โครงงานอาสาประชารัฐ “ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น (ธุง กาฬสินธุ์)

แบบเสนอโครงการ
โครงงานอาสาประชารัฐ “ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น (ธุง กาฬสินธุ์)

1. ชื่อโครงการ

โครงงานอาสาประชารัฐ “ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น (ธุง กาฬสินธุ์)มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ, คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา, คณะบริหารศาสตร์,องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์นางสาวอาริยา ป้องศิริ/ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 13 หมู่ 14 ต.สงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ 462300872224418รายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
1. อาจารย์ ดร.พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม/ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิรินดา กมลเขต /สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3. อาจารย์พิลาศลักษณ์ ภูลวรรณ/ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์มนชยา สภานุชาต /สาขาวิชาบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายหยุด ภูปุย /สาขาวิชาสหวิทยาการ คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัยณรงค์ ทรงคาศรี /สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7. อาจารย์นิลวรรณ สายสมบัติ /สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8. อาจารย์อารยา ลาน้ำเที่ยง /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายชื่อนักศึกษา
1. น.ส.ชลดา ติยะโคตร /สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1490700054281
2. นางสาวพรอำไพ สุวรรณเพชร /สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1350100509016
3. นางสาวกัญญารัตน์ ภารแก้ว /สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช.1469900417717
4. นางสาวภาวิดา ป้อมสุวรรณ /สาขาวิชาบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ /บัตร ปชช. 1361200264130
5. นายณัฐดนัย ทองเมฆ /สาขาวิชาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1501901109007
6. นางสาวมนัสชนกบุ่งเสนห์/สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1480800155011
7. นายวสันต์ เวียงนนท์ /สาขาชวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1101500892472
8. นายเขตแดนเวียงสิมมา /สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1361200236284
9. นางสาวสุพรรษาสีสอาด /สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1460500260031
10.นางสาวเพ็ญพิชชา ศรีสมบูรณ์/สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์/บัตร ปชช. 1459900798346

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กุฉินารายณ์ นาโก ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

องค์การบริหารส่วนตำบลนาโก เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดกลาง โดยกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศแยกตำบลนาโกออกจากตำบลบัวขาว อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อปี พ.ศ. 2521 จัดตั้งเป็นสภาตำบลนาโก โดยมีสมาชิกสภาตำบลมาจากการเลือกตั้งหมู่บ้านละ 1 คน และมีผู้ใหญ่บ้าน, กำนัน และแพทย์ประจำตำบลเป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง และกำนันเป็นประธานสภาและบริหารจัดการกิจกรรมต่างๆต่อมาในปี พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาสยกฐานะจากสภาตำบลนาโกเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 69 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 โดยให้มีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลนาโกมาจากการเลือกตั้งหมู่บ้านละ 2 คน แต่ยังคงให้กำนัน-ผู้ใหญ่บ้านและแพทย์ประจำตำบลเป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลโดยตำแหน่ง และต่อเมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2544 ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล จึงประกาศให้กำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน และแพทย์ประจำตำบลพ้นจากการเป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล และให้ผู้บริหารและสมาชิกสภาตำบลมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในตำบลจนถึงปัจจุบันสภาพภูมิศาสตร์ และสภาวะแวดล้อม
องค์การบริหารส่วนตำบลนาโก มีเนื้อที่ทั้งหมดโดยประมาณ 54 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 33,750 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร 22,459 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงนาดอน ส่วนพื้นที่ราษฎรอาศัยเป็นที่ราบดินร่วนปนทรายและมีความชื้นเหมาะสมสำหรับการเกษตร ได้แก่ ปลูกข้าว ปลูกมันสำปะหลัง และยางพาราเป็นพื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 22,459 ไร่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลตั้งอยู่เลขที่ 172 หมู่ 1 ตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอกุฉินารายณ์ ประมาณ 7 กิโลเมตร และอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 84 กิโลเมตร ซึ่งสามารถใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2291 สายกุฉินารายณ์ - เขาวง
องค์การบริหารส่วนตำบลนาโก มีอาณาเขตติดต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นดังนี้
ทิศเหนือติดต่อกับ เทศบาลตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์
ทิศใต้ติดต่อกับ เทศบาลเมืองกุฉินารายณ์ อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองห้าง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันตกติดต่อกับ เทศบาลตำบลเหล่าใหญ่ อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
การศึกษา มีสถาบันการศึกษาในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังนี้
1. โรงเรียนระดับประถมศึกษา 3 แห่ง ได้แก่
1) โรงเรียนนาโกวิทยาสูง
2) โรงเรียนนาโกพิศาลราษฎร์อุปถัมภ์
3) โรงเรียนโคกหวายราษฎร์สามัคคี
2. โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา/เทียบเท่า 2 แห่ง ได้แก่
1) โรงเรียนนาดกวิทยาสูง ซึ่งเปิดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
2) โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญ วัดสิมนาโก
3. ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1 แห่ง
4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก จำนวน 4 แห่ง ได้แก่
1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลนาโก
2) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดสิมนาโก
3) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดอัมพวันบ้านชาด
4) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดโพธิ์ชัยบ้านหวาย
รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน และรายได้เฉลี่ยบุคคล แบ่งตามประเภทอาชีพของครัวเรือน รายได้เฉลี่ยบุคคล 38,532.45/คน/ปี
ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1) โครงสร้างองค์กรและการบริหารงานพนักงาน อปท.
1.1)นายก อบต. ชื่อ นายสุภาพ ไชยสุข
(1) อายุ 67 ปี
(2) วุฒิการศึกษาและสาขาที่จบ ปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์
(3) ดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน
(4) งานพัฒนาในพื้นที่ที่สำคัญ ได้แก่ การพัฒนากิจกรรมผู้สูงอายุของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลนาโก ให้เป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุระดับปะเทศ
(5) งานพัฒนาในพื้นที่ที่ควรทำต่อคือเรื่องใดบ้าง ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนในเขตบริการ และการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
(6) ความคิดเห็นต่อการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาองค์กรและชุมชน (ระบุ) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและบุคลากรมีความเข้าใจและดำรงตนบนวิถีชีวิตแห่งความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2) นโยบายองค์กรกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ให้การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆบนฐานของความพอประมาณเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) งบรายได้/รายจ่ายของ อปท.
2.1) รายได้/รายจ่ายของ อปท. 3 ปี ย้อนหลัง
• พ.ศ. 2559รายรับ จำนวน 37,237,245.40 บาท
รายจ่าย จำนวน 36,543.098.52 บาท
• พ.ศ. 2560รายรับ จำนวน 35,890,520.50 บาท
รายจ่าย จำนวน 34,796,033.82 บาท
• พ.ศ. 2561รายรับ จำนวน 35,935,943.95 บาท
รายจ่าย จำนวน 33,845,409.85 บาท
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่กลายเป็นสังคมสูงอายุมีเพิ่มขึ้น 2 ประเทศ คือ ไทย และเวียดนาม (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2560 ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องเตรียมรับมือกับสถานการณ์ประชากรสูงวัย เพราะประชากรที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุสูงขึ้นย่อมหมายถึงภาระของรัฐชุมชนและครอบครัวในการดูแลสุขภาพค่าใช้จ่ายในการยังชีพและการดูแลเกี่ยวกับการอยู่อาศัยที่เหมาะสมที่จะต้องสูงขึ้นตามไปด้วยโดยจะเห็นได้ว่าสถานการณ์ทางประชากรของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากส่งผลให้รูปแบบการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุและคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม การศึกษาหาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เหมาะสมต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุและสังคมในปัจจุบันและอนาคตจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ภาครัฐและภาคประชาสังคมควรตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวโดยอาศัยการมองภาพรวมและความเชื่อมโยงในมิติต่างๆของการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุทั้งในมิติของสังคมสุขภาพ เศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีศักดิ์ศรี (สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ,คู่มือชมรมผู้สูงอายุ, 2560)
ในปี พ.ศ. 2545 องค์การอนามัยโลกได้นำเสนอแนวคิดผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (Active Ageing) ให้เป็นแนวคิดหนึ่งในการพัฒนาผู้สูงอายุเพื่อหาทางแก้ไขปัญหาประชากรสูงอายุที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตโดย WHO ได้ระบุว่าแนวคิดผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (Active Ageing) เป็นกระบวนการที่นำไปสู่สุขภาวะที่ดี (Health) การมีส่วนร่วม (Participation) และหลักประกันที่มั่นคง (Security) เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเมื่อสูงวัยและให้ประชาชนตระหนักถึงสุขภาวะด้านร่างกายสังคมจิตใจตลอดจนวิถีชีวิตและการมีส่วนร่วมทางสังคมในขณะเดียวกันควรมีหลักประกันหรือความมั่นคงและการดูแลประชาชนเมื่อประชาชนต้องการด้วย (World Health Organization,2002) ทั้งนี้แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2564) ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์,2560)กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ 20 ปีพ.ศ. 2561 – 2580 ขึ้นโดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาทักษะและการศึกษาตามอัธยาศัยของผู้สูงอายุ กิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ทักษะชีวิตที่จำเป็นโดยวิทยากรจิตอาสาหรือผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพโดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่นเพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน (คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ,2553)
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยและได้มีส่วนร่วมกับชุมชน เพื่อพัฒนาทักษะต่างๆ ที่สำคัญอย่างรอบด้าน เช่น การดูแลสุขภาพ การสร้างอาชีพ การวางแผนการเงิน ความรู้ด้านกฎหมาย รวมถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ จากการสำรวจพบว่าในปี 2560 มีจำนวนโรงเรียนผู้สูงอายุ ที่เกิดจากการขับเคลื่อนของกรมกิจการผู้สูงอายุทั้งสิ้น 1,163 แห่ง และมีจำนวนนักเรียนสูงอายุมากกว่า 64,000 คน การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้นอกจากจะได้ความรู้ในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้มีสังคม มีกลุ่มเพื่อน มีกิจกรรมที่สนุกสนาน ที่จะช่วยให้การใช้ชีวิตของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น (กรมกิจการผู้สูงอายุ,2559) นอกจากนี้กรมกิจการผู้สูงอายุยังมีการกำหนดโรงเรียนผู้สูงอายุ ให้เป็นโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน จำนวน 43 แห่ง (กรมกิจการผู้สูงอายุ,2560)
ด้วยปัจจุบันโครงสร้างประชากรของตำบลนาโกวัยผู้สูงอายุเริ่มมีผู้อายุยืนยาวมากขึ้นและมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปีถือเป็นการก้าวหน้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่รวดเร็ว คิดเป็นร้อยละ 29.54 ของประชากรทั้งหมดผลกระทบที่เกิดจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรดังกล่าวข้างต้น ที่เริ่มปรากฏขึ้นในชุมชน จำนวนผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เพิ่มมากขึ้น มีปัญหาสุขภาพจิต มีภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุจากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง องค์การบริหารส่วนตำบลนาโก อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นส่วนปกครองท้องถิ่นที่มีความเข้มแข็งและจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นแห่งแรกในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ใช้ชื่อ “โรงเรียนร่มโพธิ์ร่มไทร(ผู้สูงอายุ)”โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างพื้นที่การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการกำหนดยุทธศาสตร์ และร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อเป็นจุดศูนย์รวมการพบปะของผู้สูงอายุ สร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง และผู้สูงอายุด้วยกัน เพื่อให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธี และถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้ เพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และเพื่อให้ผู้สูงอายุที่ ADLเพิ่มขึ้น ได้มาร่วมกิจกรรมในโรงเรียนผู้สูงอายุ ภายใต้แนวทางการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วม มีนักเรียนผู้สูงอายุทั้งหมด 200 คน โดยมี ขั้นตอนการดำเนินการ ในการจัดประชุมภาคีเครือข่าย มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การมีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์และการสนับสนุนด้านในการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน เป็นจุดศูนย์รวมการพบปะการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ วิถีชีวิตวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นของผู้สูงอายุ สร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถพัฒนาทักษะความรู้ ด้านสังคม วัฒนธรรมประเพณีผู้ไทยและความรู้ด้านต่าง ๆ แก่ผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้ทุนทางสังคมที่เข้มแข็งของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในตำบลนาโกและได้จัดตั้งโรงเรียนร่มโพธิ์ร่มไทร(ผู้สูงอายุ)ตำบลนาโกจัดกระบวนการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการมีส่วนร่วมของ 4 องค์กรในชุมชน คือ อบต.ฝ่ายปกครองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโกและโรงเรียนในพื้นที่ นักเรียนผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง และผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า ผู้สูงอายุที่มี ADLเพิ่มขึ้น และผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าเข้าร่วมกิจกรรมในโรงเรียนผู้สูงอายุ ด้วยการดำเนินการดังกล่าวอย่างต่อเนื่องทำให้“โรงเรียนร่มโพธิ์ร่มไทร(ผู้สูงอายุ)” กลายเป็นโรงเรียนที่มีความเข้มแข็ง
ธุงใยแมงมุง เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของชาวกาฬสินธุ์ที่ได้ดัดแปรงมาจากธุงอีสาน ชาวบ้านจะทำธุงใยแมงมุมเป็นเครื่องแขวนศักดิ์สิทธิ์ในงานทำบุญหรือประเพณีต่างๆ ธุง เป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อที่ว่าเพื่อป้องกันสิ่งที่ไม่ดีไม่ให้เข้ามาในบ้าน โดยมีชื่อเรียกติดปากว่า “ธุงกาฬสินธุ์” ชาวบ้านจะร่วมกันทำธุงมาถวายองค์พระธาตุยาคูเป็นประจำปีละ 2 ครั้ง คือวันมาฆบูชาทั้งคนที่อยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดใกล้เคียงให้ความสนใจมากมาย ทำให้ความนิยมในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นที่ต้องการในตลาดอย่างมาก การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนภายใต้โคงการอาสาประชารัฐ เพื่อสร้างโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบที่สามารถ เป็นตัวอย่างในการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงเป็น โครงการสำคัญที่จะนำมาสู่การผลักดันเพื่อเป็นต้นแบในการขยายผลและเป็นแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ยั่งยืน และขับเคลื่อนได้อย่างแท้จริง จากเหตุผลดังกล่าวผู้บริหารโคงการจึงตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของพัฒนาต้นแบบในการรองรับภารกิจหลักเกี่ยวกับการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมุ่งแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิต ภายใต้โครงงานอาสาประชารัฐ “ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น (ธุง กาฬสินธุ์) ต่อไป

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

โดยมีองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือ "การบูรณาการ" ความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ ร่วมกับมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โดยมีปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญคือ แกนนำในพื้นที่ ซึ่งเป็นผู้ประสานเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2

1.หลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 1 หลักสูตร

1.00
2 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น

1.จำนวนแผนพัฒนาผู้สูงอายุ และชุมชน ค่าเป้าหมาย 1 แผนพัฒนา 2.ชุมชนมีการประดิษฐ์ “ธุง” รูปแบบใหม่ จำนวน 1 ลวดลาย/รูปแบบ

1.00
3 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.จำนวนช่องทางการตลาดออนไลน์ จำนวน 1 ช่องทาง

1.00
4 เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.จำนวนคู่มือสุขภาพชุมชน จำนวน 1 คู่มือ 2.ร้อยละคนชุมชนมีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย จากจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงงาน ร้อยละ 50

50.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้สูงอายุใน ต.นาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การจัดทำแผนพัฒนาผู้สูงอายุของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำแผนพัฒนาผู้สูงอายุของชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1. การจัดทำแผนพัฒนาผู้สูงอายุและชุมชน ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- สำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรค และความต้องการ
- ระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้สูงอายุและคนในชุมชน
- การวิเคราะห์ SWOT ของชุมชน
- ทำยกร่างแผนฯ
- การประชาพิจารณ์แผนฯ
- การถ่ายทอดแผนฯสู่ชุมชน
- การนำเสนอแผนฯฉบับสมบูรณ์ต่อผู้นำชุมชน
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. จำนวนแผนการดำเนินโครงการ 1 แผน
2. จำนวนแผนพัฒนาผู้สูงอายุ และชุมชน จำนวน 1 แผนพัฒนา
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 16 28,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

3 คน 240 20 14,400
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 7 35,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 14 14,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

เอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชุด 5 3 750
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

10 ชุด 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษ A4

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษชาร์ท

20 ชิ้น 20 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกา

2 ชุด 170 1 340
รวมค่าใช้จ่าย 105,290

กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์” ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การสำรวจรูปแบบ “ธุง” ทีมีในชุมชนและพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
- การประดิษฐ์ลวดลาย “ธุง” สมัยใหม่
- การจัดการความรู้เกี่ยวกับ “ธุง” ร่วมกับผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการดำเนินงานแก่โรงเรียนผู้สูงอายุในชุมชน
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนมีการประดิษฐ์ “ธุง” รูปแบบใหม่ 1 ลวดลาย/รูปแบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,000 2 12,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

2 คน 240 20 9,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 8 8,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชุด 5 3 750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าไหมพรม

300 ชิ้น 80 1 24,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าดอกไม้พาสติก

100 ชิ้น 100 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ไข่มุกพลาสติก

100 ชิ้น 100 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าไม้ไผ่/ตะเกียบ ทำฐานธุง

200 ชิ้น 10 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 102,350

กิจกรรมที่ 3 โรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและจัดทำคู่มือสุขภาพชุมชนสำหรับงานประดิษฐ์ “ธุง กาฬสินธุ์”

ชื่อกิจกรรม
โรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและจัดทำคู่มือสุขภาพชุมชนสำหรับงานประดิษฐ์ “ธุง กาฬสินธุ์”
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3. โรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและจัดทำคู่มือสุขภาพชุมชนสำหรับงานประดิษฐ์ “ธุง กาฬสินธุ์”
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การสำรวจสุขภาพผู้สูงอายุโดยรวมในชุมชน
- การสำรวจสุขภาพผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงงาน (ก่อนดำเนินโครงการ)
- การประเมินสุขภาพผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงงาน (หลังดำเนินโครงการ)
- การจัดทำคู่มือสุขภาพชุมชนสำหรับงานประดิษฐ์ “ธุง กาฬสินธุ์”
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ด้านสุขภาพที่ได้จากการดำเนินงานแก่ผู้สูงอายุ
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 12 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนคู่มือสุขภาพชุมชน จำนวน 1 คู่มือ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,000 2 12,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

1 คน 240 20 4,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 8 8,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชุด 5 3 750
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างพิมพ์คู่มือและจัดรูปเล่ม

1 ชิ้น 3,995 1 3,995
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษA4

5 คน 120 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเครื่องปริ้น

2 ชิ้น 2,500 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเล่มคู่มือฉบับสมบูรณ์

10 ชิ้น 500 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 66,145

กิจกรรมที่ 4 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4. การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การรวมรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นจากทุกกิจกรรมในโครงงาน
- การจัดลำดับเนื้อหาข้อมูล วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
- จัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์”
- การนำหลักสูตรไปใช้โดยการทดลองสอนกับโรงเรียนผู้สูงอายุในชุมชน
- การประเมินหลักสูตรฯ
- การตีพิมพ์เผยแพร่หลักสูตรฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
หลักสูตรการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 1 หลักสูตร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,000 2 12,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

1 คน 240 20 4,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 8 8,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชุด 5 3 750
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเล่มหลักสูตรฉบับสมบูรณ์

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จ้างพิมพ์เล่มหลักสูตรและจัดรูปเล่ม

1 ชิ้น 3,995 1 3,995
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษA4

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเครื่องปริ้น

2 ชิ้น 2,500 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 66,145

กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5. ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การสำรวจตลาดในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์และใกล้เคียง
- การจำแนกประเภทธุรกิจที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทางการตลาด เช่น ร้านสังฆภัณฑ์ ร้านอาหาร
- การวางแผนทางการตลาดร่วมกับชุมชน
- การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการขาย
- การสื่อสารการตลาดสากล รูปแบบภาษาจีนและภาษาอังกฤษ
- การส่งเสริมการตลาดออนไลน์
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนช่องทางการตลาดออนไลน์ จำนวน 1 ช่องทาง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 3,000 2 18,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

2 คน 240 20 9,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 8 8,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชิ้น 5 3 750
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จัดพิมพ์สื่อประชาสัมพันธ์โบร์ชัวร์

1,000 ชิ้น 10 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าโฆษณาขายสินค้าผ่านเพจ facebook

1 ชิ้น 500 30 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษA4

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเครื่องปริ้น

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 90,450

กิจกรรมที่ 6 การจัดทำบัญชีชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำบัญชีชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6. การจัดทำบัญชีชุมชน
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- สำรวจรายรับ-รายจ่ายของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- จำแนกประเภทรายรับ-รายจ่ายของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- สำรวจรายรับ-รายจ่ายของชุมชน
- จำแนกประเภทรายรับ-รายจ่ายของชุมชน
- การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย แก่ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยเบื้องต้น แก่ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย แก่ชุมชน
- การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยเบื้องต้น แก่ชุมชน
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 23 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ร้อยละคนชุมชนมีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย จากจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงงาน ร้อยละ 50
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,000 2 12,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

1 คน 240 20 4,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

40 คน 125 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

40 คน 25 8 8,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 คน 400 10 4,000
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม

50 ชุด 5 4 1,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

- กระดาษA4

5 ชิ้น 120 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเครื่องปริ้น

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 54,900

กิจกรรมที่ 7 การประเมินผลและสรุปโครงงาน

ชื่อกิจกรรม
การประเมินผลและสรุปโครงงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 2
  2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุและยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนให้ดีขึ้น
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. เพื่อเป็นต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุในการการยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างอาชีพจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
3. การตรวจสอบ (Check)
- ติดตามและตรวจเยี่ยมโครงการ โดยมหาวิทยาลัยร่วมกับ คณะกรรมการ สป.อว.
- จัดให้มีเวทีรายงานผลการดำเนินงานแก่นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งนักศึกษาที่รับผิดชอบต้องเข้ารายงานผลโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรับการประเมินผล
- จัดทำรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน

4.การปรับปรุง (Act)
- ประเมินผลโครงงาน
- สรุปผลโครงงานและเผยแพร่สู่สาธารณะ

โดยการดำเนินโครงงานอาสาประชารัฐ “ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น (ธุง กาฬสินธุ์) ในครั้งนี้ มีการบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ที่หลากหลาย ประกอบด้วย อาจารย์ในสาขาวิชาดังต่อไปนี้
1) สาขารัฐประศาสนศาสตร์รับผิดชอบกิจกรรมด้านการวางแผน
2) สาขานิเทศศาสตร์ รับผิดชอบกิจกรรมด้านการถ่ายทอดภูมิปัญญา
3) สาขาสาธารณสุขศาสตร์ รับผิดชอบกิจกรรมด้านสุขภาพชุมชน
4) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย รับผิดชอบกิจกรรมด้านหลักสูตร
5) สาขาวิชาภาษาต่างประเทศและสาขานิเทศศาสตร์ รับผิดชอบกิจกรรมด้านการตลาด
6) สาขาวิชาบัญชี รับผิดชอบกิจกรรมด้านจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) องค์การบริหารส่วนตำบลนาโกอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร

จัดทำเล่มรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฉบับสมบูรณ์

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (รายงานผลโครงการนักศึกษา)

20 ชิ้น 125 2 5,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (รายงานผลโครงงานของนักศึกษา)

20 คน 50 2 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

- กระดาษA4

6 ชิ้น 120 1 720
รวมค่าใช้จ่าย 14,720

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 95,520.00 24,000.00 252,740.00 64,740.00 63,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 19.10% 4.80% 50.55% 12.95% 12.60% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุ และชุมชน สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากการดำเนินโครงงานมาต่อยอดเพื่อสร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าให้กับสิ้นค้าภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนเกิดอาชีพในชุมชนส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 1. นักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน เกิดความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์จากการใช้ชีวิตจริงในชุมชน สามารถได้นำองค์ความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ตรงไปต่อยอดในการส่งเสริม/พัฒนาชุมชนบ้านเกิดของตนเองได้รวมถึงการนำไปต่อยอดเป็นผู้ประกอบการในห่วงโซ่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
1. รายวิชา 10201308 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
2. รายวิชา 10404237 วัฒนธรรมจีนและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (จำนวน 3 หน่วยกิต)
3. รายวิชา 10201203 การคลังสาธารณะและงบประมาณภาครัฐ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
4. รายวิชา 10201207 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
5. รายวิชา 05-011-204 การวิเคราะห์และการตัดสินใจในการบริหารการปฏิบัติงาน (จำนวน 3 หน่วยกิต)
6. รายวิชา ED-002-206 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร (จำนวน 3 หน่วยกิต)
7. รายวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
8. รายวิชา 01-076-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว (จำนวน 3 หน่วยกิต)
9. รายวิชา PH 011107 สุขภาพจิต(จำนวน 3 หน่วยกิต)
ผลลัพธ์ (Outcome) 1) ชุมชนบ้านนาโก ต.นาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการดำเนินโครงงานครั้งนี้ จะส่งผลให้ชุมชนเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีเงินสำหรับใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนการมีเงินสำหรับเก็บออมไว้ยามจำเป็น นอกจากนี้ผู้สูงอายุในชุมชน ยังมีความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพจากคู่มือสุขภาพชุมชน เกิดการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
2) เกิดหลักสูตรการเรียนการสอนทางด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์” เพื่อเป็นต้นแบบในการนำไปเผยแพร่และขยายผลในระดับต่างๆ
3) ลดปัญหาการลักทรัพย์ในชุมชน เนื่องจากชุมชนมีรายได้ที่เพียงพอต่อการอุปโภคและบริโภค
4) ชุมชนบ้านนาโก ต.นาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ มีแผนพัฒนาผู้สูงอายุและพัฒนาชุมชน
1. นักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน ได้นำองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
1. รายวิชา 10201308 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
2. รายวิชา 10404237 วัฒนธรรมจีนและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (จำนวน 3 หน่วยกิต)
3. รายวิชา 10201203 การคลังสาธารณะและงบประมาณภาครัฐ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
4. รายวิชา 10201207 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
5. รายวิชา 05-011-204 การวิเคราะห์และการตัดสินใจในการบริหารการปฏิบัติงาน (จำนวน 3 หน่วยกิต)
6. รายวิชา ED-002-206 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร (จำนวน 3 หน่วยกิต)
7. รายวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
8. รายวิชา 01-076-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว (จำนวน 3 หน่วยกิต)
9. รายวิชา PH 011107 สุขภาพจิต(จำนวน 3 หน่วยกิต)
ผลกระทบ (Impact) 1) เกิดการสร้างอาชีพแก่ผู้สูงอายุและคนในชุมชน
2) เกิดผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดที่แตกต่างแก่ผู้บริโภค
3) มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของชุมชนบ้านนาโก ต.นาโก อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ เพื่อวางแผนการใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. เกิดหลักสูตรการเรียนการสอนทางด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น “ธุง กาฬสินธุ์” เพื่อเป็นต้นแบบในการนำไปเผยแพร่และขยายผลในระดับต่างๆ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
1. รายวิชา 10201308 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
2. รายวิชา 10404237 วัฒนธรรมจีนและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (จำนวน 3 หน่วยกิต)
3. รายวิชา 10201203 การคลังสาธารณะและงบประมาณภาครัฐ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
4. รายวิชา 10201207 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
5. รายวิชา 05-011-204 การวิเคราะห์และการตัดสินใจในการบริหารการปฏิบัติงาน (จำนวน 3 หน่วยกิต)
6. รายวิชา ED-002-206 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร (จำนวน 3 หน่วยกิต)
7. รายวิชา CA-012-308 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (จำนวน 3 หน่วยกิต)
8. รายวิชา 01-076-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว (จำนวน 3 หน่วยกิต)
9. รายวิชา PH 011107 สุขภาพจิต(จำนวน 3 หน่วยกิต)
นำเข้าสู่ระบบโดย ariya.po ariya.po เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 11:11 น.