โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่เศรษฐกิจมูลค่าสูง ชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่เศรษฐกิจมูลค่าสูง ชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่เศรษฐกิจมูลค่าสูง ชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งศรีทองชุมชนบ้านทุ่งศรีทองดร.ฐาณิญา อิสสระมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านเลขที่ 59 หมู่ 12 ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่านE-mail : dhaniya_fay@hotmail.com : เบอร์โทรศัพท์ 081-7835881อาจารย์ ดร.ฐาณิญา อิสสระ
อาจารย์ ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธวัชชัย ซ้อนยนต์
อาจารย์จิตรา ปั้นรูป
อาจารย์วรรณิดา ชินบุตร
นางสาวชนัญญา ปัญญายศ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด)
นางสาวจารุวรรณ วิสัยเพียร นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด)
นางสาวศุภรัศมิ์ พรมไชยวงค์ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด)
นางสาวธีรพร พิบูลธัญโชติ นักศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สาขาเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาวปวิตรา ธรรมศิริวรกุล นักศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สาขาเทคโนโลยีการอาหาร
นางสาวทัตพิชา โก้ชัยภูมิ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด)
นางสาวสุทิพา กาศสกุล นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การตลาด)
นายปริญญา สมยะ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การจัดการ)
นายเศรษฐฤกษ์ ต๊ะดี นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การจัดการ)
นางสาวสตรีรัตน์ มาละวัน นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ(การจัดการ)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
น่าน ภูเพียง

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านบ้านศรีนาชื่น ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งศรีทองอำเภอเวียงสาจังหวัดน่าน
ปัจจุบันมี จำนวน 193 ครัวเรือน ประชากร 538 คน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอเวียงสา ประมาณ 8 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่เนินสูงสลับพื้นที่ราบ มีล้ำห้วยไหลผ่านในช่วงฤดูฝนเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 22.256 ตารางกิโลเมตร มีอาชีพหลัก ทำสวน/ทำไร่ อาชีพเสริมรับจ้างทั่วไปและเพาะเห็ด ซึ่งการเพาะเห็ดก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ได้รับการอบรมจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดน่าน เพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว จากเดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำไร่ข้าวโพดเป็นอาชีพหลัก ชุมชนบ้านศรีนาชื่นได้ผลิตก้อนเห็ด หัวเชื้อเห็ด และดอกเห็ด จำนวน 6 ชนิด คือ เห็ดฮังการี เห็ดภูฏาน เห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดหูหนู และเห็ดลม
สืบเนื่องจาก ปีงบประมาณ 2560 ได้รับงบประมาณจากคลินิกเทคโนโลยี “โครงการถ่ายทอด
เทคโนโลยีการผลิตเห็ด และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ด เพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาด” กลุ่มเพาะเห็ดบ้านศรีนาชื่น ตำบลทุ่งศรีทอง จังหวัดน่าน ทางกลุ่มได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการเพาะเห็ด และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ดหยองสมุนไพร ซึ่งทำกลุ่มได้ทำผลิตภัณฑ์นี้อย่างต่อเนื่อง ทำให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น แต่ทางกลุ่มก็ยังสามารถผลิตเห็ดสดได้เป็นจำนวนมาก จึงสนใจที่จะแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค
กลุ่มเพาะเห็ดชุมชนบ้านศรีนาชื่นผลิตเห็ดสดได้จำนวน 50 กิโลกรัมต่อวัน ซึ่งเห็ดสดจะมีอายุ
ประมาณ 1 สัปดาห์ ในแต่ละวันที่ผลิตได้ จะมีปริมาณเห็ดสดเน่าเสีย จำนวน 5 กิโลกรัม คิดเป็น 10% ของจำนวนเห็ดที่ผลิตได้ ดังนั้นจึงมีการแปรรูปเห็ดสด แต่เห็ดเป็นผลผลิตที่มีอายุค่อนข้างสั้น ต้องมีการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา รวมถึงการถนอม เพื่อให้สามารถใช้เห็ดได้ประโยชน์สูงสุด และในกรณีที่เห็ดมีปริมาณมากเกินกว่าตลาดจะรับได้ การเก็บรักษาและการถนอมไว้อย่างเดียวคงไม่พอ จึงต้องแปรรูปเห็ดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่เห็ดนั้นๆ เช่น ข้าวเกรียบเห็ด ลูกชิ้นเห็ด โดยชุมชนจำเป็นต้องมีความรู้ในการคัดเลือกวัตถุดิบ กรรมวิธีการแปรรูป การบรรจุผลิตภัณฑ์ มาตรฐานการพัฒนาผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูปเพื่อการจำหน่าย การสร้างตลาดและการหาตลาดใหม่ เพื่อต่อยอดอาชีพการเพาะเห็ดของเกษตรกรชุมชนบ้านศรีนาชื่นและเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
การเพาะเห็ดก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ได้รับการอบรมจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดน่าน เพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว จากเดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำไร่ข้าวโพดเป็นอาชีพหลัก ชุมชนบ้านศรีนาชื่นได้ผลิตก้อนเห็ด หัวเชื้อเห็ด และดอกเห็ด จำนวน 6 ชนิด คือ เห็ดฮังการี เห็ดภูฏาน เห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดหูหนู และเห็ดลม1. เห็ดสดที่ผลิตได้มีอายุสั้น อีกทั้งมีการเน่าเสียคิดเป็น 10% ของจำนวนเห็ดที่ผลิตได้
2.ด้านการแปรรูป การถนอมอายุเห็ด
3.ด้านการตลาด ตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แปรรูป
4.ด้านคุณภาพชีวิต
การสร้างตลาดและการหาตลาดใหม่ เพื่อต่อยอดอาชีพการเพาะเห็ดของเกษตรกรชุมชนบ้านศรีนาชื่นและเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ด้านบริหารธุรกิจ
รายละเอียดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมจากความหลากหลายสาขาวิชา ที่สามารถนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
การตลาด การจัดการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อยกระดับด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของชุมชนเพาะเห็ดบ้านศรีนาชื่น จังหวัดน่าน

พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปชุมชน จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่

0.00
2 2 เพื่อพัฒนาตราสินค้าและการส่งเสริมการตลาดของกลุ่มเพาะเห็ดบ้านศรีนาชื่น จังหวัดน่าน
  • ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
    • ฉลากสินค้า จำนวน 2 ชิ้นงาน
    • บรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลงาน
    • สื่อประชาสัมพันธ์ 1 ชุด
0.00
3 3.เพื่อบูรณาการโครงการเข้ากับการเรียนการสอนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ระหว่าง คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ภาคประชาชน และภาคีต่างๆ
  • นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน จากหลากหลายสาขา
  • มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม 1 การพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม 1 การพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    กิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น โดยให้นักศึกษาเข้าไปพักอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดระยะเวลา 4 เดือน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง โดยนำองค์ความรู้ในแต่ละสาขา มาบูรณาการร่วมกับทักษะ เพื่อทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร(เห็ด) ที่มีอยู่ในชุมชน แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    - เชิงปริมาณ
    1. ได้ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
    2. ได้ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลงาน
    3. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูป 2 ชนิด คือ ข้าวเกรียบเห็ด และลูกชิ้นเห็ด
    4. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
    5. ได้สื่อประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 1 ชุด
    6. ได้บูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ อย่างน้อย 3 รายวิชา
    7. นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน จากหลากหลายสาขา
    - เชิงคุณภาพ
    ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้รับบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75
    - เชิงเวลา
    ร้อยละของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 75
    ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 12 เดือน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนนักศึกษา

    10 คน 150 120 180,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 30 คน 4 250 30,000
    ค่าอาหาร 30 คน 130 4 15,600
    ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 240 30 28,800
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุการเกษตร ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เกร็ดขนมปัง แป้งข้าวโพด หัวไชเท้า พริกไทย สาหร่าย ซีอิ้วขาว แป้งมัน รากผักชี กระเทียม น้ำตาทราย ฯลฯ

    1 ชุด 32,900 1 32,900
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    - วัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ กระทะ กะละมัง ตราชั่ง ตะหลิว กระชอน ฯลฯ

    1 ชุด 10,000 1 10,000
    ค่าที่พักตามจริง

    - ค่าที่พักเหมาจ่าย (10 คน* 2,000 บาท* 4 เดือน)

    10 คน 2,000 4 80,000
    รวมค่าใช้จ่าย 377,300

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม 2 การออกแบบตราสินค้

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรม 2 การออกแบบตราสินค้
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      กิจกรรมการออกแบบตราสินค้า โดยให้นักศึกษาเข้าไปพักอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดระยะเวลา 4 เดือน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง โดยนำองค์ความรู้ในแต่ละสาขา มาบูรณาการร่วมกับอัตลักษณ์ของชุมชน เพื่อร่วมกันออกแบบตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ชุมชน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มกราคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - เชิงปริมาณ
      1. ได้ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
      2. ได้ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลงาน
      3. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูป 2 ชนิด คือ ข้าวเกรียบเห็ด และลูกชิ้นเห็ด
      4. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
      5. ได้สื่อประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 1 ชุด
      6. ได้บูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ อย่างน้อย 3 รายวิชา
      7. นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน จากหลากหลายสาขา
      - เชิงคุณภาพ
      ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้รับบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75
      - เชิงเวลา
      ร้อยละของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 75
      ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 12 เดือน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าอาหาร 30 คน 130 2 7,800
      อื่น ๆ

      - ค่าจ้างเหมาออกแบบตราสินค้า

      1 ครั้ง 20,000 1 20,000
      รวมค่าใช้จ่าย 27,800

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม 3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรม 3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        กิจกรรมการออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยให้นักศึกษาเข้าไปพักอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดระยะเวลา 4 เดือน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง โดยนำองค์ความรู้ในแต่ละสาขา มาบูรณาการร่วมกับอัตลักษณ์ของชุมชน เพื่อร่วมกันออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มกราคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        - เชิงปริมาณ
        1. ได้ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
        2. ได้ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลงาน
        3. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูป 2 ชนิด คือ ข้าวเกรียบเห็ด และลูกชิ้นเห็ด
        4. จำนวนคนในชุมชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 คน
        5. ได้สื่อประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 1 ชุด
        6. ได้บูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ อย่างน้อย 3 รายวิชา
        7. นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน จากหลากหลายสาขา
        - เชิงคุณภาพ
        ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้รับบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75
        - เชิงเวลา
        ร้อยละของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 75
        ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 12 เดือน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าอาหาร 30 คน 130 4 15,600
        อื่น ๆ

        - ค่าจ้างผลิตบรรจุภัณฑ์ - ค่าจ้างผลิตตราสินค้า

        1 ชุด 40,000 1 40,000
        รวมค่าใช้จ่าย 55,600

        กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม 4 การส่งเสริมการตลาด

        ชื่อกิจกรรม
        กิจกรรม 4 การส่งเสริมการตลาด
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          กิจกรรมการส่งเสริมการตลาด โดยให้นักศึกษาเข้าไปพักอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดระยะเวลา 4 เดือน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านทุ่งศรีทอง โดยนำองค์ความรู้ในแต่ละสาขา มาบูรณาการร่วมกับอัตลักษณ์ของชุมชน เพื่อร่วมกันออกแบบการส่งเสริมการตลาด เช่น การออกแบบแผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ การออกตลาด รวมถึงกิจกรรมทางการตลาดอื่นๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งจะก่อให้เกิดรายได้เข้ามาในชุมชน
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าอาหาร 30 คน 130 2 7,800
          ค่าถ่ายเอกสาร 5 ชุด 100 1 500
          ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าวัสดุกิจกรรมทางการตลาด (แผ่นพับ อุปกรณ์ออกกิจกรรมทางการตลาด)

          1 คน 30,000 1 30,000
          รวมค่าใช้จ่าย 39,300

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 208,800.00 1,000.00 157,300.00 72,900.00 60,000.00 500,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 41.76% 0.20% 31.46% 14.58% 12.00% 100.00%

          11. งบประมาณ

          500,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ของชุมชนเพาะเห็ดบ้านศรีนาชื่น จังหวัดน่าน 1. ผลงานการออกแบบตราสินค้า จำนวน 1 ตรา
          2. ผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 2 ผลงาน
          3. ผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
          ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนที่ได้รับการบริการวิชาการได้รับความรู้ด้านการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และพัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่มทางการตลาด นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยที่นักศึกษาได้มีการร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากชั้นเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
          และนักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการการปฏิบัติงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
          ผลกระทบ (Impact) เกิดการสร้างงานสร้างอาชีพใหม่ทดแทนการปลูกพืชเชิงเดียวในจังหวัดน่าน เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านอาชีพ สนับสนุนการพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
          นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 11:48 น.