การเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่การเป็นผู้ประกอบการตามแนวคิดฮาลาลันต็อยยิบัน

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่การเป็นผู้ประกอบการตามแนวคิดฮาลาลันต็อยยิบัน

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่การเป็นผู้ประกอบการตามแนวคิดฮาลาลันต็อยยิบันมหาวิทยาลัยฟาฏอนีมหาวิทยาลัยฟาฏอนีสหกรณ์จังหวัดปัตตานีชุมชนมายอ ชุมชนลูโบะยีไร ชุมชนลางา ชุมชนสะกำ ชุมชนตรังนายซุลกอรนัยน์ เบ็ญยามหาวิทยาลัยฟาฏอนี 135/8 ม.3 ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 941600833996370ดร.อิสมาอีลราโอบ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ปัตตานี มายอ ลุโบะยิไร

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลมายอ ได้ยกระดับจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาล ตาม พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 เดิมมีพื้นที่ 5.1ตารางกิโลเมตร และได้ยุบรวมกับสภาตำลบมายอเข้ากับเทศบาล เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2547 ทำให้มีพื้นที่ รวม 11 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดปัตตานี ห่างจากจังหวัดปัตตานีตามเส้นทางแผ่นดิน – ปาลัส – มายอ ระยะทาง 40 กิโลเมตร ระยะห่างจากจังหวัดยะลา 39 กิโลเมตร จังหวัดนราธิวาส 67 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทฑมหานคร 1053กิโลเมตร มีประชากร 4521 คน แยกเป็นหญิง 2263 คน ชาย 2258 คน มีจำนวนครัวเรือน1053 ครัวเรือน (สำรวจเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2556) มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ จดบ้านปาแย หมู่ที่ 3 ตำบลมายอ
ทิศใต้จดบ้านบาลูกาตือเงาะ หมู่ที่1 ตำบลมายอ
ทิศตะวันออกจดบ้านดูวา หมู่ที่ 3 ตำบลถนน
ทิศตะวันตก จดบ้านราเกาะ หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะจัน
สภาพเศรษฐกิจและสังคมโดนรวม
เทศบาลตำบลมายอ มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก อันมีสวนยางพาราและสวนผลไม้ การทำกสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์ เพื่อยังชีพ ส่วนการค้ามีอยู่ในเขตเทศบาลตำบลมายอ มีเส้นทางคมนาคมที่สามารถติดต่อชุมชนใกล้เคียงที่สะดวกและมีศักยภาพที่จะทำให้เป็นศูนย์การค้า สามารถพึ่งพาตัวเองได้จารรายได้เทศบาลในระดับหนึ่ง
ลักษณะของชุมชนในเขตเทศบาลจะอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มตามแนวเส้นทางคมนาคม จำนวน 7 ชุมชน สำหรับแนวโน้มการขยายตัวของชุมชน ยังคงกระจายอยู่โดยรอบชุมชนเดิมบริเวณตลาดมายอ และมีบางส่วนขยายตัวไปทางทิศใต้ตามริมทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4061 (ถนนยะรัง – ปะนาเระ)
เขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลมายอ คือ หมู่ที่ 1 บ้านมายอ หมู่ที่ 2 บ้านมะหยอ และหมู่ที่ 3 บ้านปาแย มีประชากรในเขตเทศบาลจำวนทั้งสิ้น 4521 คน ประชากรชายจำนวน 2258 คน ประชากรหญิงจำนวน 2263 คน มีครัวเรือนจำนวน 1053 หลังคาเรือน
สภาพภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีภูเขาล้อมรอบ มีคลองราเกาะไหลผ่านบริเวณรอยต่อกับบ้านราเกาะ หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะจัน
ลักษณะภูมิอากาศ โดยทั่วไปมีลักษณะชุ่มชื้นตลอดปี มีฝนตกชุก มี 2 ฤดู คือฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือน กรกฎาคม – กันยายน และฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน
อุณหภูมิสูงสุด31.93 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิต่ำสุด23.54 องศาเซลเซียส
ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยตลอดทั้งปี 9.66 มิลลิเมตรต่อปี (ข้อมูล ณ 30 ธันวาคม 2545)
- สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น
เกิดปัญหาไฟป่าเป็นประจำ
- แนวทางการปรับปรุงแก้ไข
สร้างแนวป้องกันไฟป่าการใช้ที่ดิน
- สภาพที่เป็นจริงในปัจจุบัน
ใช้ในการทำการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะส่วนยางเป็นสวนใหญ่ ส่วนลองกอง การทำนามากจนถึง 80%
ที่อยู่อาศัย
- สภาพที่เป็นจริงในปัจจุบัน
การขนส่ง
- สภาพที่เป็นจริงในปัจจุบัน
- สถิติประชากรและบ้าน ระดับตำบล ของตำบลมายอ
- สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นถนนไม่สามารถเข้าไปถึงทุกๆหมู่บ้าน
- แนวทางการปรับปรุงแก้ไข จัดทำประมูลและเร่งทำโครงการให้แล้วเสร็จ 6 สิ่งแวดล้อมและปัญหาของเมือง
- สภาพที่เป็นจริงในปัจจุบันปัญหายุงลาย
- สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นลูกน้ำยุงลายจะมีเป็นจำนวนมากในช่วงฤดูฝน
- แนวทางการปรับปรุงแก้ไข
- พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
- ขุดลอกทำความสะอาดคูระบายน้ำ
- การใช้ทรายอะเบทกำจัดยุงลาย
- ฝึกอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน
มีความต้องการหลุดพ้นจากกับดักจากความยากจนหรือการมีรายได้น้อยของชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. หลักสูตรการจัดทำบัญชีตามแนวคิดฮาลาลันต็อยยิบัน
2.ชุดฝึกการจัดทำบัญชี
3.เว็บไซต์หลักสูตรตามแนวคิดฮาลาลันต็อยยิบัน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อศึกษารูปแบบการจัดทำบัญชีตามกระบวนฮาลาลันต๊อยยีบัน

องค์ความรู้การจัดทำบัญชีตามกระบวนฮาลาลันต๊อยยีบัน

1.00 1.00
2 2.เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน

ได้หลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน

1.00 1.00
3 3.อบรมการใช้หลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน

ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจหลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบันร้อยละ 80%

1.00 1.00
4 4.การนำหลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบันไปใช้และประเมิน

ลดต้นทุนเพิ่มรายได้ของวิสาหกิจชุมชน

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 5 ชุมชนๆละ 6 คน 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาเอกสาร ลงพื้นที่สัมภาษณ์

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาเอกสาร ลงพื้นที่สัมภาษณ์
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อศึกษารูปแบบการจัดทำบัญชีตามกระบวนฮาลาลันต๊อยยีบัน
รายละเอียดกิจกรรม
ศึกษาเอกสารประกอบข้อมูลของชุมชนและลงพื้นที่สัมภาษณ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ด้องค์ความรู้ประกอบการจัดทำหลักสูตรทั้งที่เป็นข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน
วัตถุประสงค์
  1. 2.เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน
รายละเอียดกิจกรรม
จัดร่างหลักสูตรและนำเสนอต่อผูู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้ากระบวนการวิพากษ์หลักสูตร
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้หลักสูตรรฝึกอบรมการเพิ่มขีดความสามารถด้านบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 3 อบรมการใช้หลักสูตรให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ 5 ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมการใช้หลักสูตรให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ 5 ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. 3.อบรมการใช้หลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบัน
รายละเอียดกิจกรรม
จัดอบรมการใช้หลักสูตรให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ 5 ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 4 การนำหลักสูตรไปใช้ตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยบยีบันและประเมิน

ชื่อกิจกรรม
การนำหลักสูตรไปใช้ตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยบยีบันและประเมิน
วัตถุประสงค์
  1. 4.การนำหลักสูตรบัญชีตามกระบวนการฮาลาลันต๊อยยีบันไปใช้และประเมิน
รายละเอียดกิจกรรม
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนำหลักสูตรไปใช้ในองค์กรและมีการนิเทศการใช้หลักสูตรและประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 20,000 1 40,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 1 คน 2,000 5 10,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ชิ้น 2,000 2 12,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 10,000 2 20,000
ค่าอาหาร 40 คน 250 4 40,000
รางวัลเพื่อการยกย่อง 5 คน 5,000 1 25,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 2 30,000
ค่าถ่ายเอกสาร 40 คน 200 4 32,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน 1,500 2 90,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 30 คน 500 2 30,000
ค่าที่พักตามจริง 20 คน 900 1 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 347,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 347,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 140,000.00 12,000.00 165,000.00 30,000.00 347,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 40.35% 3.46% 47.55% 8.65% 100.00%

11. งบประมาณ

347.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1.รู้จักการบันทึกบัญชี
2.ลดต้นทุนของวิสาหกิจชุมชน
3.เพิ่มรายได้ต่อวิสาหกิจชุมชน
1.เรียนรู้ทักษะการเข้าชุมชน
2.รู้และเข้าใจกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
3.รู้จักการบันทึกบัญชีประจำวันและการออม
ผลลัพธ์ (Outcome) มีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
ผลกระทบ (Impact) ลดความเหลื่อมหล้ำในสังคม และแก้ปัญหาความยากยนได้อย่างยั่งยืน สามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดเป็นธุรกิจส่วนตัวได้ในอนาคต
นำเข้าสู่ระบบโดย zulgornai zulgornai เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2562 15:54 น.