การปรับปรุงกระบวนผลิตเตาประหยัดพลังงาน

แบบเสนอโครงการ
การปรับปรุงกระบวนผลิตเตาประหยัดพลังงาน

1. ชื่อโครงการ

การปรับปรุงกระบวนผลิตเตาประหยัดพลังงานมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บ้านกลางหมื่น หมู่1 ตำบลกลางหมื่น อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายอุทัย ธารพรศรีสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เลขที่ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์0933197795ธวัชชัย วิเศษ 1400900272923 เทคโนโลยีอุตสาหการ
ปิยะพงษ์ กล้าณรงค์ 1400900267369 เทคโนโลยีอุตสาหการ
วีระยุทธ แสนเมืองชิน 1461300165566 เทคโนโลยีอุตสาหการ
ธนพล คันทะโสม 1469900435391 เทคโนโลยีอุตสาหการ
สุรีรัตน์ แก้วทิพย์ 1461300182436 การจัดการ
จุติมา คาดีวี 1461000198086 การจัดการ
สหรัฐ ยะโสธร 14096 00237 438 เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร
เอกรัฐ ทารถ 14096 00224 841 เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร
อุทัย ธารพรศรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
อามิณฑ์ หล้าวงศ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
วราภรณ์ วรโรส สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
สิทธิศักดิ์เริ่งฤทธ์ สาขาเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมเกษตร
อนุชา พุฒิกูลสาคร สาขาบริหารศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กลางหมี่น

3. รายละเอียดชุมชน

พื้นที่ของตำบลกลางหมื่นเป็นสถานที่ที่มีการดำเนินการในการจัดการในด้านต่างๆ เช่น การจัดการด้านการขยะ การจัดการด้านพลังงาน และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น และมีวิสัยทัศน์ “ชุมชนลดต้นทุน มุ่งสู่การใช้พลังงานทดแทน ฮักแพงแบ่งปัน สานฝันจิตอาสา นำพาสู่ตำบลสุขภาวะ” ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลูกข้าว ปลูกมันสำปะหลัง ปลูกอ้อย รับจ้างทั่วไปจากการที่ลงพื้นในการเก็บข้อมูลจากผู้นำชุมชนพบว่า ชาวบ้านมีฐานะอยากจน มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย คนหนุ่มสาวไปทำงานต่างถิ่น ทางชุมชนมีความต้องการที่จะประกอบอาชีพในชุมชนให้มีความยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนได้ดำรงชีวิต สามารถพึงพาตนเองได้เทศบาลตำบลกลางหมื่นส่งเสริมให้ประชากรในท้องถิ่นให้มองทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีคุณค่า เช่น อ่างเก็บน้ำห้วยแกง ป่าโคกฮ่าง ป่ายางใหญ่เป็นต้น สามารถพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวได้เทศบาลตำบลกลางหมื่นส่งเสริมให้ประชากรในท้องถิ่นให้มองทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีคุณค่า เช่น อ่างเก็บน้ำห้วยแกง ป่าโคกฮ่าง ป่ายางใหญ่เป็นต้น สามารถพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวได้ การสร้างผลิตในชุมชนที่ดังเช่น บ้านกลางหมื่น หมู่1 ตำบลกลางหมื่น อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ผลิตภัณฑ์เตาประหยัดพลังงาน เป็นสินค้าหนึ่งที่ทางชุมชนได้มีการดำเนินการ แต่ยังมีปัญหาในกระบวนการผลิตและการตลาด ดังเช่น การวางแผนการผลิต การจัดวางผังโรงงานแบบผลิตภัณฑ์การใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีในการผลิตขึ้นรูป การจำหน่ายและการจัดส่งสินค้า การช่องทางการขายสินค้า เป็นต้นเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการอาสาประชารัฐ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กลุ่มภารกิจด้านการอุดมศึกษา) ประจำปีงบประมาณ 2563 โครงการนี้จึงมุ่งเน้นการปรับปรุงการผลิตเตาประหยัดพลังงาน ในชุมขนให้มีความยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ในด้านที่เกี่ยวข้องกับ การวางระบบการทำงานในกระบวนการผลิตและการประสานงานในหน่วยงาน การวางแผนการจัดสรรทรัพยากรการผลิต การออกแบบเครื่องจักรกลที่ช่วยในการผลิตที่เป็นอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติ การควบคุมคุณภาพในกระบวนการของผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานของสินค้า การทำเอกสารและการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนในกระบวนการผลิต เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมที่เกี่ยวกับการเงินและร่วมไปถึงใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุมการ สั่ง ผลิต ขาย ส่ง เป็นต้น

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อการปรับปรุงกระบวนการผลิตเตาประหยัดพลังงาน ด้วยเทคนิควิศวกรรมอุตสาหการ ๒. เพื่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุมการ สั่ง ผลิต ขาย ส่ง ให้กับกลุ่มเกษตรกร

 

0.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ระบุชื่อกิจกรรม
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ลำดับกิจกรรม กิจกรรม
    ต้นทาง
    ๑.
    สำรวจสภาพปัจจุบันของกระบวนการผลิตเตา
    กลางทาง
    ๑.
    ออกแบบและสร้างเครื่องในกระบวนการผลิตเตาประหยัด
    ปลายทาง
    ๑.
    ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการสร้างเตาประหยัดพลังงาน
    ๒. จัดตั้งกลุ่มชุมชนเพื่อผลิตเตาประหยัดพลังงานไว้จำหน่าย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    11 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    จำนวนเครื่องจักรเพิ่มขึ้น
    จำนวนผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

    รวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

    11. งบประมาณ

    0.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) จำนวนเครื่องจักร ได้ทำการสร้างเครื่องที่ได้วางแผนได้ตามกระบวนการผลิต
    ผลลัพธ์ (Outcome) ปริมาณการผลิต ทราบปริมาณการผลิตของชุมชน
    ผลกระทบ (Impact) ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน ความร่วมมือกับชุมชน
    นำเข้าสู่ระบบโดย Amin.la Amin.la เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 10:31 น.