การพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การสร้างสื่อ และการจัดทำบัญชีต้นทุน ชุมชนทอผ้าบ้านสะอาดสมศรี

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การสร้างสื่อ และการจัดทำบัญชีต้นทุน ชุมชนทอผ้าบ้านสะอาดสมศรี

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การสร้างสื่อ และการจัดทำบัญชีต้นทุน ชุมชนทอผ้าบ้านสะอาดสมศรีมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, เทศบาลตำบลภูปอบ้านสะอาดสมศรี หมู่ 2 ตำบลภูปอ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายสุพจน์ ดีบุญมีสาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์หมายเลขโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 089-5747470ผศ.ดร.อำภาศรี พ่อค้า สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (อาจารย์ที่ปรึกษา)อาจารย์ผู้สอนรายวิชา การบริหารราคาและ การวิเคราะห์ผลกําไร
นางสาวณภัทรวรัญญ์ ศรีฮาตร สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (อาจารย์ที่ปรึกษา) อาจารย์ผู้สอนรายวิชา การประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด
นายธีนันท์ ขันตีสาขาวิชานิเทศศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา) อาจารย์ผู้สอนรายวิชา การผลิตรายการเบื้องต้น
นายมารุต พลรักษา สาขาวิชาการบัญชี (อาจารย์ที่ปรึกษา)อาจารย์ผู้สอนรายวิชา สัมมนาบัญชีการเงิน
นายภัคคิป ไกรโสดา อสบ.เครื่องกล (อาจารย์ที่ปรึกษา) อาจารย์ผู้สอนรายวิชา เครื่องยนต์ สันดาปภายใน
นายชินภัทร ธุรการสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (อาจารย์ที่ปรึกษา) อาจารย์ผู้สอนรายวิชา กลศาสตร์เครื่องจักรกล
น.ศ.เกศลิน ภูหลักด่าน 1460500256637 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ สัมมนาบัญชีการเงิน
น.ส.ปิ่นฤทัย วิทเวส 1461200164797 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ สัมมนาบัญชีการเงิน
นายธนากร จันทะมาตร 1461000174926 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการเครื่องยนต์ สันดาปภายใน
นาย อานนท์ ศรีปัดถา1450400166491 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ กลศาสตร์เครื่องจักรกล
น.ส.เกษมณี แวงวรรณ 1469900428948 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การตลาดดิจิตอล, การบริหารราคาและ การวิเคราะห์ผลกําไร และการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด
นายรณชัย โนนทิง1460900097064 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การตลาดดิจิตอล, การบริหารราคาและ การวิเคราะห์ผลกําไร และการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด
นายวีระชัย มูลอินทร์ 1469900425175 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การตลาดดิจิตอล, การบริหารราคาและ การวิเคราะห์ผลกําไร และการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด
นายธนาวินทร์ คูเพ่งชัว 1469900451125 หลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การผลิตรายการเบื้องต้น
นายปรัชญา พละดล 1249900289196 หลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การผลิตรายการเบื้องต้น
นายอภิสิทธิ์ ขันนาเลา1469900475334 หลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต (นักศึกษา) รายวิชาที่ใช้ในการเข้าร่วมโครงการ การผลิตรายการเบื้องต้น

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ภูปอ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านสะอาดสมศรี ตำบลภูปอ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
จำนวนประชากร ประชากรมีจำนวนทั้งสิ้น 837 คน เพศชาย 410 คน เพศหญิง 427 คน อายุเฉลี่ย 50 ปี
อาชีพ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป และทอผ้า
รายได้ โดยเฉลี่ย รายได้ต่อหัว 3,000 บาท ต่อเดือน
การศึกษา การศึกษาตามเกณฑ์การศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลกำหนด
ประชากรในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และเด็ก ส่วนวัยทำงาน เดินทางไปทำงานต่างถิ่น
กลุ่มทอผ้ามีจำนวน 30 คน และในชุมชนยังมีกลุ่มอาชีพอื่นๆ ในการเข้าร่วมพัฒนา ประกอบกับมีองค์ความรู้ และทักษะในการทอผ้าปัญหาในชุมชนคือ ประชากรในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และเด็ก ส่วนวัยทำงาน เดินทางไปทำงานต่างถิ่น โดยประชากรที่ยังอาศัยอยู่ในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัย และรายได้หลักมาจากเบี้ยยังชีพ และมีอาชีพทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และทอผ้า ประเด็นปัญหาที่พบในกลุ่มคือ การทอผ้าแบบดั้งเดิมใช้ระยะเวลาในการทอต่อเมตรค่อนข้างใช้เวลานาน และการทอผ้าในกลุ่มยังเป็นการทอเฉพาะผ้าพื้น ประกอบกับเมื่อทอเสร็จ ในการทำการตลาดยังใช้การขายแบบดั้งเดิม ยังขาดการสื่อสารทางการตลาด และการกำหนดราคา ในชุมชนยังขาดการคำนวนต้นทุนและผลกำไรความต้องการของกลุ่ม มีความต้องการในการพัฒนาฝีมือในการทอผ้าให้สามารถเพิ่มผลผลิตมากขึ้น และมีการแปรรูปในรูปแบบที่หลากหลาย พัฒนารูปแบบทางการตลาด พัฒนาการสื่อสารการตลาด และพัฒนาทักษะการคำนวนต้นทุน และการตั้งราคาเพื่อให้มีผลกำไร

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในการดำเนินงานโครงงาน
1. องค์ความรู้ในการพัฒนากระบวนการผลิต และพัฒนาอุปกรณ์การผลิต อุปกรณ์ทอผ้าเพื่อเพิ่มปริมาณ จากรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายใน และกลศาสตร์เครื่องจักรกล
2. องค์ความรู้ในการพัฒนาการรวมกลุ่ม ระหว่างผู้ผลิต และผู้จำหน่ายวัตถุดิบ จากรายวิชา การตลาดดิจิทัล การบริหารราคาและการวิเคราะห์ผลกำไร การผลิตรายการเบื้องต้น และสัมมนาการบัญชี
3. องค์ความรู้ในการดำเนินกิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ จากรายวิชา การตลาดดิจิทัล การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด และการผลิตรายการเบื้องต้น
4. องค์ความรู้ในคำนวนต้นทุน บริหารราคาและวิเคราะห์ผลกำไร จากรายวิชา สัมมนาการบัญชี และการบริหารราคาและวิเคราะห์ผลกำไร
จากรายวิชาดัง ต่อไปนี้
1) การตลาดดิจิทัล
2) การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด
3) การบริหารราคาและการวิเคราะห์กำไร
4) การผลิตรายการเบื้องต้น
5) เครื่องยนต์สันดาปภายใน
6) กลศาสตร์เครื่องจักรกล
7) สัมมนาทางการบัญชี

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาและพัฒนาศักยภาพการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตในชุมชน และผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
  1. มีกระบวนการผลิต และเครื่องมือที่ดำเนินกา่รผลิตได้เร็วขึ้น อย่างน้อย 1 เครื่องมือ/กระบวนการ
  2. มีเครือข่ายผู้ผลิตและจำหน่ายวัตถุดิบ อย่างน้อย 5 ราย
  3. นักศึกษาในรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายในและกลศาสตร์เครื่องจักรกล สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนากระบวนการ และเครื่องมือที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้
  4. นักศึกษาในรายวิชา การตลาดดิจิทัล การบริหารราคาและการวิเคราะห์ผลกำไร การผลิตรายการเบื้องต้น และสัมมนาทางการบัญชี สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการดำเนินกิจกรรมสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ผลิตในชุมชน กับผู้จำหน่ายวัตถุดิบในพื้นที่และต่างพื้นที่ได้
40.00 1.00
2 เพื่อพัฒนากระบวนการด้านการตลาด รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในงานการตลาด ให้เกิดขึ้นภายในชุมชน และการแปรรูปให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาด
  1. เกิดการพัฒนากิจกรรมทางการตลาด และการประชาสัมพันธุ์ อย่างน้อย 3 กิจกรรม เช่น กิจกรรมปฏิบัติการสร้างสื่อในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาด การดำเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ เป็นต้น
  2. นักศึกษาในรายวิชา การตลาดดิจิทัล การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด การผลิตรายการเบื้องต้น สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการดำเนินการพัฒนากิจกรรมทางการตลาดได้แล้วเสร็จ อย่างน้อย 3 กิจกรรม
30.00 1.00
3 เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบบัญชีในการบริหารงานในครัวเรือน ในกลุ่ม และเป็นการพัฒนาบัญชีต้นทุนในการผลิต ตลอดจนสามารถบริหารราคาและวิเคราะห์กำไร จากการดำเนินกิจกรรมได้
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถวิเคราะห์ต้นทุน และเกิดการตั้งราคาที่มีผลกำไรได้
  2. นักศึกษาในรายวิชาสัมมนาทางการบัญชี และการบริหารราคาและวิเคราะห์ผลกำไร สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการวิเคราะห์ต้นทุน และนำตั้งราคาเพื่อให้เกิดผลกำไรได้
20.00 1.00
4 เพื่อให้เกิดการดำเนินงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย และชุมชน รวมถึงนักศึกษาได้ใช้ทักษะความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมจริงเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน

เกิดการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่าง มหาวิทยาลัย ชุมชน และนักศึกษา ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

10.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ประเภทเส้นใยธรรมชาติ 5
กลุ่มสตรีทอผ้า บ้านสะอาดสมศรี ต.ภูปอ อ.เมือง 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพการผลิต และสร้างเครือข่ายผู้ผลิตวัตถุดิบ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพการผลิต และสร้างเครือข่ายผู้ผลิตวัตถุดิบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาและพัฒนาศักยภาพการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตในชุมชน และผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
  2. เพื่อให้เกิดการดำเนินงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย และชุมชน รวมถึงนักศึกษาได้ใช้ทักษะความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมจริงเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ศึกษากระบวนการการผลิตผ้าทอมือ เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้มีความรวดเร็วยิ่งขึ้น
2. พัฒนากระบวนการผลิต / เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตให้สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตต่อวันต่อคนได้มากยิ่งขึ้น
3. จัดกิจกรรมสร้างเครือข่ายผู้ผลิตและผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ตลอดจนผู้จำหน่าย
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เกิดองค์ความรู้ในการพัฒนากระบวนการผลิต เครื่องมือ ระหว่างนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ร่วมโครงการในชุมชน
2. มีการพัฒนากระบวนการผลิต และเครื่องมือ เครื่องมือที่ดำเนินกา่รผลิตได้เร็วขึ้น อย่างน้อย 1 เครื่องมือ/กระบวนการ ที่สามารถผลิตได้มากขึ้น ร้อยละ 50 ต่อคนต่อวัน
3. เกิดเครือข่ายเครือข่ายผู้ผลิตและผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ตลอดจนผู้จำหน่าย อย่างน้อย 5ราย
4. นักศึกษาในรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายในและกลศาสตร์เครื่องจักรกล สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนากระบวนการ และเครื่องมือที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้
5. นักศึกษาในรายวิชา การตลาดดิจิทัล การบริหารราคาและการวิเคราะห์ผลกำไร การผลิตรายการเบื้องต้น และสัมมนาการบัญชีการเงิน สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการดำเนินกิจกรรมสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ผลิตในชุมชน กับผู้จำหน่ายวัตถุดิบในพื้นที่และต่างพื้นที่ได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, เทศบาลตำบลภูปอ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

เบี้ยเลี้ยงนักศึกษา วันละ 120 บาท

10 คน 120 10 12,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน 120 บาท/วัน ค่าอาหารว่าง 30*2 มื้อ

30 คน 170 3 15,300
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารคู่มือในการลงพื้นที่

1 ชุด 1,520 3 4,560
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ ในการลงพื้นที่ 240 บาท/วัน

7 คน 240 10 16,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ด้ายฝ้ายสี ขนาด 40/2 จำนวน 200 กิโลกรัม * 380 บาทต่อกิโลกรัม รวม 76,000 บาท

200 ชุด 380 1 76,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ตะกอ จำนวน 5 ชุด * 2,500 บาทต่อชุด รวม 62,500 บาท

5 ชุด 2,500 5 62,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระสวย จำนวน 50 ตัว * 400 บาทต่อตัว รวม 20,000 บาท

50 ชิ้น 400 1 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ฟันหวีสำหรับผ้าฝ้าย จำนวน 10 อัน * 4500 บาทต่ออัน รวม 45,000 บาท

10 ชิ้น 4,500 1 45,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เหล็กร้อยตะกอ จำนวน 50 อัน * 300 บาทต่ออัน รวม 15,000 บาท

50 ชิ้น 300 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดโครงกี่กระตุก จำนวน 5 ชุด * 5000 บาทต่อชุด รวม 25,000 บาท

5 ชิ้น 5,000 1 25,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดแกนม้วนผ้า จำนวน 5 ชุด * 3500 บาทต่อชุด รวม 17,500 บาท

5 ชิ้น 3,500 1 17,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดหัวม้วนด้าย จำนวน 5 ชุด * 2000 บาทต่อชุด รวม 10,000 บาท

5 ชิ้น 2,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดไม้เหยียบ จำนวน 5 ชุด * 1500 บาทต่อชุด รวม 7,500 บาท

5 ชิ้น 1,500 1 7,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ถุงมือผ้า จำนวน 6 โหล * 280 บาทต่อโหล รวม 1,680 บาท

6 ชุด 280 1 1,680
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ผ้าปิดจมูก จำนวน 6 กล่อง * 80 บาทต่อกล่อง รวม 480 บาท

6 ชุด 80 1 480
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุดปืนกาว จำนวน 5 ชุด * 350 บาทต่อชุด รวม 1,750 บาท

5 ชุด 350 1 1,750
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

น๊อต เบอร์ 10 จำนวน 8 กิโลกรัม * 300 บาทต่อกิโลกรัม รวม 2,400 บาท

8 ชุด 300 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

น๊อต เบอร์ 12 จำนวน 8 กิโลกรัม * 300 บาทต่อกิโลกรัม รวม 2,400 บาท

8 ชุด 300 1 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษทราย จำนวน 5 โหล * 180 บาทต่อโหล รวม 900 บาท

5 ชิ้น 180 1 900
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ตลับเมตรแม่เหล็ก ขนาด 7.5 เมตร ราคา 420 บาท * 2 อัน 840 บาท

3 ชิ้น 420 1 1,260
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เชือกดึงเครื่อง ขนาด 6 ม.ม. 20 เมตร ราคา 200 บาท * 5 ม้วน 1,000 บาท

5 ชิ้น 200 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษฟลิบชาร์ต แผ่นละ 3 บาท *15 แผ่น 45 บาท

15 ชิ้น 3 1 45
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ เอสี่ 10 รีม * 110 บาท 1,100 บาท

10 ชิ้น 110 1 1,100
ค่าวัสดุสำนักงาน

ลวดเย็บกระดาษ เบอร์ 10 กล่องละ 6 บาท* 30 กล่อง 180 บาท

60 ชิ้น 6 1 360
ค่าวัสดุสำนักงาน

ลวดเย็บกระดาษ เบอร์ 3 กล่องละ 14 บาท* 10 กล่อง 140 บาท

10 ชิ้น 14 1 140
ค่าวัสดุสำนักงาน

คลิปหนีบกระดาษ เบอร์ 108 กล่องละ 39 บาท* 10 กล่อง 390 บาท

10 ชิ้น 39 1 390
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกสำหรับเครื่องพิมพ์ สีดำ 2 ขวด,แดง 1 ขวด, เหลือง 1 ขวด, น้ำเงิน 1 ขวด ขวดละ 280 บาท 1400 บาท

5 ชิ้น 280 1 1,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษโฟโต้ ขนาด 260 แกรม ห่อละ 330 บาท * 5 ห่อ 1,650 บาท

5 ชิ้น 330 1 1,650
ค่าวัสดุสำนักงาน

กรรไกร 8 นิ้ว อันละ 48 บาท * 5 อัน 240 บาท

5 ชิ้น 48 1 240
ค่าวัสดุสำนักงาน

คัตเตอร์เหล็กใหญ่ อันละ 42 บาท * 5 อัน 210 บาท

5 ชิ้น 42 1 210
ค่าวัสดุสำนักงาน

ใบมีดคัตเตอร์ ปากเฉียงใหญ่ แพ็คละ 18 บาท * 5 แพ็ค 90 บาท

5 ชิ้น 18 1 90
ค่าวัสดุสำนักงาน

ที่เย็บกระดาษ เบอร์ 10 แบบ 2 ใส้ อันละ 125 บาท * 5 อัน 625 บาท

5 ชิ้น 125 1 625
ค่าวัสดุสำนักงาน

ที่เย็บกระดาษ เบอร์ 35 อันละ 250 บาท *2 อัน 500 บาท

2 ชิ้น 250 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ลวดเสียบกระดาษ เบอร์ 0 กล่องละ 8 บาท 30 กล่อง 240 บาท

30 ชิ้น 8 1 240
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

หลอดกระสวย จำนวน 500 หลอด * 20 บาทต่อกิโลกรัม รวม 10,000 บาท

500 ชิ้น 20 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกปริ้น HP 81 A ตลับละ 2100 บาท

1 ชิ้น 2,100 1 2,100
รวมค่าใช้จ่าย 358,120

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ เพื่อก่อให้เกิดรายได้

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ เพื่อก่อให้เกิดรายได้
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนากระบวนการด้านการตลาด รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในงานการตลาด ให้เกิดขึ้นภายในชุมชน และการแปรรูปให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาด
  2. เพื่อให้เกิดการดำเนินงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย และชุมชน รวมถึงนักศึกษาได้ใช้ทักษะความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมจริงเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. กิจกรรมปฏิบัติการสร้างสื่อในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาด
2. การดำเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์
3. การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นักศึกษาได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับกลุ่มในชุมชน และผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการใช้เทคโนโลยี รวมถึงสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจได้ อย่างน้อยร้อยละ 65 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
2. การดำเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 30
3. การดำเนินกิจกรรมการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ สามารถเผยแพร่ได้อย่างน้อย 3 ช่องทาง และก่อให้เกิดรายได้อย่างน้อยร้อยละ 30
4. นักศึกษาในรายวิชา การตลาดดิจิทัล การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด การผลิตรายการเบื้องต้น สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการดำเนินการพัฒนากิจกรรมทางการตลาดได้แล้วเสร็จ อย่างน้อย 3 กิจกรรม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, เทศบาลตำบลภูปอ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา ลงพื้นที่ 120 บาท/วัน

6 คน 120 10 7,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน 120 บาท/วัน ค่าอาหารว่าง 30*2 มื้อ

30 คน 170 3 15,300
ค่าถ่ายเอกสาร 30 ชุด 100 3 9,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาลงพื้นที่ 240 บาท/วัน

4 คน 240 5 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าใช้จ่ายในการทำวีดีโอคลิปในการประชาสัมพันธ์ 5 คลิป *2,000 บาท 10,000 บาท

5 คน 2,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าใช้จ่ายในการทำสกู๊ปข่าว 1 สกู๊ป * 3000 บาท 3,000 บาท

1 คน 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าใช้จ่ายในการทำแบนเนอร์ 10 ชิ้น *500 บาท 5,000 บาท

10 ชิ้น 500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 ครั้ง *500 บาท 2,500 บาท

5 ครั้ง 500 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สารคดีสั้น 1 ตอน *10,000 บาท 10,000 บาท

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่ากล่องไฟถ่ายภาพ ขนาด 80 ซม. 3 กล่อง *4,500 บาท 13,500 บาท

3 ชิ้น 4,500 1 13,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าชุดสตูดิโอถ่ายภาพ 2 ชุด * 5,000 บาท 10,000 บาท

2 ชุด 5,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

USB ไดร์ท สำหรับเก็บข้อมูล ขนาด 32 Gb 20 ชิ้น * 250 บาท 5,000 บาท

20 ชิ้น 250 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปลั๊กสามตามาตรฐานสำหรับเดินไฟ ขนาด 5 เมตร 5 ชิ้น * 500 บาท 2,500 บาท

5 ชิ้น 500 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 97,800

กิจกรรมที่ 3 การจัดทำระบบบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนในการผลิต และบริหารราคา วิเคราะห์กำไร

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำระบบบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนในการผลิต และบริหารราคา วิเคราะห์กำไร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบบัญชีในการบริหารงานในครัวเรือน ในกลุ่ม และเป็นการพัฒนาบัญชีต้นทุนในการผลิต ตลอดจนสามารถบริหารราคาและวิเคราะห์กำไร จากการดำเนินกิจกรรมได้
  2. เพื่อให้เกิดการดำเนินงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย และชุมชน รวมถึงนักศึกษาได้ใช้ทักษะความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมจริงเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดกิจกรรมอบรมการจัดทำระบบบัญชีครัวเรือน
2. จัดกิจกรรมอบรมการจัดทำระบบบัญชีต้นทุนในการผลิต
3. นำข้อมูลจากกิจกรรมที่มา มาวิเคราะห์ราคา เพื่อดำเนินการบริหารราคา วิเคราะห์กำไร
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีองค์ความรู็ และสามารถจัดทำระบบบัญชีครัวเรือน และระบบบัญชีต้นทุนได้ อย่างน้อย ร้อนละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
2. สามารถวิเคราะห์ และบริหารราคา วิเคราะห์กำไร จนก่อนให้เกิดผลกำไร อย่างน้อย ร้อยละ 25
3. นักศึกษาในรายวิชาสัมมนาทางการบัญชี และการบริหารราคาและวิเคราะห์ผลกำไร สามารถร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการวิเคราะห์ต้นทุน และนำตั้งราคาเพื่อให้เกิดผลกำไรได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, เทศบาลตำบลภูปอ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

เบี้ยเลี้ยงนักศึกษาลงพื้นที่ 120 บาท/วัน

5 คน 120 6 3,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน 120 บาท/วัน ค่าอาหารว่าง 30*2 มื้อ

30 คน 170 2 10,200
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกปริ้นเตอร์ รุ่น HP 81 A 2 กล่อง * 2100 บาท 4300

2 ชุด 2,100 1 4,200
ค่าถ่ายเอกสาร 2 ครั้ง 3,000 2 12,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาในการลงพื้นที่ 240 บาท/วัน

2 คน 240 6 2,880
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษชาร์ต 50 แผ่น * 3 บาท * 2 ครั้ง 300 บาท

50 ชิ้น 3 2 300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาไวบอร์ด 5 กล่อง * 300 บาท * 2 ครั้ง 3,000 บาท

5 ชิ้น 300 2 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ป้ายไวนิล 2 แผ่น * 1500 บาท 3,000 บาท

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ดินสอ กล่องละ 50 แท่ง 2 กล่อง * 300 บาท 600 บาท

2 ชุด 300 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาน้ำเงิน กล่องละ 50 แท่ง 2 กล่อง * 250 บาท 500 บาท

2 ชุด 250 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาแดง กล่องละ 50 แท่ง 2 กล่อง * 250 บาท 500 บาท

2 ชุด 250 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษเอ 4 จำนวน 5 รีม * 110 บาท 550 บาท

5 ชิ้น 110 1 550
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สมุดทำรายงานทางการบัญชี 30 เล่ม * 75 บาท 2,250 บาท

30 ชิ้น 75 1 2,250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ไม้บรรทัดเหล็ก 30 เล่ม * 20 บาท 600 บาท

25 ชิ้น 20 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 44,080

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 47,280.00 66,360.00 386,360.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 9.46% 13.27% 77.27% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. เกิดกระบวนการ และเครื่องมือที่ใช้ในการผลิต อย่างน้อย 2 เครื่องมือ
2. เกิดรายได้จากการดำเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และการประชาสัมพันธุ์ เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 30
3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคำนวนต้นทุน บริหารราคาและวิเคราะห์ผลกำไร ได้ อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในศาสตร์ที่ได้ศึกษาเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อชุมชนที่ดำเนินโครงงาน และสร้างความยั่งยืนในชุมชน ตลอดจนสามารถช่วยให้ชุมชนที่เข้าร่วมโครงงานเกิดรายได้จากเดิม ร้อยละ 30 สอดคล้องกับเนื้อหาในรายวิชา
3. ประโยชน์ในการเทียบหน่วยกิต
1) นักศึกษาหลักสูตร บริหารธุรกิจการตลาด สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 9 หน่วยกิต
จากรายวิชา การตลาดดิจิตอลรหัสวิชา 05-031-304
การบริหารราคาและวิเคราะห์กำไร รหัสวิชา 05-031-203
และการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด รหัสวิชา 05-031-303
2) นักศึกษาหลักสูตร นิเทศศาสตร์บัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชาการผลิตรายการเบื้องต้น รหัสวิชา CA 012-206
3) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายใน รหัสวิชา 04-031-306
4) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา กลศาสตร์เครื่องจักรกล รหัสวิชา 04-031-201
5) นักศึกษาหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิตได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา สัมมนาบัญชีการเงิน รหัสวิชา 05- 012-401
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. เกิดอุตสาหกรรมในชุมชน ที่มีความยั่งยืน และเกิดกิจกรรมทางการตลาด การออกแบบสินค้าอย่างต่อเนื่อง
2. ในระยะยาวสามารถแก้ปัญหาความยากจนให้กับกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ และสามารถขยายผล ไปยังประชากรในชุมชน ได้
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ในการดำเนินธุรกิจ การดำเนินกิจกรรมทางการผลิต และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี ในการดำเนินธุรกิจ
3. นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะในการดำเนินกิจกรรม และเกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ระหว่างศาสตร์ ตลอดจนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม
4.ประโยชน์ในการเทียบหน่วยกิต
1) นักศึกษาหลักสูตร บริหารธุรกิจการตลาด สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 9 หน่วยกิต
จากรายวิชา การตลาดดิจิตอลรหัสวิชา 05-031-304
การบริหารราคาและวิเคราะห์กำไร รหัสวิชา 05-031-203
และการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด รหัสวิชา 05-031-303
2) นักศึกษาหลักสูตร นิเทศศาสตร์บัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชาการผลิตรายการเบื้องต้น รหัสวิชา CA 012-206
3) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายใน รหัสวิชา 04-031-306
4) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา กลศาสตร์เครื่องจักรกล รหัสวิชา 04-031-201
5) นักศึกษาหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิตได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา สัมมนาบัญชีการเงิน รหัสวิชา 05- 012-401
ผลกระทบ (Impact) 1. เกิดความยั่งยืน และก่อให้เกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมในชุมชน
2. สามารถแก้ปัญหาความยากจนในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ และสามารถขยายผลไปยังประชากรในชุมชนได้
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. จากการลงพื้นที่ นักศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ในในการดำเนินธุรกิจ และในชีวิตการทำงานในอนาคตหลังจากจบการศึกษาได้
3. นักศึกษาได้นำองค์ความรู้ในทฤษฏีที่ได้เรียนมา ไปปฏิบัติจริงในชุมชน รวมทั้งสามารถเทียบหน่วยกิตรายวิชา ได้ดังนี้
ประโยชน์ในการเทียบหน่วยกิต
1) นักศึกษาหลักสูตร บริหารธุรกิจการตลาด สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 9 หน่วยกิต
จากรายวิชา การตลาดดิจิตอลรหัสวิชา 05-031-304
การบริหารราคาและวิเคราะห์กำไร รหัสวิชา 05-031-203
และการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานการตลาด รหัสวิชา 05-031-303
2) นักศึกษาหลักสูตร นิเทศศาสตร์บัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชาการผลิตรายการเบื้องต้น รหัสวิชา CA 012-206
3) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา เครื่องยนต์สันดาปภายใน รหัสวิชา 04-031-306
4) นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถเทียบหน่วยกิต ได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา กลศาสตร์เครื่องจักรกล รหัสวิชา 04-031-201
5) นักศึกษาหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สามารถเทียบหน่วยกิตได้ 3 หน่วยกิต จากรายวิชา สัมมนาบัญชีการเงิน รหัสวิชา 05- 012-401
นำเข้าสู่ระบบโดย SUPOT  Deeboonmee SUPOT Deeboonmee เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 11:03 น.