การเพิ่มศักยภาพการผลิตเพื่อการส่งออกมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล วิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มศักยภาพการผลิตเพื่อการส่งออกมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล วิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มศักยภาพการผลิตเพื่อการส่งออกมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล วิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตรคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาเกษตรศาสตร์,สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร,สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร,สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร,สาขาวิชาภาษาจีน, สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน,ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม หมู่2 และหมู่9 ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์สุอารีย์ นครพันธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคามรหัสไปรษณีย์44000โทรศัพท์ 043-725439เบอร์มือถือ 080-1664355อีเมลล์ su_aree@hotmail.comอาจารย์สุอารีย์นครพันธุ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตรคณะเทคโนโลยีการเกษตร
อาจารย์ปาริชาติราชมณี อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ผศ.ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์อาจารย์ประจำสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
อาจารย์พิณพร คงแท่น อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาภาษาจีนคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
รายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
1.นายอดิศักดิ์ ภูลายสี หมายเลขบัตรประชาชน1469900410704 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา เครือข่าย 1 รหัสวิชา 7011201 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-2-5)
2.นายนรา จันดาหัวดง หมายเลขบัตรประชาชน1302400013051 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา เครือข่าย 1 รหัสวิชา 7011201 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-2-5)
3.นางสาวกนกกร วงค์ละคร หมายเลขบัตรประชาชน1450701363708 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา เทคโนโลยีการสารสนเทศเกษตรและการพัฒนาชนบท รหัสวิชา 5012104 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-2-5)
4.นายพิเชษฐ์ ภูดวง หมายเลขบัตรประชาชน1461201206060 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา เทคโนโลยีการสารสนเทศเกษตรและการพัฒนาชนบท รหัสวิชา 5012104 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-2-5)
5.นายวาทินกมลช่วง หมายเลขบัตรประชาชน1469900430403 หลักสูตร(วท.บ. เกษตรศาสตร์)
เทียบโอนในรายวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ รหัสวิชา 5002392 จำนวน 3 หน่วยกิต(0-9-5)
6.นางสาวธัญชนก จันทรโนนแซง หมายเลขบัตรประชาชน1400800106771 หลักสูตร(วท.บ. เทคโนโลยีการอาหาร)
เทียบโอนในรายวิชาแปรรูปอาหาร1 รหัสวิชา5007231 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
7.นางสาวนิลาวัลย์ คำภาอ่อน หมายเลขบัตรประชาชน1469900452741 หลักสูตร(วท.บ. เทคโนโลยีการอาหาร)
เทียบโอนในรายวิชาแปรรูปอาหาร1 รหัสวิชา5007231 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
8.นางสาวประกายเพชรบุตรชนหมายเลขบัตรประชาชน 2459900031787 หลักสูตร(ศศ.บ. สาขาภาษาจีน)
เทียบโอนในวิชาภาษาจีนสำหรับการตลาด1 รหัสวิชา3030331 จำนวน 3หน่วยกิต(2-2-5)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ หนองกุงศรี หนองหิน

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากอำเภอหนองกุงศรี 22 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ 94 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครองเป็น หมู่ ๒ และหมู่ ๙ มีครัวเรือนจำนวน 274 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 824 คน (องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน,2562)ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร ปลูกพืชเศรษฐกิจ และประมง ได้แก่ มะม่วงมหาชนก อ้อย มันสำปะหลัง และปลานิลกระชังพ.ศ.2539 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสนับสนุนโครงการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริโดยสนับสนุนไม้ผลพันธุ์ดีและไม้ดอกเช่น มะม่วง (พันธุ์มหาชนกเพชรบ้านลาดหนองแซง) มะนาวลำไยลิ้นจี่ทับทิมชมพู่ทับทิมจันทร์ส้มโอดอกแกลดิโอลัสและแฝกเป็นต้น โดยอยู่ในเขตพื้นที่หมู่บ้านหนองบัวชุมตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพการผลิตไม้ดอกไม้ผลการขยายพันธุ์ บริโภคและจำหน่ายซึ่งพืชที่ปลูกได้ผลผลิตและจำหน่ายได้ราคาดีที่สุด คือมะม่วงพันธุ์มหาชนก พ.ศ.2541 เกษตรกรจึงได้ขยายพันธุ์มะม่วงมหาชนก โดยนำไปปลูกในแปลงส่วนตัว ผลผลิตที่ได้ นำไปจำหน่ายในตลาดท้องถิ่นเช่น ในหมู่บ้านตำบล อำเภอจังหวัด โดยมีหน่วยงานราชการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จัก และเริ่มมีแม่ค้าเข้าไปซื้อที่แปลงเกษตร พ.ศ.2548 นายจันทร์ศรีพวงมาลัยได้ประสานงานกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพื่อหาทางจำหน่ายมะม่วงมหาชนกไปยังต่างประเทศซึ่งทางมหาวิทยาลัยได้แนะนำให้จำหน่ายกับบริษัททิม ฟู้ด ซึ่งได้ราคาที่ดีขึ้นกว่าจำหน่ายในตลาดท้องถิ่นมากเป็นสาเหตุให้เกษตรในหมู่บ้านและพื้นที่ใกล้เคียงขยายพื้นที่ปลูกมะม่วงมหาชนกเพิ่มขึ้นจำนวนมาก พ.ศ.2554 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรได้ทำการส่งเสริมและสนับสนุนการรับรอง GMP (GoodManufacturing Practice) แบบกลุ่ม เนื่องจากว่าตลาดมีความต้องการมะม่วงที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรจึงได้มีการรวมกลุ่มของผู้ปลูกมะม่วงมหาชนก สมัครขอรับรอง GMPกลุ่ม(เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงมหาชนกหนองบัวชุม, 2555) ปัจจุบันมะม่วงมหาชนกเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผลไม้รับประทานสุก แหล่งผลิตส่วนใหญ่อยู่ที่อำเภอหนองกุงศรี มีพื้นที่ปลูก 1,073 ไร่ มีผู้ปลูก 165 ราย ผลผลิตปีละประมาณ 1,752 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,800 กิโลกรัม ต่อไร่ สร้างรายได้ให้เกษตรกร คิดเป็นมูลค่ากว่า 30 ล้านบาทปริมาณการส่งออกเติบโตอย่างรวดเร็วเป็นผลไม้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรตเส้นใยอาหาร วิตามินโดยเฉพาะวิตามินเอในรูปของเบต้าแคโรทีน และแร่ธาตุต่างๆ เช่น แคลเซียม และโพแทสเซียม(USDA Agricultural Research Service, 2008) ต่างประเทศมีความต้องการมาก เช่น ประเทศญี่ปุ่น จีน และเกาหลี แต่กระบวนการส่งออกมะม่วงไปต่างประเทศ ต้องผ่านการตรวจสอบ เพื่อรับรองการปลอดศัตรูพืช โดยเฉพาะแมลงวันทองและปลอดสารพิษตกค้าง ยิ่งไปกว่านั้นเงื่อนไขของบางประเทศที่นำเข้ามะม่วงมหาชนกจากไทยยังกำหนดให้มีผลผลิตที่มาจากแปลงผลิตที่ได้รับการรับรอง จีเอพี (GAP) หรือเกษตรดีที่เหมาะสม การจำหน่ายมีพ่อค้ามารับซื้อที่สวน เพื่อส่งบริษัท ซีพีฯ บริษัท ทิมฟู๊ดฯ บริษัท สวิฟฯ บริษัท ไชน์โฟร์ท จำกัด เพื่อส่งจำหน่ายตลาดในประเทศและต่างประเทศ ส่งญี่ปุ่น ในรูปแปรรูปมะม่วงแช่แข็ง ตลาดฮ่องกง ต้องการผล ขนาด 3.4-4.5 ขีด ต่อผล ตลาดยุโรป ต้องการผล ขนาด 3.4-4.5 ขีด ต่อผล ตลาดญี่ปุ่นชอบมะม่วงมหาชนกผลสีแดง ขนาดผล3.5-4.5 ขีด (โอภาส, 2557)ซึ่งมะม่วงมหาชนกจัดได้ว่าเป็นผลไม้ที่ประเทศไทยมีการผลิตในปริมาณที่มาก และมีศักยภาพในการส่งออก จึงได้มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อให้เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ โดยสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการผลักดันให้สินค้าการเกษตรของประเทศไทยมีระบบการย้อนกลับ เพื่อเพิ่มความสามารถในการส่งออกระหว่างประเทศ โดยสินค้าที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจะต้องมีข้อมูลผู้ผลิต และผู้จัดจำหน่าย รวมถึงข้อมูลแหล่งผลิตโดยให้ระบุประเทศและพื้นที่ผลิตด้วย (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2550)ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก บ้านหนองบัวชุม หมู่ 2 ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นธุรกิจภาคเกษตรที่เป็นการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงมหาชนก มีจำนวนสมาชิกเป็นคนในท้องถิ่น โดยได้รวมกลุ่มกันเพื่อรวบรวมส่งผลผลิต(มะม่วงมหาชนก) เพื่อจำหน่ายให้กับภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้ ได้มีการจำหน่ายผลผลิตให้กับบริษัทหลายบริษัท รวมทั้งส่งออกไปยังต่างประเทศ ส่งผลทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มจากการปลูกมะม่วงมหาชนกกลุ่มฯมีที่ตั้งเป็นศูนย์กลางและที่ทำการเลขที่ 46 หมู่ที่ 2 ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์
ปัญหาที่พบเนื่องจากว่าวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นกลุ่มที่ดำเนินการจัดส่งมะม่วงมหาชนกในรูปแบบผลสดส่งบริษัทดังนั้นการดำเนินการตั้งแต่การผลิต จนถึงการจัดการผลผลิตจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากโดยเฉพาะการผลิตสินค้าที่มีความปลอดภัย และได้มาตรฐานสินค้า GAP ส่งออก และทางบริษัทเริ่มมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆเข้ามาใช้ในการตรวจสอบสินค้ามากขึ้นเพื่อให้ได้มาตรฐานตามหลักสากลแต่พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและมีความรู้ด้านเทคโนโลยีน้อยดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นมากที่ต้องมีการนำองค์ความรู้ในด้านเทคโนโลยีที่จะนำเข้ามาช่วยในการพัฒนาผลผลิตให้ได้คุณภาพตามที่บริษัทต้องการ
ด้วยเหตุนี้การมีส่วนร่วมของนักวิชาการนักศึกษา หน่วยงานภาครัฐและชุมชน จะสามารถทำให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ มีรายได้จากการนำองค์ความรู้ไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้ได้มาตรฐานทั้งปริมาณและคุณภาพ และประโยชน์เชิงนโยบาย สามารถตอบสนองแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ในการพัฒนาศักยภาพการผลิตการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ที่จะช่วยขับเคลื่อนสังคมและประเทศชาติให้หลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของประชาชนในประเทศไทยต่อไป
นำเทคโนโลยีนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาช่วยในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพมาตรฐานส่งออก
ประกอบกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด) โดยมีเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด คือ นวัตกรรมนำ เกษตรกรรมยั่งยืน อุตสาหกรรมการเกษตร เชื่อมโยงการบริการการท่องเที่ยว ระบบโลจิสติกส์และระบบราง ซึ่งประเด็นการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด เน้นการพัฒนาศักยภาพการผลิตการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน และแผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ์ ประเด็นการพัฒนาที่ 1 พัฒนาศักยภาพที่มุ่งเน้นการผลิตสินค้าการเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยมีเป้าประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันและรายได้ภาคการเกษตรของจังหวัดโดยมีแนวทางการพัฒนาด้วยการวิจัยและพัฒนาวิธีการผลิต แปรรูป การบรรจุ มาตรฐานการผลิตและความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ ด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี ให้มีคุณภาพระดับสูง เพื่อการส่งออกและรองรับตลาดสมัยใหม่ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ใหม่ จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) มาตรฐาน GAP สำหรับการผลิตมะม่วงมหาชนกเพื่อการส่งออก 2) ระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone3) เทคโนโลยีแปรรูปมะม่วงมหาชนกตกเกรด และเหลือทิ้งจากการจำหน่าย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้กระบวนการผลิตมะม่วงมหาชนกตามมาตรฐาน GAP ทำให้เกษตรกรเป็นต้นแบบในการผลิตมะม่วงมหาชนกเพื่อการส่งออก 1 กระบวนการ

100.00 0.00
2 เพื่อเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้ต้นแบบเทคโนโลยีระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง
ด้วยเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone ทำให้ได้ผลผลิตมะม่วงมหาชนกที่มีคุณภาพการส่งออก 1 ระบบ

100.00 0.00
3 เพื่อเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ได้ผลิตภัณฑ์มะม่วงหนึบจากมะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้ง 1 ผลิตภัณฑ์

100.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาที่ร่วมโครงการ 10
วิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก 60
เกษตรกรทั่วไปที่สนใจ 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจพื้นที่ ประชุมชี้แจงเก็บรวบรวมข้อมูลการผลิตมะม่วงมหาชนกเพื่อการส่งออก รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์วางแผนงาน ร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

ชื่อกิจกรรม
สำรวจพื้นที่ ประชุมชี้แจงเก็บรวบรวมข้อมูลการผลิตมะม่วงมหาชนกเพื่อการส่งออก รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์วางแผนงาน ร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
  2. เพื่อเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. เพื่อเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงสำรวจพื้นที่ จัดประชุม ชี้แจงทำความเข้าใจกับกลุ่มเกษตรกร
2.เก็บรวมรวมข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลการผลิตเพื่อการส่งออกทั้งหมด
3.วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน
4.วางแผนการดำเนินกิจกรรมร่วมกัน
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 7 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้แผนดำเนินโครงการตามกิจกรรมที่เหมาะสมและได้เตรียมพร้อมในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนอหิน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าประชุม

80 คน 150 2 24,000
ค่าอาหาร

อาหารว่าง

80 คน 35 4 11,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวัสดุสำนักงาน

1 คน 5,000 1 5,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่

1 คน 5,000 2 10,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถตู้

1 คน 3,500 2 7,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 1,000 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 59,200

กิจกรรมที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2563 ถึง 17 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้กระบวนการผลิตมะม่วงมหาชนกได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออก
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนอหิน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

80 คน 150 2 24,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง

80 คน 35 4 11,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร 4 คน คนละ3ชม. ชั่วโมงละ1200บาท

4 คน 3,600 1 14,400
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธุ์

2 คน 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าเอกสารการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ

80 คน 150 1 12,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถตู้

1 คน 3,500 2 7,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 10,000 1 10,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 200 1 16,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เอกสารมาตรฐานสินค้า GAP ส่งออก

80 คน 300 1 24,000
รวมค่าใช้จ่าย 131,600

กิจกรรมที่ 3 การเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
การเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.สร้างต้นแบบระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง
ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone
แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์แปลงสาธิต 1 แปลง
2.ถ่ายทอดองค์ความรู้
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เทคโนโลยีระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนอหิน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

80 คน 150 2 24,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง

80 คน 35 4 11,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ Internet of Things (IOT) ชุดอุปกรณ์ Internet of Things (IOT) กล่อง 500 บาท,บอร์ดราสเบอร์รี่ พาย (Raspberry Pi3) 3,000 บาท, เซ็นเซอร์ (Sensor) วัดความเข้มของแสง TSL2561 ตัว 500 บาท ,วัดค่าความชื้นในดิน (YL-69) ตัว 500 บาท,เซ็นเซอร์วัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (H-101 pH) ตัว 500 บาท,เซนเซอร์สาหรับวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ ตัว 500 บาท Relay Module 4 Channels ตัว 500 บาท,SOLENOID VALVE ตัว 1,000 บาท,สายไฟ 3,000 บาท,ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ไฟเลี้ยงอปุกรณ์ 5,000 บาท,ค่าอินเตอร์เน็ต 300 บาท รวม16,300x3ชุด=48,900บาท

3 ชุด 16,300 1 48,900
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าคู่มือเอกสารการอบรมเชิงปฏิบัติการ

80 คน 100 1 8,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 คน 1,500 1 3,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 200 2 32,000
รวมค่าใช้จ่าย 141,500

กิจกรรมที่ 4 การเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
การเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ
การเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร
ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์มะม่วงหนึบจากมะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้ง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนอหิน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

80 คน 150 2 24,000
ค่าอาหาร

อาหารว่าง

80 คน 35 4 11,200
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 3,600 1 14,400
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าไวนิลโครงการ

2 ชิ้น 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการอบรม

16 ชุด 2,000 1 32,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน 200 2 32,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 คน 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 126,600

กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
การติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะม่วงมหาชนกด้วยนวัตกรรมสู่มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออกของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
  2. เพื่อเพิ่มศักยภาพระบบน้ำอัจฉริยะภายใต้สภาวะน้ำแล้ง ด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ IOT บน Smart Phone แบบบูรณาการมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. เพื่อเพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกที่ตกเกรดและเหลือทิ้งด้วยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.ติดตามผลการดำเนินโครงการ
2.ดำเนินการประเมินโครงการ
3.สรุปผลและประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ทราบผลการประเมินโครงการความสำเร็จของโครงการการนำไปใช้ประโยชน์จากชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนอหิน,กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 60 คน 200 1 12,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 5,900 1 5,900
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

60 คน 150 1 9,000
ค่าอาหาร

อาหารว่าง

60 คน 35 2 4,200
ค่าเช่าสถานที่ 1 คน 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 41,100

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 142,200.00 9,000.00 208,000.00 140,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 28.44% 1.80% 41.60% 28.16% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) เกษตรกรสามารถรับการถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนํามาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเกษตรกรเอง โดยเกษตรกรสามารถผลิตมะม่วงมหาชนกได้ตามมาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออก โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรแม่นยำเข้าช่วยในการบริหารจัดการ เพิ่มมูลค่ามะม่วงมหาชนกตกเกรดและเหลือทิ้งทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลผลิตให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนและสังคม ตามแบบฉบับของเกษตร 4.0 นักศึกษาได้มีโอกาสประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเองและบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นในลักษณะสหสาขาวิชาเพื่อการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพื้นที่โดยอาศัยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริงและนักศึกษาได้ทราบแนวทางและวิธีการคิดเพื่อการประกอบอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้จากทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นของตน
ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายเกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลผลิตให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชนและสังคม ตามแบบฉบับของเกษตร 4.0 นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหา และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ก่อให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง มีการพัฒนาที่ยั่งยืน และก้าวไปสู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) อีกทั้งสามารถที่จะพึ่งตนเองแก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีมาบูรณาร่วมกัน นักศึกษาได้เห็นช่องทางและโอกาสในการสร้างอาชีพและพัฒนาตนเองไปเป็นผู้ประกอบการ และสร้างความเป็นผู้มีจิตสาธารณะ
นำเข้าสู่ระบบโดย suaree suaree เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2562 20:50 น.