึกประสบการณ์จริงและได้เรียนรู้ทักษะการผลิตมะม่วง ตั้งแต่กระบวนการผลิต และการแปรรูป ในการลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกร
3. เกษตรกรในพื้นได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนเทคโนโลยีในการผลิต การแปรรูปมะม่วง เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

จ้างเหมาบริการจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 5 เล่ม x 600 บาท x 1 ครั้ง

5 ชุด 600 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 3,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 33,600.00 3,000.00 31,140.00 365,660.00 66,600.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 6.72% 0.60% 6.23% 73.13% 13.32% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ผลิตภัณฑ์จากมะม่วง 2ชนิด
2.เกษตรกรในพื้นที่จะได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนเทคโนโลยีในการผลิต การแปรรูปมะม่วง
นักศึกษาจะได้ฝึกประสบการณ์จริงและได้เรียนรู้ทักษะการผลิตมะม่วง ตั้งแต่กระบวนการผลิตและการแปรรูป ในการลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกรจำนวน 8คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.เกษตรกรในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
2.ผลผลิตมะม่วงเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
3.การต่อยอดการเพิ่มผลผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยผู้เข้าอบรมสามารถนำทักษะจากการฝึกปฏิบัติการสามารถนำมาต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่ทำจำหน่ายอยู่แล้วให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นรวมทั้งสามารถมีแนวคิดในการนำผลิตภัณฑ์มาเพิ่มมูลค่าโดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สวยงามมากยิ่งขึ้น
1. นักศึกษามีประสบการณ์/ ได้เรียนรู้ทักษะการผลิตมะม่วง ตั้งแต่กระบวนการผลิตและการแปรรูป สามารถทำงานร่วมกับเกษตรกรในชุมชน และสามารถพาเกษตรกรในชุมชนปรับกระบวนการเพื่อเพิ่มผลผลิต และการแปรรูปได้
2. นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จำนวน 6 คน เทียบได้ 3 หน่วยกิต คือ รายวิชา 03-021-208 หลักและวิธีส่งเสริมการเกษตร
3. นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร จำนวน 1 คน เทียบได้ 3 หน่วยกิต คือ รายวิชาปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
4. นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร จำนวน 1 คน เทียบได้ 6 หน่วยกิตคือรายวิชา03-051-202ทักษะวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2จำนวน 3หน่วยกิตและ รายวิชา 03-052-202การแปรรูปอาหาร 1จำนวน 3หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1.ผลกระทบทางเศรษฐกิจ : การเพิ่มขึ้นเชิงรายได้ผู้เข้าอบรมสามารถนำทักษะจากการฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับชุมชนโดยคาดว่าเมื่อสิ้นสุดโครงการ กลุ่มเป้าหมาย มีผลิตภัณฑ์ใหม่จำหน่ายในกลุ่มชุมชนอย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
2.ผลกระทบเชิงสังคม : ผู้เข้าอบรมมีความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีแปรรูป และเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคนในชุมชนโดยหาและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชนเพื่อประกอบอาชีพและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนนอกจากนี้ยังรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์การทำงานเป็นทีมเป็นการฝึกพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคมช่วยให้เกิดความสามัคคี เกิดมิตรภาพที่ดีระหว่างชุมชนและกลุ่มต่างๆ มีระเบียบวินัย เคารพกฎ และกติกา ทำให้รู้จักเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน และยังคงวัฒนธรรม การใช้ชีวิตและการทำงานเช่นเดิม
1. นักศึกษามีความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตแปรรูป และเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคนในชุมชน และนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเป็นประโยชน์กับชุมชนในการประกอบอาชีพและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
2.นักศึกษารู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์การทำงานเป็นทีมเป็นการฝึกพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคมช่วยให้เกิดความสามัคคี เกิดมิตรภาพที่ดีระหว่างนักศึกษากับชุมชนมีระเบียบวินัย เคารพกฎ และกติกา ทำให้รู้จักเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน และยังคงวัฒนธรรม การใช้ชีวิตและการทำงานเช่นเดิม
นำเข้าสู่ระบบโดย nooduan nooduan เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 13:01 น.