โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ WORKSHOPเชิงปฏิบัติการ

แบบเสนอโครงการ
โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ WORKSHOPเชิงปฏิบัติการ

1. ชื่อโครงการ

โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ WORKSHOPเชิงปฏิบัติการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร)ส่วนกิจการเพื่อสังคมคณะ/สถาบันรองศาสตราจารย์ ดร.ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ (รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)114 สุขุมวิท 23 คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 1011002-649-5000 ต่อ 11396อ.สมมาส /คณะวิศวกรรมศาสตร์
อ.ศุภนันทา / คณะเศรษฐศาสตร์
อ.อาทิตยา / วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
อ.ฐาศุกร์ /สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
อ.นริสรา /สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
ฯลฯ
นายศุภกฤต เดชวิลัย วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
นายปพนธีร์ เรือนทอง วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
นางสาววิสาขา สายแก้ว วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
นายปริญญา แป้สูงเนินวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
นางสาวกาญจนาพร พรหมอยู่ คณะศิลปกรรมศาสตร์
นางสาววิระณี วงแสน คณะศิลปกรรมศาสตร์
นางสาววิไลลักษณ์ พัฒนเจริญวงศ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์
นางณัฐศรุต เดชสราญสิริกุล คณะศิลปกรรมศาสตร์
นายนรินทร์ นาครัตน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ดอนสมบูรณ์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตําบลดอนสมบูรณมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มพื้นที่ มีโดยรวมร้อยละ 85 อยู่ในพื้นที่ชลประทานสามารถทําการเกษตรได้ตลอดปี นอกจากนั้นบางพื้นที่เป็นที่ไร่สวนซึ่งลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบยกสูง ประกอบด้วย 15 หมู่บ้านจำนวนหลังคาเรือน : 2,232 หลังคาเรือน มีจำนวนประชาการทั้งสิ้น 9,808 คน ภาวะเศรษฐกิจของตําบลดอนสมบูรณ การผลิตโดยรวมจะอยู่ที่ภาคการเกษตรเป็นหลักพื้นที่สวนใหญเอื้ออํานวยตอการดําเนินกิจกรรม เพราะอยูในเขตชลประทานผลิตภัณฑ์และผลผลิต OTOP ที่สําคัญได้แก่ ข้าวเกรียบเกษตร ขนมนางเล็ดและแตงโม สภาพปัญหาด้านเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร มีรายละเอียดดังนี้ 1. ปัญหาแหล่งน้าเพื่อใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ2.ปัจจัยการผลิตภาคการเกษตรมีต้นทุนสูงเนื่องมาจากการใช้สารเคมี และการขาดแคลน
เทคโนโลยีทางการผลิต3.ปัญหาราคาผลิตทางการเกษตรตกต่า4.ขาดแหล่งรองรับผลผลิตทางการเกษตร 5.ราษฎรมีรายได้น้อย ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ ทำให้เกิดปัญหาหนี้นอกระบบ ด้านการท่องเที่ยว 1.ขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
2.พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมในวัด3พัฒนาพื้นที่สาธารณประโยชน์เป็นแหล่ง 4.ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
อาจารย์มีความชำนาญ ในเรื่อง การออกแบบกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยใช้ Operation Management การบูรณาการองค์ความรู้การออกแบบกระบวนการการพัฒนาชุมชน โดยสอดคล้องกับ SDGs
นิสิตที่ลงทะเบียนได้ลงมือปฎิบัติจริง ในเรื่อง การออกแบบกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยใช้ Operation Management การบูรณาการองค์ความรู้การออกแบบกระบวนการการพัฒนาชุมชน โดยสอดคล้องกับ SDGs
- ปัญหาแหล่งน้ำ เพื่อใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ
- ปัจจัยการผลิตภาคการเกษตรมีต้นทุนสูง
- ปัญหาราคาผลิตทางการเกษตรตกต่ำ
- ขาดแหล่งรองรับผลผลิตทางการเกษตร
- ราษฎรมีรายได้น้อย ปัญหาหนี้นอกระบบ
- ขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
แผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธฺ์ พ.ศ. 2561 - 2564

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การออกแบบกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยใช้ Operation Management
การบูรณาการองค์ความรู้การออกแบบกระบวนการการพัฒนาชุมชน โดยสอดคล้องกับ SDGs

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้นิสิตที่เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับองค์ความรู้ SDG ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสามารถออกแบบโครงงานหรือนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนโดยสอดคล้องกับบริบทของชุมชน

1.นิสิตที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจเรื่องSDG ร้อยละ80ขึ้นไป

2.นิสิตที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ชุมชนได้จริง

3.มีโครงงาน/นวัตกรรมทางสังคมเพื่อพัฒนาชุมชนที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน อย่างน้อย 1 โครงงาน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชาวบ้าน/เกษตรกร/อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่รัฐ ฯลฯ 20
นิสิตระดับปริญญาตรี 10
อาจารย์ที่ปรึกษา และบุคลากรสายสนับสนุน 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 Workshop เชิงปฏิบัติการอบรมให้ความรู้นิสิตเรื่อง SDG

ชื่อกิจกรรม
Workshop เชิงปฏิบัติการอบรมให้ความรู้นิสิตเรื่อง SDG
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.นิสิตจิตอาสาเข้าร่วมกิจกรรม
    2.อบรมให้ความรู้นิสิตเกี่ยวกับ SDG
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้นในเรื่อง SDG ร้อยละ 80 ขึ้นไป
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน

    20 คน 100 1 2,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 35 บาท

    20 คน 70 1 1,400
    ค่าถ่ายเอกสาร 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    รวมค่าใช้จ่าย 5,400

    กิจกรรมที่ 2 การรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อออกแบบการพัฒนาชุมชน

    ชื่อกิจกรรม
    การรวบรวมข้อมูลชุมชนเพื่อออกแบบการพัฒนาชุมชน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. อาจารย์ที่ปรึกษาและนิสิตลงพื้นที่ชุมชนเพื่อศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผลชุมชน
      2. นิสิตประชุมกลุ่ม และคิดโครงงาน/นวัตกรรมร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและชุมชน
      3. นำเสนอผลงานโครงงานร่วมกัน
      4. ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม เกี่ยวกับโครงงาน
      5. ประชุมนำเสนอโครงงานร่วมกับชุมชน
      6. ประชุมติดตามผล
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - นิสิตเกิดการตระหนักและมีจิตอาสา
      - นิสิตสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ชุมชนได้จริง
      - เกิดโมเดลการพัฒนาชุมชนที่มาจากความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาและชุมชน
      - โครงงาน/นวัตกรรมสามารถช่วยแก้ไขปัญหาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      วิทยากรภายใน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 3 ครั้ง

      3 คน 5,400 1 16,200
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันและเย็น จำนวน 3 ครั้ง ๆละ 700 บาท/คน/วัน

      50 คน 2,100 1 105,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 35 บาท 3 ครั้ง

      50 คน 210 1 10,500
      ค่าเช่ารถ

      ค่าเช่ารถ 3 ครั้งๆละ 1 คันๆละ 5000 บาท/วัน จำนวน 3 วัน/ครั้ง

      3 ครั้ง 15,000 1 45,000
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าที่พัก 800 บาท/คืน/คน จำนวน 3 ครั้งๆละ 2 คืน

      10 คน 4,800 1 48,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

      ค่าเช่ารถในพื้นที่ คนละ 100 บาท/ครั้ง 3 ครั้ง

      20 คน 300 1 6,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 3 ครั้ง 5,000 1 15,000
      ค่าถ่ายเอกสาร 3 ครั้ง 2,000 1 6,000
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 3 วันๆละ 240 บาท/คน จำนวน 3 ครั้ง

      10 คน 2,160 1 21,600
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าที่พักนิสิตในพื้นที่ จำนวน 3 ครั้งๆละ 5 วันๆละ 500 บาท

      10 คน 7,500 1 75,000
      ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 10 คน 300 1 3,000
      รวมค่าใช้จ่าย 353,300

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 358,700.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 40,800.00 2,000.00 299,900.00 16,000.00 358,700.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) 11.37% 0.56% 83.61% 4.46% 100.00%

      11. งบประมาณ

      358,700.00บาท

      12. การติดตามประเมินผล

      ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
      ผลผลิต (Output) เกิดโมเดลการพัฒนาชุมชนที่มาจากความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาและชุมชน 1. นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้นในเรื่อง SDG ร้อยละ 80 ขึ้นไป
      2. เกิดโครงงานออกแบบนวัตกรรมทางสังคม 1 โครงงาน
      3. นิสิตสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ชุมชนได้จริง
      ผลลัพธ์ (Outcome) โครงงาน/นวัตกรรมสามารถช่วยแก้ไขปัญหาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น 1.นิสิตเกิดการตระหนักและมีจิตอาสาในการทำกิจกรรมช่วยเหลือ แบ่งปันแก่สังคม
      2.อาจารย์ที่ปรึกษาได้โจทย์งานวิจัยเพื่อสังคม/นวัตกรรมร่วมกับนิสิตต่อไป
      ผลกระทบ (Impact) 1. เกิดโมเดลการพัฒนาชุมชนที่มาจากความร่วมมือของชุมชน
      2. ชุมชนมีการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
      เกิดโมเดลการพัฒนาชุมชนที่มาจากความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาและชุมชน
      นำเข้าสู่ระบบโดย SSOSWU SSOSWU เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 10:16 น.