การเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจของเกษตรกรผู้ปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจของเกษตรกรผู้ปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจของเกษตรกรผู้ปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ และสาขาวิชาการตลาด คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์นางสาวอภิญญา ภูมิสายดอน22 หมู่ 12 บ้านหนองกุงศรี ตำบลหนองกุงศรี อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์08549244561. นางสาวศิริลักษณ์ สมการ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1460700229749 / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) / รายวิชาเทียบโอน 03-051-404 ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร / จำนวน 3 หน่วยกิต
2. นางสาวอัญชลี การสอาด / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900350345 /สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) /รายวิชาเทียบโอน 03-051-404 ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร / จำนวน 3 หน่วยกิต
3. นางสาววิจิตรา ณะตะวัน / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900400857 /สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) /รายวิชาเทียบโอน 03-051-404 ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร / จำนวน 3 หน่วยกิต
4. นายกฤษณพล อัปมะกา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 4600900273652 /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน/ จำนวน 3 หน่วยกิต
5. นายวิษณุ สันตวงศ์ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1419901781544 / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) / รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน/ จำนวน 3 หน่วยกิต
6. นายณัฐกร เทียนชัย / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1301500238819 /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน/ จำนวน 3 หน่วยกิต
7. นายฐิติ ภูผาพันธุ์ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900379734 / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) / รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน/ จำนวน 3 หน่วยกิต
8. นางสาววารุณี วรวรรณ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900247871 / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน/ จำนวน 3 หน่วยกิต
9. นายฐิติวุฒิ วันสวัสดิ์ / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900395829 / สาขาวิชาการตลาด (บธ.บ. การตลาด) /รายวิชาเทียบโอน 05-031-402 สัมมนาทางการตลาด/ จำนวน 3 หน่วยกิต
10. นางสุภาพร พุ่มริ้ว / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร / อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
11. นายภัคคิป ไกรโสดา / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล / อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
12. นายสุพจน์ ดีบุญมีื / สาขาวิชาการตลาด / อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด อิตื้อ

3. รายละเอียดชุมชน

เกษตรกรกลุ่มปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ประชากรร้อยละ 80 ทำเกษตรกรรมปลูกเห็ดและทำนาเป็นอาชีพหลัก โดยในตำบลอิตื้อ เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอยางตลาด มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านแก 1หมู่ 2 บ้านแก 2 หมู่ 3 บ้านแก 3 หมู่ 4 บ้านแก 4 หมู่ 5 บ้านดอนขี หมู่ 6 บ้านดอนสวรรค์ หมู่ 7 บ้านยางคำ หมู่ 8 บ้านหนองแวงบ่อแก้ว หมู่ 9 บ้านดอนลำดวน หมู่ 10 บ้านหนองแวงใต้ หมู่ 11 บ้านคำขอนแก่น ทิศเหนือ ติดกับ ต.กุดโดน อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์ ทิศใต้ ติดกับ ต.หัวนาคำ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองขาม อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก ติดกับ ต.โนนสูง อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก คือ ทำนา และเพาะปลูกเห็ด ส่วนอาชีพเสริมคือรับจ้างทั่วไปมีการเพาะเห็ดเป็นอาชีพหลักรองจากการทำนา ได้แก่ เห็ดบดหรือเห็ดกระด้าง เห็ดขอนขาว เห็ดนางฟ้า เป็นเห็ดคุณภาพดี สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง เพาะไม่มีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ของชุมชน ได้แก่ เห็ด และขนมทองม้วนในบางฤดูกาลเกษตรกรเผชิญกับปัญหาสินค้าเกษตรล้นตลาด และต้นทุนจากค่าแรงงานที่สูงเนื่องจากการขาดแคลนแรงงานรวมทั้งปัญหาการไม่มีเครื่องมือในการทุ่นแรงในการผสมส่วนผสมของก้อนเห็ดส่งผลในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดที่ไม่มีประสิทธิภาพ เกิดความล่าช้าและไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในกระบวนการฆ่าเชื้อก้อนเห็ดเกษตรกรยังคงใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อนแก่ตู้นึ่งฆ่าเชื้อก้อนเห็ดซึ่งก่อให้เกิดปัญหามลพิษภายในหมู่บ้านและต้องใช้แรงงานคนในการคอยเติมฟืนอยู่ตลอดกระบวนการฆ่าเชื้ออีกด้วย รวมทั้งปัญหาการขาดความรู้ในการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับเห็ด และช่องทางการจัดจำหน่ายต้องการปรับปรุงกระบวนการฆ่าเชื้อก้อนเห็ดแทนการใช้ฟืนที่เป็นแหล่งกำเนิดความร้อน และต้องการเครื่องทุ่นแรงในการผสมขี้เลื่อยในการผสมส่วนผสมที่ใช้ทำก้อนเห็ดแทนการใช้แรงงานคน นอกจากนี้ยังต้องการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากเห็ดเพื่อเพิ่มมูลค่า และเพิ่มช่องทางการวางจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ด

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

คณะทำงานโครงการจึงสนใจที่จะนำองค์ความรู้พร้อมทั้งนักศึกษาจากหลากหลายสาขาลงไปวิเคราะห์ ประมวลผลชุมชน โดยจะทำงานร่วมกับชุมชนในการแก้ปัญหาความยากจนของคนในชุมชน โดยมีแนวทางที่จะเสริมสร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้การนำผลผลิตเห็ดที่ปลูกจากกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้มาแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จะสามารถช่วยลดปัญหาสินค้าที่จำหน่ายเป็นเห็ดสดล้นตลาด และยังช่วยยกระดับสินค้าการเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ ช่วยส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารให้เป็นที่ยอมรับ และสามารถขยายตลาดการค้าผ่านช่องทางการตลาดต่างๆ ทั้งในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ได้อีกด้วย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดให้มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากองค์ความรู้สมัยใหม่
  1. ระบบของแหล่งกำเนิดความร้อนที่ใช้แก๊สแทนการใช้ฟืนเพื่อลดปัญหาการใช้คนค่อยเติมเชื้อเพลิงและลดระยะเวลาในขั้นตอนของการเตรียมก้อนเชื้อเห็ด
  2. เครื่องผสมส่วนผสมของก้อนเห็ดเพื่อทุ่นแรงงานคนในการผสม เพื่อให้ราคาต้นทุนก้อนเห็ดลดลงร้อยละ 2 และปริมาณการผลิตก้อนเห็ดเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากปริมาณการผลิตเดิม
30.00 100.00
2 เพื่อส่งเสริมการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่ผลิตจากชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ

ผลิตภัณฑ์อาหารที่แปรรูปจากเห็ดอย่างน้อย 3 ผลิตภัณฑ์ พร้อมรูปแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า รายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10

30.00 100.00
3 เพื่อส่งเสริมการวางแผนกลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่ รวมทั้งช่องทางการจัดจำหน่ายทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์

ช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ด 2 ช่องทาง

30.00 100.00
4 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สามารถแก้ปัญหาชุมชนได้อย่างตรงประเด็นร้อยละ 80

10.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. นางสาว อัญชลี การสอาด / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
2. นางสาว วิจิตรา ณะตะวัน / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
3. นาย กฤษณพล อัปมะกา / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
4. นาย วิษณุ สันตวงศ์ / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
5. นาย ณัฐกร เทียนชัย / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
6.นายฐิติ ภูผาพันธุ์ /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
7. นางสาววารุณี วรวรรณ / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
8. นายฐิติวุฒิ วันสวัสดิ์ / สาขาวิชาการตลาด 1
9. นางสาวศิริลักษณ์ สมการ / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ 1

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. ประชุมเตรียมความพร้อมของทีมนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา

ชื่อกิจกรรม
1. ประชุมเตรียมความพร้อมของทีมนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมเตียมความพร้อมของนักวิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนลงพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แบบสอบถามประเด็นที่ต้องไปสอบถามเกษตรกร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจความต้องการและเก็บข้อมูลพื้นที่ พร้อมทั้งประเด็นปัญหา โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลบริบทชุมชนเกษตรกรกลุ่มปลูกเห็ดบ้านดอนลำดวน ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทราบความต้องการและเก็บข้อมูลพื้นที่ พร้อมทั้งประเด็นปัญหา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 13 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 2 วัน

13 คน 100 2 2,600
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 7 ห้อง × 500 บาท × 2 วัน

7 คน 500 2 7,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 2 วัน × 120 บาท

9 คน 120 2 2,160
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 4 คน × 2 วัน × 180 บาท

4 คน 180 2 1,440
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 3 คัน × 76 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท

1 เที่ยว 304 3 912
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 50 ชุด × 30 บาท

50 ชุด 30 1 1,500
รวมค่าใช้จ่าย 15,612

กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดให้มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาร่วมกับเกษตรกรในชุมชน วิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาในกระบวนการผสมส่วนผสมแทนการใช้แรงงานคน และหาแหล่งเชื้อเพลิงที่ใช้ทดแทนเชื้อเพลิงจากฟืนและสร้างเครื่องผสมส่วนผสมสำหรับทำก้อนเห็ด
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มกราคม 2563 ถึง 12 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ระบบของแหล่งกำเนิดความร้อนที่ใช้แก๊สแทนการใช้ฟืนของเครื่องนึ่งฆ่าเชื้อก้อนเห็ดแบบกึ่งอัตโนมัติและเครื่องผสมของส่วนผสมก้อนเห็ด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 6 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 29 วัน

6 คน 100 29 17,400
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 6 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

6 คน 500 10 30,000
อื่น ๆ

เหล็กแผ่นชุบสแตนเลสสตีล หนา 50 mm กว้าง 2 m×ยาว 2 m × 10 แผ่น × 5,000 บาท เหล็กแบน แฟลตบาร์ 3 นิ้ว ยาว 6 เมตร × 50 เส้น × 5,000 บาท เหล็กกล่องสีเหลี่ยม 4×4 นิ้ว ยาว 6 เมตร × 50 เส้น × 400 บาท มอเตอร์ไฟฟ้า 3 แรงม้า 220 โวลต์ 1 เครื่อง สายพาน 1 เส้น ล้อขนาด จำนวน 4 ล้อ Ribbon 1 ชิ้น

1 ชุด 157,401 1 157,401
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 5 คน × 29 วัน × 120 บาท

5 คน 120 29 17,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 29 วัน × 180 บาท

1 คน 180 29 5,220
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 76 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 304 10 3,040
รวมค่าใช้จ่าย 230,461

กิจกรรมที่ 4 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่ผลิตจากชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ

ชื่อกิจกรรม
การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่ผลิตจากชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่ผลิตจากชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่ผลิตจากชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 มกราคม 2563 ถึง 12 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ดอย่างน้อย 3 ผลิตภัณฑ์ พร้อมบรรจุภัณฑ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

วัสดุสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งค่าออกแบบฉลากและปริ้นท์ฉลาก

1 ชุด 120,000 1 120,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 5 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 29 วัน

5 คน 100 29 14,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 3 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

3 คน 500 10 15,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 3 คน × 29 วัน × 120 บาท

3 คน 120 29 10,440
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน × 29 วัน × 180 บาท

2 คน 180 29 10,440
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 76 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 ครั้ง 304 10 3,040
รวมค่าใช้จ่าย 173,420

กิจกรรมที่ 5 แผนธุรกิจในการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ด

ชื่อกิจกรรม
แผนธุรกิจในการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการวางแผนกลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่ รวมทั้งช่องทางการจัดจำหน่ายทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มเกษตรกรร่วมกันคำนวณต้นทุน ราคาจำหน่าย ระดมความคิดเพื่อหาแบรนด์สินค้าร่วมกัน จัดทำแผนธุรกิจ จัดหาช่องทางการจำหน่ายที่เหมาะสม
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 มกราคม 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเห็ด 2 ช่องทาง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 29 วัน

2 คน 100 29 5,800
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักห้องพักคู่จำนวน 1 ห้อง × 500 บาท × 10 วัน

1 ครั้ง 500 10 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 1 คน × 29 วัน × 120 บาท

1 คน 120 29 3,480
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 29 วัน × 180 บาท

1 คน 180 29 5,220
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 76 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 10 เที่ยว

1 เที่ยว 304 10 3,040
รวมค่าใช้จ่าย 22,540

กิจกรรมที่ 6 ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนชุมชนเพื่อประเมินผล พร้อมประชุมสรุปผลการประเมินผลโครงการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนชุมชนเพื่อประเมินผล พร้อมประชุมสรุปผลการประเมินผลโครงการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
-นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงานรูปแบบ Video และ Power Point ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อประเมินผลการดำ เนินกิจกรรมโครงงาน 50 คะแนน
- มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะกรรมการหน่วยงานภายนอกลงพื้นที่ครั้งที่ 32 เพื่อประเมินผลตามตัวชี้วัดปริมาณและคุณภาพ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ร้อยละความพึงพอใจของเกษตรกรมากกว่าร้อยละ 80
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ) จำนวน 4 คน × 1 วัน × 6 ชั่วโมง × 600 บาท

4 คน 600 6 14,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 45 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 1 วัน

45 คน 100 1 4,500
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมการถ่ายทอดเทคโนโลยี (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ) จำนวน 30 คน × 1 วัน × 80 บาท

30 คน 80 1 2,400
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 1 วัน × 120 บาท

9 คน 120 1 1,080
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 3 คัน × 76 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 1 เที่ยว

1 เที่ยว 304 3 912
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างเหมาบริการจัดทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย × 1,000 บาท

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 45 ชุด × 100 บาท

45 ชุด 100 1 4,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เห็ดนางฟ้า 50 กิโลกรัม เห็ดกระด้าง 50 กิโลกรัม น้ำตาล 10 กิโลกรัม เกลือ 5 กิโลกรัม น้ำมันพืช 20 ลิตร น้ำแก๊ส 5 ถัง

1 ชุด 24,825 1 24,825
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้าอบรม จำนวน 45 คน × 35 บาท × 2 มื้อ × 1 วัน

45 คน 35 2 3,150
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ดและการแปรรูปเห็ดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงธุรกิจ) จำนวน 1 คน × 1 วัน × 2 ชั่วโมง × 600 บาท

1 คน 600 2 1,200
รวมค่าใช้จ่าย 57,967

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 18,000.00 1,000.00 121,894.00 24,825.00 334,281.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 3.60% 0.20% 24.38% 4.97% 66.86% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) เพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตก้อนเห็ด ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ดอย่างน้อย 3 ผลิตภัณฑ์ และช่องทางการจำหน่ายอย่างน้อย 2 ช่องทาง นักศึกษาสามารถนำผลของโครงงานมาเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียนได้
ผลลัพธ์ (Outcome) มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ของรายได้เดิม ปริมาณการผลิตก้อนเห็ดมากขึ้นร้อยละ 20 และราคาต้นทุนก้อนเห็ดลดลงร้อยละ 2 ของต้นทุนเดิม นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนสามารถเพิ่มรายได้จากทั้งการลดต้นทุนของก้อนเชื้อเห็ด และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดได้ สร้างจิตสำนึกให้นักศึกษาทำงานร่วมกับชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย apinya.bh apinya.bh เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2562 10:28 น.