การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากจากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ตลาดดิจิทัลเพื่อส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขัน

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากจากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ตลาดดิจิทัลเพื่อส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขัน

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากจากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ตลาดดิจิทัลเพื่อส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าขีดความสามารถการแข่งขันวิทยาลัย นอร์ทเทิร์นคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น และ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก1. ชุมชนบ้านกอเปา ตำบลป่าสัก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน2. นายกันตพัฒน์ วัฒนพันธ์ ประธานกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปาชุมชนบ้านกอเปา ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน และกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา1. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 2. อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก และ 3. นายกันตพัฒน์ วัฒนพันธ์ ประธานกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา1. ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 630002. อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก41 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลไม้งาม อำเภอเมือง จังหวัดตาก 630003. นายกันตพัฒน์ วัฒนพันธ์ กลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา94/4 กอเปา หมู่ 9 ต.ป่าสัก อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน 51000คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นเลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 e-mail: tok2029@gmail.com, dr_tok2029@hotmail.com1. สมาชิกกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา จำนวน 15 คน
2. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นจำนวน 5 คน
3. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก จำนวน5 คน
4. อาจารย์และนักวิชาการคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นและคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก จำนวน5 คน
5. หน่วยงานภาครัฐ อบต. อบจ. พัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน ผญบ.จำนวน 5 คน
6. ชาวชุมชนกอเปา จำนวน 50 คน
7. ผู้ประกอบการในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำพูน จำนวน 5 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคเหนือ
ภาคเหนือ ในเมือง
ลำพูน เมืองลำพูน ป่าสัก ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา ตำบลป่าสัก ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเมืองลำพูน ประกอบไปด้วย 18 หมู่บ้าน โดยกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์มีผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม คือ ข้าวแต๋นน้ำแตงโม ข้าวแต๋นน้ำลำไย ซึ่งวัตถุดิบส่วนใหญ่นำมาจากท้องถิ่นภายในชุมชน โดยมีสมาชิกของกลุ่มจำนวน 5-10 ครัวเรือน โดยทางกลุ่มมีแนวคิดว่า “ข้าวแต๋น” มิใช่เป็นเพียงขนมพื้นบ้านภายในท้องถิ่นหรือชุมชนอีกต่อไป แต่สามารถส่งขายไปยังต่างประเทศได้ ถ้ารู้จักปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ รสชาติ และการบรรจุหรือผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ นอกจากเรื่องของการทำตลาดแล้ว เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย ก็สามารถยกระดับกลุ่มเช่นกัน ซึ่งทางภูมิปัญญาชาวบ้านกอเปา มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการทำข้าวแต๋นและสามารถพัฒนาตนเองเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และให้ความร่วมมือกับนักวิชาการหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่งทำหเกิดการเข้มแข็งของชุมชนและกลุ่มที่มีประสิทธิภาพและยกระดับชีวิตและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนและส่งผลต่อเศรษฐกิจระดับมหาภาคต่อไปกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์มีผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม คือ ข้าวแต๋นน้ำแตงโม ข้าวแต๋นน้ำลำไย โดยสามารถพัฒนาข้าวแต๋นหลากรสชาติ โดยเพิ่มมูลค่ารสชาติและความเป็นไปได้ของความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และสินค้าและบริการกลุ่มชุมชนยังมีประสิทธิภาพจากวัตถุดิบส่วนใหญ่นำมาจากท้องถิ่นภายในชุมชน โดยมีสมาชิกของกลุ่มจำนวน 5-10 ครัวเรือน โดยมีศักยภาพด้านการผลิตต่อวันอยู่ที่ 200 – 300 แพ๊คต่อวัน และชุมชนมีรายได้จากการทำข้าวแต๋นเป็นรายได้หลัก และสามารถขยายผลหรือเพิ่มการผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดได้ในอนาคตปัญหาในด้านการผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตภข้าวแต๋นที่ทำให้เศษวัสดุ เศษข้าวแต๋นที่ตกจากกระบวนการผลิตข้าวแต๋นที่คิดเป็นร้อยละ 25 ของจำนวนวัตถุดิบนำเข้าสู่กระบวนการผลิตจากการตาก การทอด ที่ทำให้ต้นทุนสูง กำไรต่ำ และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถพัฒนาต่อยอดให้เกิดผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมช่องการทางการตลาดในรูปแบบดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ รวมทั้งยังขาดการส่งเสริมด้านบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับตัวผลิตภัณฑ์ ขาดข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในฉลาก ทำให้ไม่สามารถดึงดูดความต้องการของลูกค้าได้ดีเท่าที่ควร ตลอดจนยังขาดความรู้ด้านการทำตลาดออนไลน์ การหาช่องทางการจัดจำหน่ายในช่องทางอื่นๆ และยังขาดสื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์กลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น มีการจัดจำหน่ายที่อยู่ในวงจำกัด และขาดการจัดจำหน่ายอย่างเป็นระบบ และเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนเพื่อให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอกมากยิ่งขึ้นปัญหาในด้านการผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตภข้าวแต๋นที่ทำให้เศษวัสดุ เศษข้าวแต๋นที่ตกจากกระบวนการผลิตข้าวแต๋นที่คิดเป็นร้อยละ 25 ของจำนวนวัตถุดิบนำเข้าสู่กระบวนการผลิตจากการตาก การทอด ที่ทำให้ต้นทุนสูง กำไรต่ำ และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถพัฒนาต่อยอดให้เกิดผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมช่องการทางการตลาดในรูปแบบดิจิตอล การจัดการตลาดบูรณาการ รวมทั้งยังขาดการส่งเสริมด้านบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับตัวผลิตภัณฑ์ ขาดข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มในฉลาก ทำให้ไม่สามารถดึงดูดความต้องการของลูกค้าได้ดีเท่าที่ควร ตลอดจนยังขาดความรู้ด้านการทำตลาดออนไลน์ การหาช่องทางการจัดจำหน่ายในช่องทางอื่นๆ และยังขาดสื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์กลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น มีการจัดจำหน่ายที่อยู่ในวงจำกัด และขาดการจัดจำหน่ายอย่างเป็นระบบ และเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนเพื่อให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอกมากยิ่งขึ้น
ภาพประกอบ:
การลงพื้นที่วิเคราะห็ศักยภาพพื้นที่ของกลุ่มกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปาประเด็นปัญหา ความต้องการของชุมชนและกลุ่มอาชีพ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินการจะก่อให้เกิดศักยภาพและมีแนวทางการในการทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมน วัฒนธรรมที่มีสามารถทำให้อนุรักณ์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
3. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set สำหรับใช้ในงานเทศกาล
4. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการขยายสายการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงระหว่างกระบวนการผลิตจำนวนอย่างน้อย 4 ผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์

เชิงปริมาณ
1.ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่มีรสชาติใหม่ จำนวน 4-5 ผลิตภัณฑ์
2.ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
เชิงคุณภาพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้มีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้นจากการการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้คุณภาพชีวิตและสินค้าบริหารที่มีคุณภาพที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและสืบทอดวัฒนนธรรม

40.00 0.40
2 องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ

เชิงปริมาณ
1. ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ ถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
2. องค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัยจำนวน 1 ผลงาน 3.การถ่ายทอดวิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋นชุมชนในเขตภาคเหนือ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้ เชิงคุณภาพ ได้ความภาคภูมิใจและการเป็นตัวแบบที่สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีและต่อยอดสู่พานิชย์

20.00 0.40
3 เพื่อการพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล

เชิงปริมาณ 1.การจัดการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้การทำตลาดออนไลน์ โดยผ่านการทำตลาดสมัยใหม่ ผ่านการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาแฟนเพจ การทำบัญชีไลน์แอด (LINE @) อย่างน้อย 2-4 การตลาดดิจิทัล 2. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set สำหรับใช้ในงานเทศกาลของกลุ่มข้าวแต๋นบ้านกอเปา ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน อย่างน้อย 2-3 แบบ เชิงคุณภาพ การสืบทอดประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยผ่านสื่อสารการตลาดดิจิตอล ทำให้เกิดการจดจำและสืบทอดประเพณี ภูมิปัญญาต่อไปในอนาคต สร้างความมั่นคงทางอาหาร และการเพิ่มรายได้สู่ชุมชน อยู่ดี กินดี

40.00 0.40

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชาวชุมชนกอเปา 50
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มทร.ล้านนาตาก 5
ผู้ประกอบการในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 5
สมาชิกกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา 15
หน่วยงานภาครัฐ อบต. อบจ. พัฒนาชุมชนจังหวัดลำพูน 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ล้านนา ตาก 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการขยายสายการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงระหว่างกระบวนการผลิตจำนวนอย่างน้อย 4 ผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
  2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา และการคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีรสชาติหลากหลาย และผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่มีรสชาติใหม่ จำนวน 4-5 ผลิตภัณฑ์
2. ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนคณะผู้ทำโครงการฯ

6 คน 10,000 1 60,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าจ้างผู้ช่วย ป.โท 1 คน ค่าจ้างผู้ช่วย ป.ตรี 1 คน

3 คน 20,533 1 61,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรในการฝึกอบรม ค่าที่พัก

1 คน 28,400 1 28,400
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการขยายสายการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงระหว่างกระบวนการผลิตจำนวนอย่างน้อย 4 ผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
  2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ
  3. เพื่อการพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล
รายละเอียดกิจกรรม
1.โครงการวิจัยเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการประเมินศักยภาพเพื่อหาแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์ใหม่และผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้
2. โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าและความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set อย่างน้อย 1 อย่าง
2. ต้นแบบ (Model) การพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรในการฝึกอบรม (จำนวน 40 ชม. ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง 4 วัน) ค่าใช้จ่ายในการสัมมนา/ฝึกอบรม - ค่าอาหาร (จำนวน 65 คนๆ ละ150 บาท@1 มื้อ จำนวน 4 วัน) - ค่าอาหารว่าง (จำนวน 65 คนๆ ละ 30 บาท @ 2 มื้อ/วัน จำนวน 4 วัน) - ค่าที่พัก (จำนวน 2 คนๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 2 ครั้ง)

1 คน 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการแปรรูปเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงจากกระบวนการผลิตข้าวแต๋น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการแปรรูปเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงจากกระบวนการผลิตข้าวแต๋น
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการขยายสายการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงระหว่างกระบวนการผลิตจำนวนอย่างน้อย 4 ผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
  2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ
  3. เพื่อการพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการแปรรูปเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงจากกระบวนการผลิตข้าวแต๋น
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่มีรสชาติใหม่ จำนวน 4-5 ผลิตภัณฑ์
2. ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
3. ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ ถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
4.แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set อย่างน้อย 1 อย่าง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

3.1 ค่าตอบแทนวิทยากรในการฝึกอบรม (จำนวน 40 ชม. ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง 4 วัน) 3.2 ค่าใช้จ่ายในการสัมมนา/ฝึกอบรม - ค่าอาหาร (จำนวน 65 คนๆ ละ150 บาท@1 มื้อ จำนวน 4 วัน) - ค่าอาหารว่าง (จำนวน 65 คนๆ ละ 30 บาท @ 2 มื้อ/วัน จำนวน 4 วัน) - ค่าที่พัก (จำนวน 2 คนๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 2 ครั้ง) 3.3 ค่าจ้างเหมาบริการ - โครงการวิจัยเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการประเมินศักยภาพเพื่อหาแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์ใหม่และผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้

1 คน 78,800 2 157,600
อื่น ๆ

โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าและความได้เปรียบทางการแข่งขัน

1 ครั้ง 42,400 1 42,400
รวมค่าใช้จ่าย 200,000

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มในรูปแบบของตลาด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มในรูปแบบของตลาด
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการขยายสายการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของกลุ่มข้าวแต๋นน้ำแตงโมกันตพัฒน์บ้านกอเปา โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษข้าวแต๋นที่หลุดร่วงระหว่างกระบวนการผลิตจำนวนอย่างน้อย 4 ผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
  2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ที่จะส่งเสริมให้ชุมชนและผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ (Body of knowledge) สู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs สถาบันศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ
  3. เพื่อการพัฒนาสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล
รายละเอียดกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่มีการหลากหลายตามความต้องการของผู้บริโภคโดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น ผ่านสื่อการตลาดดิจิตอลอย่างน้อย 5 ชิ้นงาน เช่น @Line, www., webpage, วีดีทัศน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set อย่างน้อย 1 อย่าง
2. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของการผลิตข้าวแต๋นให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
3. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
4. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน
5. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 10%
6. กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น ผ่านสื่อการตลาดดิจิตอลอย่างน้อย 5 ชิ้นงาน เช่น @Line, www., webpage, วีดีทัศน์
7. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

- โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าและความได้เปรียบทางการแข่งขัน - ค่าจัดทำเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์และคู่มือสำหรับผู้เชี่ยวชาญในการเข้าร่วมอบรมฯ

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าบำรุงสถาบัน (งวดพิเศษ ก.)

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 499,999.98 บาท

ค่าตอบแทนอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 249,999.99 249,999.99 499,999.98
เปอร์เซ็นต์ (%) 50.00% 50.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1.ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่มีรสชาติใหม่ จำนวน 4-5 ผลิตภัณฑ์
2.ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
3.ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ในแง่ของการได้มาซึ่งองค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ ถาบันนการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานส่งเสริมพัฒนาชุมชน
4.แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set อย่างน้อย 1 อย่าง
5.ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของการผลิตข้าวแต๋นให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
6. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
7. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน
8. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 10%
9. กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น ผ่านสื่อการตลาดดิจิตอลอย่างน้อย 5 ชิ้นงาน เช่น @Line, www., webpage, วีดีทัศน์
ได้การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากการลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเป็นผู้ประสอบการและตอบสนองบัณฑิตนักปฏิบัติและพัฒนาด้านบริหารธุรกิจ เทคโนโลยี และตระหนักถึงปัจจัยต่อไปนี้
1. ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลาย
2. ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อยอดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย
4. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set สำหรับใช้ในงานเทศกาลและกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น ผ่านสื่อการตลาดดิจิตอลอย่างน้อย 5 ชิ้นงาน เช่น @Line, www., webpage, วีดีทัศน์
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ลดค่าใช้จ่าย(ต้นุทน)ของการผลิตข้าวแต๋นให้ลดลงทำให้กำไรเพิ่มขั้นร้อยละ 5
2. ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สนับสนุนเงินทุนส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
3. ลดความเสี่ยงของการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน
4. การมีรายได้และความเป็นอยู่ที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 10%
5. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ
6. สร้างศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ SMEs ให้การตัดสินใจลงทุน เพื่อลดค่าใช้จ่ายของธุรกิจ และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
7. แบบฉลากและแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มข้าวแต๋น ในรูปแบบของ Box Set ที่สามารถพัฒนาต่อยอดให้เพิ่มยอดขายตรงตามความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและสามารถแข่งขันได้ในยุคโลกาภิวัฒน์
8. วิสาหกิจชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
9. สร้างความเข้มแข็งทางความมั่นคงทางอาหารของชุมชน
10. การมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน
11. ชุมชนได้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สามารถสร้างความเข้มแข็งและต่อยอดของชุมชน สังคม ประเทศ
12. ความภาคภูมิใจในชุมชนและตัวแบบของการถ่ายทอดองค์ความรู้
13. การมีศักยภาพองค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพของวิสาหกิจ
14. การขยายองค์ความรู้สู่กิจการหรือธุรกิจอื่นๆ เพื่อใหเกิดการดำเนินงานต่อยอดงานวิจัยเชิงพานิชย์
การพัฒนาด้านการบริหารธุรกิจ เทคโนโลยี การจัดการตลาดดิจิทัล โดยได้รับองค์ความรู้เพื่อการต่อยอดเพื่อแก้ไขปัญหารวมถึงเป็นบัณฑิต Hand On โดยสามารถได้แนวทางการพัฒนาชุมชนดังนี้
1. สามารถบรรเทาปัญหาของชุมชนได้ และสร้างความมั่งคงทางด้านอาหารในชุมชนและชุมชนรอบข้าง ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการพัฒนา ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นและเศษวัสดุเหลือใช้จากระบวนการผลิตข้าวแต๋น โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
2. สร้างสมรรถนะในการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
3. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์จากกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
4. องค์ความรู้จากโครงการฯ นำมาวิเคราะห์และสร้างมูลค่าผ่านผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ และเมื่อมีผลิตภัณฑ์หลากหลายรสชาติหรือจากเศษวัสดุเหลือใช้แล้ว ถ้าต้องการจะสร้างรายได้ หรือลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน การเข้าถึงแหล่งทุนและการทำการตลาดเชิงรุกให้กับชุมชน และถ่ายทอดองค์ความรู้ในบริบทพื้นที่อื่นๆ ให้เกิดความความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
ผลกระทบ (Impact) 1. สามารถบรรเทาปัญหาของชุมชนได้ และสร้างความมั่งคงทางด้านอาหารในชุมชนและชุมชนรอบข้าง ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการพัฒนา ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นและเศษวัสดุเหลือใช้จากระบวนการผลิตข้าวแต๋น โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
2. สร้างสมรรถนะในการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
3. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์จากกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
4. องค์ความรู้จากโครงการฯ นำมาวิเคราะห์และสร้างมูลค่าผ่านผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ และเมื่อมีผลิตภัณฑ์หลากหลายรสชาติหรือจากเศษวัสดุเหลือใช้แล้ว ถ้าต้องการจะสร้างรายได้ หรือลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน การเข้าถึงแหล่งทุนและการทำการตลาดเชิงรุกให้กับชุมชน และถ่ายทอดองค์ความรู้ในบริบทพื้นที่อื่นๆ ให้เกิดความความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
การพัฒนาด้านการบริหารธุรกิจ เทคโนโลยี การจัดการตลาดดิจิทัล โดยได้รับองค์ความรู้เพื่อการต่อยอดเพื่อแก้ไขปัญหารวมถึงเป็นบัณฑิต Hand On โดยสามารถได้แนวทางการพัฒนาชุมชนดังนี้
1. สามารถบรรเทาปัญหาของชุมชนได้ และสร้างความมั่งคงทางด้านอาหารในชุมชนและชุมชนรอบข้าง ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการพัฒนา ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นและเศษวัสดุเหลือใช้จากระบวนการผลิตข้าวแต๋น โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
2. สร้างสมรรถนะในการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
3. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์จากกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุลของกลุ่มข้าวแต๋น
4. องค์ความรู้จากโครงการฯ นำมาวิเคราะห์และสร้างมูลค่าผ่านผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ และเมื่อมีผลิตภัณฑ์หลากหลายรสชาติหรือจากเศษวัสดุเหลือใช้แล้ว ถ้าต้องการจะสร้างรายได้ หรือลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน การเข้าถึงแหล่งทุนและการทำการตลาดเชิงรุกให้กับชุมชน และถ่ายทอดองค์ความรู้ในบริบทพื้นที่อื่นๆ ให้เกิดความความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
5. การใช้เทคโนโลยีสื่อการตลาดดิจิทัล สื่อออนไลน์ และ web page, www.
นำเข้าสู่ระบบโดย tok2029 tok2029 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2562 19:27 น.