การยกระดับการท่องเที่ยวด้วยการบริหารต้นทุนและผลตอบแทนตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การยกระดับการท่องเที่ยวด้วยการบริหารต้นทุนและผลตอบแทนตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การยกระดับการท่องเที่ยวด้วยการบริหารต้นทุนและผลตอบแทนตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์1.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2.หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์มารุตพลรักษา เลขบัตรประชาชน 4310500004315 สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เลขที่ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์099-003-5758นักศึกษาที่ร่วมโครงงาน
1) นางสาวพัทธยาแสงเรือง เลขบัตรประชาชน 1469900422290 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2) นางสาวนฤมลปรีพูล เลขบัตรประชาชน 1461300183289หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3) นางสาวพรชิตาผลรักษา เลขบัตรประชาชน 1461400099981 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4) นางสาวปิ่นฤทัยวิทเวท เลขบัตรประชาชน 1461200164797 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5) นายวัชร วิกล เลขบัตรประชาชน 1411001161305 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
6) นางสาวศราลี กัญญาพงศ์เลขบัตรประชาชน 1100702752930 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7) นายคฑาวุฒิ คำโสภา เลขบัตรประชาชน 1400900272591 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8) นางสาวกมลชนก มังสุไร เลขบัตรประชาชน 1469900436215 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
9) นายปพลวิท ฝูงหอม เลขบัตรประชาชน 1460600163975 หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
10) นายธรรณ์ธร ตั้งจิตเจริญ เลขบัตรประชาชน 1469900466572 หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชา และจำนวนหน่วยกิต ได้ดังนี้
1) รหัสวิชา 05-012-401 วิชาสัมมนาบัญชีการเงิน จำนวน 3 หน่วยกิต
2) รหัสวิชา 01-063-308 วิชาการวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว จำนวน 3 หน่วยกิต
3) รหัสวิชา CA-011-105 วิชาการเขียนบททางนิเทศศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
11) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉายรุ่ง ไชยกำบัง เลขบัตรประชาชน 3460100551328 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
12) อาจารย์ ดร.มัลลิกา นาจันทอง เลขบัตรประชาชน 3461300250713 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
13) อาจารย์ธีรนันท์ ขันตี เลขบัตรประชาชน 1349900055174 หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เขาวง กุดสิบคุ้มใหม่

3. รายละเอียดชุมชน

ประชากรชาวอำเภอเขาวงเป็นคนเชื้อสายผู้ไท อพยพมาจากเมืองวัง แขวงคำม่วน เมื่อปี พ.ศ.2384 โดยในปีดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี ทรงรับสั่งให้พระมหาสงครามเป็นแม่ทัพนำกำลังไปตีเมืองวังและเมืองใกล้เคียง เนื่องด้วยเมื่อปี พ.ศ.2369 เจ้าอนุวงศ์ผู้ครองนครเวียงจันทร์เป็นกบฎต่อไทย กองทัพไทยไปปราบชนะ ต่อมาประเทศไทยเป็นคู่อริกับญวน (ประเทศเวียดนาม) เพื่อแย่งการปกครองเขมร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 จึงมีรับสั่งให้ไปตีเมืองวังดังกล่าว เพื่อเป็นการตัดกำลังเสบียงญวน เมื่อตีเมืองวังได้จึงกวาดต้อนผู้คนจากเมืองวังและเมืองใกล้เคียง จำนวน3,003 คน กลับเมืองไทยซึ่งมีบุคคลชั้นนำมาด้วยได้แก่ เจ้าราชวงศ์กอ ท้าวด้วย บุตรเจ้าเมืองวัง ท้าวต้อบุตรอุปฮาด (อุปราช) เมืองวัง เมื่อมาถึงบริเวณภูพาน จังหวัดสกลนคร ได้ปลดปล่อยให้เป็นอิสระตั้งครอบครัวและประกอบอาชีพบริเวณนั้นได้ประมาณ 2 ปี เกิดน้ำท่วมจึงพากันอพยพลงทางใต้ มาถึงบริเวณอำเภอเขาวงปัจจุบันเห็นว่าภูมิประเทศเป็นที่ราบสองฝั่งลำน้ำยัง ประกอบกับมีลำน้ำสายเล็กๆอื่นอีกหลายสาย อีกทั้งมีกุดน้ำ (หนองน้ำ) หลายแห่ง ซึ่งกุดน้ำแห่งแรกที่พบ มีก้อนหินลายคล้ายใบเสมาอยู่ เห็นว่าบริเวณดังกล่าวมีความเหมาะสมจึงพากันตั้งบ้านเรือนอยู่เป็นหมู่บ้าน เรียกชื่อหมู่บ้านว่า " บ้านกุดสิมนารายณ์ " ตั้งแต่ปีนั้น ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2388 (จ.ศ.1207) ตรงกับปีมะเส็ง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นเมืองกุดสิมนารายณ์ ขึ้นกับเมืองกาฬสินธุ์ อ่างเก็บน้ำห้วยสายนาเวียง อ่างเก็บน้ำลำพะยังตอนบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริมีความน่าสนใจและน่าทึ่งในธรรมชาติ
สภาพทั่วไปตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ ตั้งอยู่บนบริเวณตอนล่างของอำเภอเขาวง ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากอำเภอเขาวง ประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 100 กิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่บ้าน 9 หมู่บ้านคือ หมู่ 5 บ้านโนนสำราญ หมู่ 6 บ้านโพนสวาง หมู่ 7 บ้านโพนวิมาน หมู่ 8 บ้านสมสนุก หมู่ 9 บ้านกุดสิมพัฒนา หมู่ 10 บ้านดอนจันทร์ หมู่ 11 บ้านโนนศิวิไล หมู่ 12 บ้านโพนสวรรค์ หมู่ 13 บ้านโนนเจริญ พื้นที่สภาพภูมิประเทศของตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ เป็นที่ราบลุ่มใกล้เชิงเขาเป็นแอ่งมีภูเขา ล้อมรอบ สภาพ การตั้งหมู่บ้านอยู่ใกล้กันระยะห่างของแต่ละหมู่บ้านประมาณ 1-2 กิโลเมตร ในแต่ละหมู่บ้านราษฎรจะปลูกบ้านเป็นกระจุกรวมกันเป็นหมู่บ้าน และอยู่ตามหัวไร่ปลายนาองค์การบริหารส่วนตำบลมี 3 ฤดู 1) ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน เมษายน อากาศร้อนจัดมาก 2) ฤดูฝนเริ่มจากเดือน พฤษภาคม ถึงเดือน กันยายน มีฝนตกชุกเป็นบางช่วง 3) ฤดูหนาว เริ่มจากเดือน ตุลาคม ถึงเดือน กุมภาพันธ์ มีจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียนคนยากจ 102 คน (ข้อมูล TPMAP จังหวัดกาฬสินธุ์ (เทศบาลตำบลกุดสิมคุ้มใหม่) 2562)
เขตพื้นที่ทิศเหนือ ติดกับตำบลสระพังทอง อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ ติดกับตำบลเหล่าใหญ่ อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศตะวันออกติดกับตำบลคุ้มเก่า และตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศตะวันตกติดกับตำบลเหล่าใหญ่ อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ อาชีพประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก คิดเฉลี่ยจำนวนประชากร ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรได้ทำนาและเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 7 ประกอบอาชีพรับจ้าง และร้อยละ 3 ประกอบอาชีพค้าขาย ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญเช่น ทอผ้าไหม ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติผ้าห่ม 4 ตะกอผ้าพื้นเมือง ผ้าลายขิต ผ้าลายดอก จักรสานกระติ๊บข้าว ทำไม้กวาด เป็นต้น และมีแหล่งน้ำที่สำคัญได้แก่ ลำน้ำยัง ลำห้วยบง ลำห้วยส้มป่อย
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญได้แก่ วัดป่าพุทธบุตร (วัดบ้านโพนวิมาน) ตั้งอยู่ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ 6 ไร่ 3 งาน 68 ตารางวา เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ ฝ่ายธรรมยุตนิกาย แห่งที่ 12 ตามมติ มส.ครั้งที่ 10/2549 และเป็นศูนย์พัฒนาคุณธรรม ศูนย์เสมาพัฒนาคุณภาพชีวิต แหล่งรวบรวมฟอสซิลไม้กลายเป็นหินที่เรียกว่า ต้นไม้กลายเป็นหิน และพิพิธภัณฑ์ปลากลายเป็นหินหรือ ปลาโบราณยุคไดโนเสาร์ อายุ 160 ล้านปี อยู่ภายในบริเวณ วัดบ้านโพนวิมาน (วัดป่าพุทธบุตร) เป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่ง ถือเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้สำหรับเยาวชน
วัดวังคำ ตั้งอยู่ที่ บ้านนาวี ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่กว่า 8 ไร่ เริ่มก่อสร้าง (อย่างเป็นทางการ) ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2539 โดยคณะชาวบ้านนาวีและหมู่บ้านใกล้เคียง และได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดวังคำ” สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตนิกาย เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2543 และงานสถาปัตยกรรมต่างๆ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากสุดยอดสถาปัตยกรรมแบบล้านช้าง ซึ่งเป็นอาณาจักรโบราณ ในแทบลุ่มแม่น้ำโขง สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นของยุคนี้ ที่ทุกคนจำได้ดีก็จะเป็นวัดเชียงทอง ในเมืองหลวงพระบาง อาคารโบสถ์เป็นอาคารที่มีหลังคามุข 3 ชั้น มีฉัตรตรงกลาง 9 ยอด
หอทะหลา มเหศักดิ์ ตั้งอยู่ที่บ้านกุดสิมคุ้มใหม่ หมู่ที่ 10 ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ มะเหศักดิ์ คือ ผีมิ่งเมือง เป็นผีของพระมหากษัตริย์ สำหรับใช้ให้ช่วยในการปกครองบ้านเมือง ช่วยในการสงครามบ้านเมือง (หอทะหลา มเหศักดิ์ ถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง) และ มีอิทธิฤทธิ์ปรากฏแก่ลูกหลาน เป็นที่บวงสรวงสักการบูชาขอให้ปกป้องคุ้มครองภัย เมื่อลูกหลานเดินทางไกลไปต่างถิ่น จะได้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของเหล่าลูกหลานทั้งหลาย
เครือข่ายกลุ่มผลิตดอกไม้ผ้า ตั้งอยู่ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2544 มีสมาชิกแรกเริ่ม 100 คน และได้รวมหุ้นกันเพื่อจัดหาวัตถุดิบในการผลิตดอกไม้ผ้า จากการตั้งกลุ่มผลิตดอกไม้ผ้าขึ้นแล้วสามารถทำให้สมาชิกในชุมชนมีรายได้ละมีอาชีพเสริมนอกจากการทำนา ประชาชนเกือบทุกครอบครัวมีอาชีพและรายได้เสริม ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้ ซึ่งสามารถสร้างวัฒนธรรมการอยู่รวมกันในชุมชนและสังคมอย่างสงบสุข
เครือข่ายอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้าน บ้านโพนสวรรค์ ตั้งอยู่ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ องค์กรนี้เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีความรักหวงแหนในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของชาวผู้ไทย ที่กำลังถูกวัฒนธรรมเมืองที่เข้ามาสู่ชุมชนอย่างรวดเร็ว จนทำให้ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดทั้งศิลปวัฒนธรรม ดั้งเดิมของชาวผู้ไทยเสื่อมถอยไปตามกระแสวัฒนธรรมของชาวตะวันตก จึงมีการรวมตัวของสมาชิกเครือข่ายองค์กรชุมชนเกิดขึ้น
แปลงเรียนรู้การเกษตรทฤษฎีใหม่ (สวนแสนพาน) ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 189 หมู่ที่ 4 ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีนายสมศรี แสนพาน ผู้เป็นเจ้าของ ได้นำแนวทางการเกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวงมาดำเนินการเป็นการเกษตรน้ำฝน โดยการขุดสระน้ำหาพันธุ์ปลามาปล่อย ปลูกข้าว พืชไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชผักสวนครัว แบบผสมผสาน ไปทุกพื้นที่ในสวน ซึ่งได้ปรับปรุงพื้นที่นา ประมาณ 8 ไร่ เศษ จากพื้นที่ทั้งหมด
อ่างเก็บน้ำลำพะยังตอนบน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 ได้เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎร บ้านกุดสิม ตำบลคุ้มเก่า อำเภอ เขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ และเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสภาพภูมิประเทศลำพะยัง ที่บ้านกุดตอแก่น และที่บริเวณอ่างเก็บน้ำ ห้วยสายนาเวียง ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้พระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทาน พิจารณาวางโครงการและก่อสร้างอ่างเก็บน้ำลำพะยังตอนบน (ห้วยวังคำ) บ้านดงหมู ตำบลคุ้มเก่า บ้านนาวี ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง เพื่อช่วยเหลือราษฎรใน เขตพื้นที่ดังกล่าวให้มีน้ำใช้ทำการเกษตรและอุปโภคบริโภคตลอดปีนอกจากนี้ยังสามารถบรรเทาอุทกภัย
น้ำตกตาดทองตั้งอยู่ที่ บ้านโพนสว่าง ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทางหลวงหมายเลข 2291 ซึ่งต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาภูพานเขต อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เป็นน้ำตกมีขนาดไม่ใหญ่นัก สูงประมาณ 5 เมตร สายน้ำไหลผ่านโขดหินในลำธารและมีแอ่งน้ำให้ลงเล่นเป็นช่วงๆ ทั้งด้านบนและด้านล่างของน้ำตก
บรรยากาศร่มรื่น
กล่าวโดยสรุปแล้วแหล่งท่องเที่ยวยังมีลักษณะเป็นการท่องเที่ยวแบบแยกส่วน ขาดการเชื่อมโยงและขาดการประเมินต้นทุนและผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมทั้งพื้นที่ท่องเที่ยวอำเภอเขาวง ยังขาดการวิเคราะห์และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวที่มีความเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้เพื่อให้การส่งเสริมการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยวให้รู้จักแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้เกิดประสิทธิภาพอย่างแท้จริงนำมาซึ่งรายได้จากการท่องเที่ยว และซึ่งเป็นการช่วยปัญหาในเรื่องของความยากจน เพิ่มรายได้ของคนในชุมชนท่องเที่ยว และเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวให้มากขึ้นขจัดปัญหาความยากจนจากการยกระดับการท่องเที่ยวด้วยการบริหารต้นทุนและผลตอบแทนตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.ด้านการบริหารต้นทุนแลผลตอบแทน
ต้นทุน หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่สูญเสียไปเพื่อให้ได้สินค้า สินทรัพย์ หรือบริการ โดยมูลค่านั้นจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา ต้นทุนที่เกิดขึ้นอาจจะให้ประโยชน์ในปัจจุบันหรือในอนาคตก็ได้ เมื่อต้นทุนใดที่เกิดขึ้นแล้วและกิจการได้ใช้ประโยชน์ไปทั้งสิ้นแล้ว ต้นทุนนั้นก็จะถือเป็น “ค่าใช้จ่าย” (Expenses)
การดำเนินงานของหน่วยงานหรือองค์กร ต่างก็ต้องการข้อมูลต้นทุนเพื่อใช้วัดผลการดำเนินงานและการบริหารภายในองค์กร หากสามารถบริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพจะสามารถทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายส่งต่อผลตอบแทนที่สูงขึ้นได้ (Zengin & Ada. 2010: 93) นอกจากนี้ หากองค์กรสามารถวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value chain Analysis) เพื่อวิเคราะห์ว่ากระบวนการใดในการผลิตหรือบริการที่เพิ่มมูลค่า และกระบวนการใดไม่เพิ่มมูลค่า โดยมีเป้าหมายหลัก คือ พยายามออกแบบกระบวนการใหม่ และกำจัดหรือทำให้กระบวนการที่ไม่เพิ่มคุณค่าเหลือน้อยที่สุด (Bhimani, Horngren, Datar & Rajan. 2015: 13) แนวคิดนี้ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงทุกหน่วยงานในองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนเป็นฐานข้อมูลในการเชื่อมโยง เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ ๆ การเชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ภายในองค์กรกับพันธมิตรคู่ค้าและกลุ่มของลูกค้า เพื่อให้สามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนที่ประหยัดที่สุด ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการบริหารต้นทุนมีบทบาทสำคัญในการเป็นเครื่องมือช่วย วางแผน ควบคุม และตัดสินใจ เพื่อให้เกิดผลตอบแทนที่ดีขึ้น อันจะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้
2. ด้านการวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวและการจัดการเส้นทางการท่องเที่ยว
จากการทบทวนเอกสารสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว คือ การพิจารณารูปแบบเชิงกายภาพทางภูมิศาสตร์ โดยภาพ A แสดงถึงการเคลื่อนที่ออกจากที่ตั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะกลับเข้าที่ตั้งเดิมในวันเดียวกัน เป็นการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ภาพ B อธิบายได้ว่า เส้นทางใดๆ ที่ถูกใช้ในการเดินทางมากกว่าหนึ่งครั้งจะเกิดการสร้างเป็นเครือข่าย 9 ต่อเมื่อเพิ่มพื้นที่จุดหมายปลายทาง ดังภาพ C แสดงให้เห็นระบบที่มีจุดเชื่อมโยงที่มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกันเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม การพัฒนาการท่องเที่ยวยังคงอยู่บนพื้นฐานที่สำคัญของแนวคิดที่เริ่มจากถิ่นที่ตั้งไปยังเส้นทางจุดหมายปลายทาง และกลับสู่ที่ตั้ง เมื่อเส้นทางส่วนใดของการเดินทางมีเวลาเข้าชมนานกว่าจุดอื่นๆ หรือมีจำนวนผู้เข้าชมมากกว่านำไปสู่ลำดับขั้นของการพัฒนา
ที่มา: Haggett,1965.
3.ด้านการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม และการใช้สื่อสมัยใหม่ในการประชาสมัพันธ์
แนวคิดการสื่อสารเพื่อชุมชน หรือ “การใช้สื่อสารแบบมีส่วนร่วม” (Participatory Media) หมายถึงการสื่อสารที่ดำเนินการตามหลักประชาธิปไตย กล่าวคือ “เป็นการสื่อสารของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน” การสื่อสารจะต้องเป็นการสื่อสารแบบที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเต็มรูปแบบมีลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง (Two – way communication) ที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน (interactivity) มีทิศทางการไหลของข่าวสาร (Flow of Information) ที่หลากหลายมาจากทุกทิศทาง ทั้งจากบนลงล่าง (Top-down) แบบล่างสู่บน (Bottom-up) และแบบแนวนอน (Horizontal) และมีเป้าหมายสุดท้ายคือเพื่อพัฒนาชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี

ลดปัญหาความยากจน และสร้างรายได้จากการส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ร้อยละ 7 เป้าหมาย ระยะเวลา 1 ปี

7.00 1.00
2 เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 เส้นทาง

3.00 1.00
3 เพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่

ได้สื่อที่ทันสมัยและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 4 สื่อ

4.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สามาชิกชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว ต้นทุนและผลตอบแทนของเส้นทางการท่องเที่ยว อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว ต้นทุนและผลตอบแทนของเส้นทางการท่องเที่ยว อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นที่ สัมภาษณ์เชิงลึกโดยแบบสัมภาษณ์โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมการวิเคราะห์ปัญหา ของแต่ละกลุ่มเป้ามหายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP กลุ่มที่พักโฮสเสต์ กลุ่มร้านอาหาร กลุ่มผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน กลุ่มเอกชนบริษัททัวร์
2.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพ และข้อจำกัดและแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
3.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกระบวนการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน
4.ลงพื้นที่การติดตาม ปัญหา ข้อจำกัด
5.สรุปผลกลญ์ชาวบ้าน
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต :
1.ได้เส้นทางการท่องเที่ยวผ่านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเดิมของชุมชนท่องเที่ยว
ผลลัพธ์ :
1.ได้เส้นทางการท่องเที่ยวผ่านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชุนที่มีอยู่เดิม
ทรัพยากรอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3) พัฒนาชุมชน
4) เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5) เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6) สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7) สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุื
8) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 2 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 7,000.00

1 ครั้ง 3,500 2 7,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 (ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาเคมีคละสี (50 ด้าม X 20 บาท) 1,000.00

50 ชิ้น 20 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษปรู๊ฟ (150 แผ่น X 4 บาท) 400.00

150 ชิ้น 4 1 600
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00

3 ชุด 350 1 1,050
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอ (100 แท่ง X 5 บาท) 250.00

100 ชิ้น 5 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

เครื่องเหลาดินสอ (1 อัน X 250 บาท) 250.00

1 ชิ้น 250 1 250
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มเอกสารและซองใส่เอกสาร (4 อัน X 250 บาท) 750.00

4 ชิ้น 250 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คนX 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 16,100

กิจกรรมที่ 2 ระดมความคิดจากชุมชนเพื่อออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เหมาะสม

ชื่อกิจกรรม
ระดมความคิดจากชุมชนเพื่อออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เหมาะสม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นเพื่อสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวและเตรียมความพร้อมประสานงานการจัดอบรมของชุมชนท่องเที่ยว
2.ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนองค์วามรู้ด้านการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับกลุ่มเป้ามหายที่เกี่ยวข้อง
3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้องค์ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับการออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
3.จัดอบรมกลุ่มย่อยเพื่อหาแนวทางการสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวตามองค์ความรู้ที่ได้ร้ับผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชนทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
4.ลงพื้นที่ ติดตามผลการจัดอบรมเพื่อให้ได้เส้นทางการท่องเที่ยวที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมของชุมชน
5.สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต :
1. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใหม่ของชุมชนที่เหมาะสมและคุ้มค่า อีกทั้งสามารถสร้างรายได้ ร้อยละ 10 ของรายได้เดิม
2. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใหม่ที่ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างน้อย 3 เส้นทาง
ผลลัพธ์ :
1. ได้เส้นททางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตรงตามบริบทของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม และยอมรับร้อยละ 60
2. เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใหม่เป็นที่ยอมรับของชุมชนอย่างน้อยร้อยละ 60
ทรัพยากรอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวในอำเภอเขาวง
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3) พัฒนาชุมชน
4) เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5) เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6) สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7) สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุื
8) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (12 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน 7,200.00

1 คน 7,200 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (12 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 3 คน 10,800.00

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X 1 คัน X 3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 150 บาท) 13,200.00

44 คน 150 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 44 คน X 4 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 35 บาท) 6,160.00

44 คน 35 4 6,160
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 30 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 1,500.00

30 ชุด 50 1 1,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 30 ใบ X 150 บาท) 4,500.00

30 ชิ้น 150 1 4,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (2 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 1,200.00

2 คน 600 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (30 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 2วัน) X 150 บาท) 9,000.00

30 คน 150 2 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 (ไป- กลับ) 800.00

1 คน 800 1 800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 (ไป- กลับ) 800.00

1 คน 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 65,460

กิจกรรมที่ 3 เปิดบ้านต้อนรับ/ทดลองท่องเที่ยวตามเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่

ชื่อกิจกรรม
เปิดบ้านต้อนรับ/ทดลองท่องเที่ยวตามเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. เตรียมความพร้อมเพื่อเปิดบ้านต้นรับนักท่องท่องเที่ยว ผ่านการทดลองท่องเที่ยวตามเส้นทางที่ได้ออกแบบตามบริบทของชุมชน
2. กำหนดกลุ่มนักท่องเที่ยวที่จะมาทดลองการท่องเที่ยวผ่านเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเส้นทางที่เหมาะสมโดยผ่ายการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนที่คุ้มค้า จำนวน 80 คน
3. จัดโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (2 วัน 1 คืน) ตามเส้นทางการท่องเที่ยวที่ได้ผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน
4. ประเมินผล การทดลองการท่องเที่ยว ผลกระทบต่อกลุ่มเป้ามาย ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
5. สรุปผล และข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต :
1. ชุมชนเกิดรายได้จากการทดลองการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากรายได้เดิม
2.ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สามารถเพิ่มรายได้ให้กัเบชุมชนท่องเที่ยวอย่างน้อย 3 เส้นทาง
ผลลัพธ์
1)ได้เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 เส้นทาง
2)ได้เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีความยั่งยื่นและตรงตามความต้องการของนักท่องเที่ยว อย่างน้อย 3 เส้นทาง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3) พัฒนาชุมชน
4) เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5) เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6) สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7) สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุื
8) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 2 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 7,000.00

1 ครั้ง 3,500 2 7,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าทดลองเที่ยว (ค่าที่พัก) ( 80 คน X 1 ครั้ง X 850 บาท) 51,000.00

80 คน 850 1 68,000
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถตู้เพื่อทดลองท่องเที่ยว ( 1 ครั้ง X 8 คัน X 3,500 บาท X 2 วัน) 42,000.00

8 ครั้ง 3,500 2 56,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 (ไป- กลับ) 800.00

1 คน 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (2 กล่อง X 550 บาท) 1,100.00

2 ชิ้น 550 1 1,100
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 141,700

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนเส้นทางการท่องเที่ยวเดิม เปรียบเทียบกับเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่เพื่อหาเส้นทางการท่องเที่ยวที่สามารถเพิ่มรายได้แก่ชุมชนท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนเส้นทางการท่องเที่ยวเดิม เปรียบเทียบกับเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่เพื่อหาเส้นทางการท่องเที่ยวที่สามารถเพิ่มรายได้แก่ชุมชนท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นเตรียมความพร้อม ประสานงานการจัดอบรมของชุมชนท่องเที่ยว
2.จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการท่องเที่ยวแก่ชุมชน ให้เป็นองค์ความรู้แก่ชุมชนสามารถวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนได้ในการกำหนดเส้นทางการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน
3.จัดอบรมกลุ่มย่อยเพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าการกำหนดสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวที่มีอยู่เดิม และเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ที่ชุมชนมีส่วนร่วม
4.ลงพื้นที่เพื่อติดตามประเมินผลการจัดอบรม
5.สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้ต้นทุนและผลตอบแทนในเส้นทางการท่องเที่ยวที่สามารถยกระดับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยวอย่างน้อย 3 เส้นทาง
2.ชุมชนได้องค์ความรู้ในการคำนวณต้นทุนและผลตอบแทนเส้นทางการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง
ผลลัพธ์
1.ได้เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับชุมชนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเส้นทางเดิมอย่างน้อย 3 เส้นทาง
2.ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 7
ทรัพยากรอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวในเขตอำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
ภาคีร่วมสนับสนุน
1) สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2) ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3) พัฒนาชุมชน
4) เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5) เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6) สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7) สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุื
8) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (12 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 7,200.00

1 คน 7,200 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (12 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 3 คน) 10,800.00

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 150 บาท) 13,200.00

44 คน 150 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 4 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 35 บาท) 6,160.00

44 คน 35 4 6,160
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 30 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 1,500.00

30 คน 50 1 1,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 30 ใบ X 150 บาท) 4,500.00

30 ชิ้น 150 1 4,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (2 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 1,200.00

2 คน 600 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (30 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 2วัน) X 150 บาท) 9,000.00

30 คน 150 2 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 )(ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2) (ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 65,460

กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยวที่ให้ต้นทุนและผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีคืนข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยวที่ให้ต้นทุนและผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. ลงพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมประสานงานการจัดเวทีคืนข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแก่ชุมชน
2. จัดเวทีเพื่อคืนข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแก่ชุมชน
3. จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อข้อเสนอแนะเพิ่มเพิ่มเกี่ยวกับเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
4. ลงพื้นที่ติดตามประเมิล
5.สรุปผลและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สามารถเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวร้อยละ 10 จากรายได้เดิม
2. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน
3. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวที่ผ่านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนที่เกมาะและคุ้มค้ากับชุมชน
ผลลัพธ์
1 ได้เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 เส้นทาง
2 ได้องค์ความรู้ในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ยั่งยืน
3 ได้องค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนในการวิเคราะห์เส้นทางการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยและเส้นทางการท่องเที่ยวที่เหมาะสมและคุ้มค่าในเขตอำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
ภาคีร่วมสนับสนุน
1 สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2 ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3 พัฒนาชุมชน
4 เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5 เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6 สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7 สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศษสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (12 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 7,200.00

1 คน 7,200 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (12 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 3 คน) 10,800.00

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 2 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 7,000.00

1 ครั้ง 3,500 2 7,000
ค่าอาหาร

2.2 ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 150 บาท) 13,200.00

44 คน 150 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 4 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 35 บาท) 6,160.00

44 คน 35 4 6,160
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 30 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 1,500.00

30 ชุด 50 1 1,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 30 ใบ X 150 บาท) 4,500.00

30 ชิ้น 150 1 4,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (2 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 1,200.00

2 คน 600 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (30 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 2วัน) X 150 บาท) 9,000.00

30 คน 150 2 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 )(ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2) (ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (2 กล่อง X 550 บาท) 1,100.00

2 ชุด 550 1 1,100
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 72,560

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 ประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวที่ ผ่านเวทีความคิดเห็นจากชุมชนท่องเที่ยว โดยผ่านสื่อสมัยใหม่ให้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายทั้งชุมชน นักท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐ บริษัททัวร์ และอื่นๆ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6 ประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวที่ ผ่านเวทีความคิดเห็นจากชุมชนท่องเที่ยว โดยผ่านสื่อสมัยใหม่ให้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายทั้งชุมชน นักท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐ บริษัททัวร์ และอื่นๆ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
1. ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว
2. รวบรวมแหล่งท่องเที่ยวตามเส้นทางการท่องเที่ยวที่ได้ผ่านเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชน
3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่เพื่อเป็นองค์ความรู้ให้แก่ชุมชน
4. จัดอบรมกลุ่มเพื่อจัดทำสื่อสมัยใหม่ให้แก่ชุมชนให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายนักท่องเที่ยว
5. ลงพื้นที่ติดตามประเมิลผล และสรุปผลตามข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
ได้สื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ที่มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 4 สื่อ
ผลลัพธ์
1 ได้สื่อที่ทันสมัยและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายที่ยั่งยืน
2 ได้สกรุ๊ปข่าวและคลิปวีดีโอประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 5 คลิป
3 ได้กราฟฟิกแบนเนอร์ประชาสัมพันธ์ 10 ชัิน
4 ได้ภาพยนต์สารคดี 1 เรื่อง
5 ได้ช่องทางการสื่อสารออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค ยูทูป เป็นต้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
สื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ที่ตรงตามกลุ่มเป้าหมายนักท่องเที่ยว
ภาคีร่วมสนับสนุน
1 สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2 ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3 พัฒนาชุมชน
4 เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5 เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6 สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7 สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
9 สื่อสารมวลชนต่าง ๆ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (12 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 7,200.00

1 คน 7,200 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (12 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 3 คน) 10,800.00

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 150 บาท) 13,200.00

44 คน 150 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 4 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 35 บาท) 6,160.00

44 คน 35 4 6,160
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 30 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 1,500.00

30 ชุด 50 1 1,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 30 ใบ X 150 บาท) 4,500.00

30 ชิ้น 150 1 4,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (2 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 1,200.00

2 คน 600 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (30 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 2วัน) X 150 บาท) 9,000.00

30 คน 150 2 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2) (ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2) (ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 66,460

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7 สรุปผลโครงการและ ข้อเสนอแนะต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 7 สรุปผลโครงการและ ข้อเสนอแนะต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในชุมชนท่องเที่ยว เทศบาลตำบลกุมสินใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อวางแผนและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. เพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นที่ รวบรวมข้อ ติดตามประเมินผลทุกกิจกรรม
2.รวบรวมข้อมูลประมวลผลกระทบที่การดำเนินโครงงาร
3.จัดประชุมเพื่อนำเสนอการดำเนินโครงการในภาพรวม
4.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการจัดโครงงานครั้งต่อไป
5.จัดทำรายงาน/คูมือเพื่อเสนอต่อชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 9 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลลิต
1. ได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สามารถเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนท่องเที่ยวอำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์อย่างน้อย 3 เส้นทาง
2. ได้สื่อประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ที่มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อน่างน้อย 4 สื่อ
3. ได้นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น
ผลลัพธ์
1.ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นร้อยละ 7
2.เส้นทางการท่องเที่ยวเป็นที่ยอมรับจากชุมชนร้อยละ 60
3.นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 10
ทรัพยากรอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยว เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่คุ้มค่า และสื่อประชาสัมพัรธ์ที่ตรงตามเป้าหมายของนักท่องเที่ยว
ภาคีร่วมสนับสนุน
1 สภาวัฒนธรรมอำเภอเขาวง
2 ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
3 พัฒนาชุมชน
4 เทศบาลตำบลกุดสิมใหม่ อำเภอเขาวง
5 เทศบาลตำบลส่งเปลือย อำเภอเขาวง
6 สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7 สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ
9 สื่อสารมวลชนต่าง ๆ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (12 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 7,200.00

1 คน 7,200 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (12 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 3 คน ) 10,800.00

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X 1 คันX 3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 150 บาท) 13,200.00

44 คน 150 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 44 คน X 4 มื้อ (ครั้งละ 2 วัน) X 35 บาท) 6,160.00

44 คน 35 4 6,160
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 30 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 1,500.00

30 ชุด 50 1 1,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
อื่น ๆ

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ( 10 ชุด X 250 บาท) 2,500.00

10 ชุด 250 1 2,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 30 ใบ X 150 บาท) 4,500.00

30 คน 150 1 4,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (2 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 1,200.00

2 คน 600 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (30 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 2วัน) X 150 บาท) 9,000.00

30 คน 150 2 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 100 กม.X 2 )(ไป- กลับ) 800.00

1 ครั้ง 800 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (2 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชุด 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (2 กล่อง X 550 บาท) 1,100.00

2 ชุด 550 1 1,100
อื่น ๆ

(10 คน X 120 บาท X 2 วัน)

10 คน 120 2 2,400
รวมค่าใช้จ่าย 72,260

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 90,000.00 8,400.00 330,600.00 46,200.00 24,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 18.00% 1.68% 66.12% 9.24% 4.96% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7
- ชุมชนสามารถออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวที่เหมาะสมและคุ้มค้ากับบริบทของชุมชนอย่างน้อย 3 เส้นทาง
- ชุมชนได้สื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวสมัยใหม่อย่างน้อย 4 สื่อ
-ชุมชนได้เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ของรายได้เดิม
-ชุมชนมีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 10
- นักศึกษาจะเรียนรู้การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
- นักศึกษาได้ปฏิบัติจริงจากการที่ได้เรียนรู้หลักทฤษฎีและปฏิบัติแบบบูรณาการหลายศาสตร์ ทางด้านสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการท่องเที่ยว และสาขาวิชานิเทศศาสตร์
- นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชา ได้ดังนี้
1) รหัสวิชา 05-012-401 วิชาสัมมนาบัญชีการเงิน จำนวน 3 หน่วยกิต
2) รหัสวิชา 01-063-308 วิชาการวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว จำนวน 3 หน่วยกิต
3) รหัสวิชา CA-011-105 วิชาการเขียนบททางนิเทศศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลลัพธ์ (Outcome) - ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ต่อปี
- ชุมชนมีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นอย่างยั่งยืน
- ชุมชนได้สื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวสมัยใหม่ที่ใช้ได้อย่างยั่งยืน
- ชุมชนสามารถออกแบบเส้นทางกาท่องเที่ยวที่เหมาะสมและคุ้มค่าได้อย่างยั่งยืน
- ชุมชนได้เรียนรู้กระบวนการเพื่อให้สามารถคิดต้นทุนและผลตอบแทนในกิจกรรมการท่องเที่ยวตามเส้นทางซึ่งสามารถทำให้เกิดองค์ความรู้ที่มีความยั่งยืนในชุนชนท่องเที่ยว
- นักศึกษาจะเรียนรู้การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
- นักศึกษาได้ปฏิบัติจริงจากการที่ได้เรียนรู้หลักทฤษฎีและปฏิบัติแบบบูรณาการหลายศาสตร์ ทางด้านสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการท่องเที่ยว และสาขาวิชานิเทศศาสตร์
- นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากการบูรณาการหลายสาขาวิชาไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต
- นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชา ได้ดังนี้
1) รหัสวิชา 05-012-401 วิชาสัมมนาบัญชีการเงิน จำนวน 3 หน่วยกิต
2) รหัสวิชา 01-063-308 วิชาการวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว จำนวน 3 หน่วยกิต
3) รหัสวิชา CA-011-105 วิชาการเขียนบททางนิเทศศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) - ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ต่อปี
- นักท่องเที่ยวรู้จักแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนมากขึ้นทุกปี
- ชุมชนสามารถออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวได้ตรงตามบริบทของชุทชนและสนองตอบต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว
- ชุมชนได้สื่อการประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ที่ใช้ได้อย่างยั่งยืน
- ชุมชนมีองค์ความรู้ด้านการบริหารต้นทุนของกิจกรรมการท่องเที่ยวได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน
- นักศึกษาจะเรียนรู้การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
- นักศึกษาได้ปฏิบัติจริงจากการที่ได้เรียนรู้หลักทฤษฎีและปฏิบัติแบบบูรณาการหลายศาสตร์ ทางด้านสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการท่องเที่ยว และสาขาวิชานิเทศศาสตร์
- นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้จากการบูรณาการหลายสาขาวิชาไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างยั่งยืน
- นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชา ได้ดังนี้
1) รหัสวิชา 05-012-401 วิชาสัมมนาบัญชีการเงิน จำนวน 3 หน่วยกิต
2) รหัสวิชา 01-063-308 วิชาการวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว จำนวน 3 หน่วยกิต
3) รหัสวิชา CA-011-105 วิชาการเขียนบททางนิเทศศาสตร์ จำนวน 3 หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย marut.ph marut.ph เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 09:50 น.