โครงการยกระดับหมู่บ้านการท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล กรณีศึกษา ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับหมู่บ้านการท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล กรณีศึกษา ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับหมู่บ้านการท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล กรณีศึกษา ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์องค์การบริหารส่วนตำบลเจ้าท่า ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์นายสุขสันต์ พรมบุญเรือง ตำแหน่ง หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์72 หมู่ 3 ต.สะอาดไชยศรี อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ์ 46000เบอร์โทร 0850039640 อีเมล suksun.pr@ksu.ac.thดร.ธรรมรัตน์ บุญรอด หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (อาจารย์ที่ปรึกษา) รหัสประชาชน 3450700459066
นายเรืองจรัส ทองจรัส หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1469900462003
นายไอศวรรย์ กองทอง หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1960000068931
นายภัทราวุธ สุขภิสาร หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1469900472246
ผศ.ภัชรินทร์ ซาตัน หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (อาจารย์ที่ปรึกษา) รหัสประชาชน 3409700221351
นางสาวปัทมา ภูกิ่งพลอย หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1100801253770
นางสาวชนาพร จันทร์ต๊ะ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (นักศึกษา) รหัสประชาชน1639900322382
นายภูมิหมั่นพลศรี หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว (อาจารย์ที่ปรึกษา) รหัสประชาชน 1439900007853
นางสาวกนกวรรณ ภิรมย์ราช หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1470501173930
นางสาวลัลยาพร โฮมภิรมย์ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว (นักศึกษา) รหัสประชาชน2839901060311
นางสาวศศิพร ภูสามี หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1469900517207
นายสุขสันต์ พรมบุญเรือง หลักสูตร บริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (อาจารย์ที่ปรึกษา) รหัสประชาชน 3460101009624
นายปานเพชรอยู่ศิริ หลักสูตร บริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล (นักศึกษา) รหัสประชาชน 1469900437637

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย เจ้าท่า ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ประกอบกับมีชลประทาน ประชากรส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ทำนา)อาชีพรองได้แก่อาชีพรับจ้างค้าขายและเลี้ยงสัตว์และมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ได้แก่ นมัสการหลวงปู่หิน วัดปทุมเกสร  ชมธรรมชาติหนองดูน  สวนเกษตกรอินทรีย์ ปู่ยางขาว และกลุ่มอาชีพ แต่ละแหล่งท่องเที่ยวนั้นยังเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวหลักสำคัญของจังหวัดหรือพื้นที่ใกล้เคียง ได้แก่ พระธาตุยาคู สักการะปู่ฟ้าระงึม หลวงปู่เจ้าท่าและล่องแพท่าแจ้ง โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์บ้านโจด และไร่ชช. ตำบลธัญญาสะพานในนาขาว และพบว่ามีคณะกรรมการบริหารหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว และมีประสบการณ์ในการดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวของหมู่บ้านจำนวน 3 โปรแกรม ได้แก่ โปรแกรม เสน่ห์ขนมไทยโปรแกรม นอนซุ้ม กินปลา มาแพ มาฝัน และโปรแกรม สัมผัสบรรยากาศในตลาดงานวัด และยังพบว่ามีกิจกรรมสำหรับนักท่องเที่ยวสามารถลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เช่น ปักผ้า สานตะกร้า ทำกระเป๋า ทำขนม ฯลฯมีคณะกรรมการบริหารหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว จำนวน 1 คณะ
กรรมการ จำนวน 9 คนมีรายชื่อ ดังนี้
(1) นายเรืองฉันต์ระดาฤทธิ์ ตำแหน่งประธานกรรมการบริหารฯ
(2) จ อ. ชิตณุพงศ์ เพียรสดับ ตำแหน่ง รองประธานกรรมการบริหารฯ
(3) นายประสิทธืสารชร ตำแหน่งเลขานุการ
(4) นายชัยยา รัตนอนันต์ ตำแหน่งกรรมการ
(5) นายบุญเลิศวันชูยงค์ ตำแหน่ง กรรมการ
(6) นายเสถียร เห็มนุช ตำแหน่งกรรมการ
(7) นายอดุลย์นามมุลตรีตำแหน่งกรรมการและผู้ประสานงาน
(8) นางผุสดี จันทร์ท้าว ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
(9) นางราตรีบริสัย ตำแหน่งปฏิคม

มีนักเล่าเรื่องชุมชนจำนวน 3 คนมีรายชื่อ ดังนี้
(1) นางอนงค์ จอมพิมูล ตำแหน่ง นักเล่าเรื่อง
(2) นายประสิทธืสารชร ตำแหน่ง นักเล่าเรื่อง
(3) นายอดุลย์ นามมูลตรี ตำแหน่ง นักเล่าเรื่อง

มี โปรแกรมการท่องเที่ยวของหมู่บ้าน ที่นักท่องเที่ยวสามารถลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง จำนวน 2 โปรแกรม ดังนี้
1) โปรแกรมการท่องเที่ยว จำนวน 3 โปรแกรม
(1) โปรแกรมเสน่ห์ขนมไทย3เกอร์
คำอธิบายลักษณะเด่นของโปรแกรม
นักท่องเที่ยวสามารถลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ด้วยการทำขนมไทย 3 อย่าง ขนมเทียนนางเขียว ขนมกะหรี่ปั๊บน้องเกียว
ขนมโดนัทจิ๋วแม่กลม
ลักษณะเด่น รูปสวย ผิวนุ่มอร่อบแบบไทยๆ กรอบ รสดี มีประโยชน์ กลิ่นหอมนุ่มสวย
(2) โปรแกรมนอนซุ้ม กินปลา มาแพ มาฝัน
คำอธิบายลักษณะเด่นของโปรแกรม
นอนซุ้ม มุงฝาง
กินปลาเผา บนแพกลางน้ำ
ตกปลา พาเพลิน บนแพ
(3) โปรแกรม สัมผัสบรรยากาศในตลาดงานวัด
คำอธิบายลักษณะเด่นของโปรแกรม
ชม ชิม ช็อบแชะ
ตลาดพื้นๆ บรรยากาศบ้านๆ วัฒนธรรมลาวอีสาน

2) กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสามารถลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจำนวน 3 รายการ
1. ชื่อกิจกรรม ทอกก สานฝัน วันบัวบาน
ลักษณะเด่นของกิจกรรมได้เห็นขั้นตอนกระบวนการผลิต การทอเสื่อกก
ได้ทดลองปฏิบัติการทอเสื่อ ได้ความภาคภูมิใจ ฉันทำได้
ได้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ ที่ตนเองมีส่วนร่วมผลิต ค่าบริการ 199 บาท/ ราย
2. ชื่อกิจกรรมตำข้าวเกรียบ เยียบครกกระเดื่อง เที่ยวเมืองบัวบาน
ลักษณะเด่นของกิจกรรม
ได้เห็นเครื่องมือสมัยคุณตาคุณยายใช้ทำอาหารในชีวิตประจำวัน
ได้ทดลองตำข้าวด้วยครกกระเดื่อง เทคนิคการฝัดข้าวและจังหวะตำ
ได้ทำข้าวเกรียบโบราณขึ้นรูป ทำแผ่น ตาก ปิ้งย่าง
ค่าบริการ 50 บาท/ ราย
3. ชื่อกิจกรรมทอผ้าลายนกยูง
ลักษณะเด่นของกิจกรรม
ได้เรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการทอผ้า การมัด การย้อมการปั่นด้าย การทอผ้า

มีที่พัก โฮมสเตย์จำนวน 2 หมู่บ้าน 6 หลังคาเรือน
ชื่อที่พัก/โฮมสเตย์ ...หนองบัวจำนวนห้อง. 10. ห้อง ราคา 200 -300 บาท
มีผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นสินค้าที่ระลึก จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ได้แก่ เสื่อกก,ผ้าถุงมัดหมี่,เครื่องจักรสาน
ยังขาดการสื่อดิจิทัลสำหรับนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้มีความรู้ความเข้าใจในสถานที่ท่องเที่ยว ได้แก่ ประวัติความเป็นมา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี เส้นทางการเดินทาง ที่พักบริเวณใกล้กับสถานที่ และขาดเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาช่วยเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายในหมู่บ้านกับแหล่งท่องเที่ยวหลักสำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์หรือพื้นที่ใกล้เคียงด้วยเทคโนโลยีแผนที่นำทาง โดยยังสามารถนำเสนอช่องทางจัดจำหน่ายและเพิ่มรายได้ให้กับผลิตภัณฑ์ OTOP ของแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ ให้สะดวกเข้าถึงอย่างรวดเร็ว และการออกแบบเรื่องราว Content Story ของแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ OTop ในรูปแบบภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ข้อความ โมเดลแหล่งท่องเที่ยวสามมิติเพื่อเพิ่มความน่าสนใจสำหรับนักท่องเที่ยวยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ที่ใช้จากหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ดังรายวิชาต่อไปนี้
ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง CISW141 ผู้สอน ดร.ธรรมรัตน์ บุญรอด เทอม 2/2562นักศึกษาลงพื้นที่ ออกแบบผังงานขั้นตอนการทำงานของหมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยี
ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวล ห้อง CISW241 ผู้สอน ดร.ธรรมรัตน์ บุญรอด เทอม 2/2562 นักศึกษาลงพื้นที่ ออกแบบการเชื่อมโยงกับผู้ใช้งานแบบกราฟิก ออกแบบฐานข้อมูลหมู่บ้านท่องเที่ยวเพื่อรองรับการใช้งานของนักท่องเที่ยว รวมทั้งออกแบบโมเดล 3 มิติของแหล่งท่องเที่ยว
ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติห้อง CISW341 ผู้สอน อ.สุขสันต์ พรมบุญเรือง เทอม 2/2562นักศึกษาลงพื้นที่ ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บโดยใช้ภาษาสคริปต์ พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านท่องเที่ยวเพื่อรองรับการเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีแอปพลิเคชัน
พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ห้อง CISW341 ผู้สอน อ.สุขสันต์ พรมบุญเรือง เทอม 2/2562นักศึกษาลงพื้นที่ วางแผน ออกแบบ พัฒนาแอปพลิเคชันหมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยีบนสมาร์ทโพน เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality เทคโนโลยีแผนที่นำทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4 ผู้สอน ผศ.ภัชรินทร์ซาตัน เทอม 2/2562 นักศึกษาลงพื้นที่สำรวจผลิตภัณฑ์ OTop แนวทางการดำเนินงานวางแผน ออกแบบการบริหารจัดการกลุ่มและกิจกรรมการท่องเที่ยวให้หยั่งยืน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ผู้สอน อ.ภูมิ หมั่นพลศรี นักศึกษาลงพื้นที่รวบรวมข้อมูลท้องถิ่นด้านการท่องเที่ยวออกแบบ กิจกรรมการสร้างเนื้อหา content story แหล่งท่องเที่ยวให้น่าสนใจ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 พื่อพัฒนานวัตกรรมยกระดับหมู่บ้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

มีเทคโนโลยี/นวัตกรรมสำหรับยกระดับหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม ตำบล เจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 2 เทคโนโลยี/นวัตกรรม

2.00 2.00
2 เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ OTop ไปสู่นักท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

(1) มีสื่อ Content Story จำนวน 18 ชิ้น และสื่อวีดีโอ จำนวน 15 ชิ้น และโมเดลสามมิติ จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ชิ้นงานสำหรับเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยวและเพิ่มรายได้สำหรับผลิตภัณฑ์ OTop ไม่น้อยกว่า สื่อ 3 ประเภท
(2) อัตราการเพิ่ม GPP ร้อยละ 7

3.00 3.00
3 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลไร้พรมแดน

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 คน

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครัวเรือนในหมู่บ้าน 45
ประชาชนในหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้านเชื่อมโยง 50
ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในหมู่บ้าน 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. วางแผนการดำเนินการ (P)

ชื่อกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
วัตถุประสงค์
  1. พื่อพัฒนานวัตกรรมยกระดับหมู่บ้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-แต่งตั้งคณะกรรมการ
- ขออนุมัติโครงการ
ประชุมวางแผนการดำเนินงานศึกษาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ OTop แนวทางการดำเนินงาน และต้นทุนของกลุ่ม ชุมชน วิสาหกิจชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2563 ถึง 26 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุมัติโครงการ
ผลลัพธ์ คณะกรรมการมีแผนการดำเนินงานชัดเจน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร

(12) จ้างเหมาถ่ายเอกสาร

3,000 ชิ้น 1 1 1,500
ค่าถ่ายเอกสาร

จ้างทำเอกสารประกอบการแสดงความคิดเห็นของกลุ่ม

30 ชุด 70 1 2,100
รวมค่าใช้จ่าย 3,600

กิจกรรมที่ 2 2) การดำเนินการจัดโครงการ(D)

ชื่อกิจกรรม
2) การดำเนินการจัดโครงการ(D)
วัตถุประสงค์
  1. พื่อพัฒนานวัตกรรมยกระดับหมู่บ้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
  2. เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ OTop ไปสู่นักท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลไร้พรมแดน
รายละเอียดกิจกรรม
ศึกษา ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูลท้องถิ่นเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ OTop แนวทางการดำเนินงาน และต้นทุนของกลุ่ม ชุมชน วิสาหกิจชุมชน
-  การประชุมกลุ่มแบบ Focus group เพื่อ SWOT ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน   โดยนักศึกษาร่วมกับหน่วยงานความร่วมมือในการดาเนินงาน 
ดำเนินการสร้างและออกแบบ Content Story และวีดีโอนำเสนอแหล่งท่องเที่ยว
พัฒนาแอปพลิเคชันหมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยีสมาร์ทโพน รองรับการนำทางและรองรับเทคโนโลยีเสมือนจริง
พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยีสำหรับเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายในหมู่บ้าน กับแหล่งท่องเที่ยวหลักสำคัญของจังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียง
ทดสอบการใช้พัฒนาแอปพลิเคชันและเว็บไซต์หมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยี
การนำไปใช้จริง
ประเมินผลการดำเนินงานระบบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มกราคม 2563 ถึง 26 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
ต่อชุมชน
1. มีนวัตกรรมยกระดับหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ OTopตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
2. ชุมชนมีความรู้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลไร้พรมแดน
3. ชุมชนได้สื่อดิจิทัลสำหรับส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ OTopไปสู่นักท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ต่อนักศึกษา
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
2.1 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 05-043-103 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.2 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวลรหัสวิชา05-043-202จำนวน 1 หน่วยกิต
2.3 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ รหัสวิชา 05-043-301 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.4 พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รหัสวิชา 05-043-303 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
2.5 การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4รหัสวิชา 05061207 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ดังรายวิชา
2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม รหัสวิชา 01063103จำนวน 3 หน่วยกิต


ผลลัพธ์
ต่อชุมชน
1. ชุมชนได้รับข้อมูลท้องถิ่นเกี่ยวกับด้านการท่องเที่ยว แนวทางการดำเนินงาน และของกลุ่ม ชุมชน วิสาหกิจชุมชน
2. ชุมชนได้ร่วมออกแบบแผนการท่องเที่ยวและตลอดจนช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTop อย่างยั่งยืน
3.ชุมชนได้รับสื่อ Content Story และสื่อวีดีโอ และสื่อโมเดลสามมิติสำหรับเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยวและเพิ่มรายได้สำหรับผลิตภัณฑ์ OTop
4.ชุมชนได้นวัตกรรมแอปพลิเคชันหมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยีสมาร์ทโฟน
5.ชุมชนได้นวัตกรรมเว็บไซต์หมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยี
ต่อนักศึกษา
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
2.1 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 05-043-103 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.2 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวลรหัสวิชา05-043-202จำนวน 1 หน่วยกิต
2.3 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ รหัสวิชา 05-043-301 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.4 พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รหัสวิชา 05-043-303 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
2.5 การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4รหัสวิชา 05061207 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ดังรายวิชา
2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม รหัสวิชา 01063103จำนวน 3 หน่วยกิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเจ้าท่า
2. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเจ้าท่า
3. นักพัฒนาชุมชนตำบลเจ้าท่า
4. ผอ.โรงพยาบาลชุมชนบ้านหนองบัว
5. ดร.เกษร แสนศักดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
6. วิทยาลัยนาฎศิลป์กาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย

2 คน 600 14 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฎิบัติ

4 คน 600 12 28,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

(3) ค่าปฎิบัติงานล่วงเวลา (วันหยุดราชการ วันละไม่เกิน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 60 บาท) (จำนวน 5 วัน x 7 ชั่วโมง x 60 บาท x 4 คน) (วันทำการปกติ วันละไม่เกิน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 50 บาท) (จำนวน 6 วัน x 4 ชั่วโมง x 50 บาท x 4 คน)

4 คน 3,300 1 13,200
ค่าอาหาร

(1) ค่าอาหารกลางวัน

30 คน 120 1 3,600
ค่าอาหาร

(2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

30 คน 35 2 2,100
ค่าอาหาร

(3) ค่าอาหารกลางวัน

113 คน 120 1 13,560
ค่าอาหาร

(4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

113 คน 35 2 7,910
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

(5) ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (สำหรับลงพื้นที่ท่องเที่ยว ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์)

32 เที่ยว 4 50 6,400
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

(6) จ้างทำป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x 3 เมตร

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร

(7) จ้างทำเอกสารประกอบการอบรม

113 คน 150 1 16,950
ค่าถ่ายเอกสาร

(8) จ้างทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ

5 ชุด 300 1 1,500
อื่น ๆ

(9) จ้างเหมาออกแบบวีดีโอเพื่อใช้โฆษณา

15 ชิ้น 11,200 1 168,000
ค่าเช่าสถานที่

(14) ค่าเช่าสถานที่

2 ครั้ง 3,000 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

(15) ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคลผู้ร่วมเสวนา Focus Group จากหน่วยงาน

32 คน 4 60 7,680
อื่น ๆ

(16) ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ลงพื้นที่

4 คน 240 13 12,480
อื่น ๆ

(17) ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาลงพื้นที่

9 คน 180 13 21,060
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

(18) ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

13 ครั้ง 1,800 1 23,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

(19) ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล

32 เที่ยว 4 50 6,400
ค่าที่พักตามจริง

(20) ค่าที่พัก (สำหรับลงพื้นที่โฮมสเตย์)

4 ครั้ง 300 7 8,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

(1) ปากกา ขนาด 0.5 มม.

193 ชิ้น 5 1 965
ค่าวัสดุสำนักงาน

(2) แฟ้มใส่เอกสาร แบบสอด ขนาด A4

18 ชิ้น 110 1 1,980
ค่าวัสดุสำนักงาน

(3) กระดาษฟริบชาร์ต

200 ชิ้น 4 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

(4) ปากกาเมจิกหัวตัด

40 ชิ้น 20 1 800
ค่าวัสดุสำนักงาน

(5) สีเมจิกแบบ 36 สี

12 ชุด 250 1 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

(6) กล่องพลาสติกเพื่อการจัดเก็บเอกสาร

18 ชิ้น 500 1 9,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(7) ชุด ขาตั้งกล้อง พร้อมรีโมทบลูทูธ หัวต่อมือถือในตัว

5 ชุด 290 1 1,450
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ไมค์ไร้สายอัดเสียง

3 ชุด 2,350 1 7,050
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(9) ไวบอร์ด

3 ชุด 700 1 2,100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(10) ปากกาไวท์บอร์ด

60 ชิ้น 35 1 2,100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(11) Softbox ไฟต่อเนื่อง ไฟสตูดิโอถ่ายภาพ 4 หัว Softbox เซ็คคู่ 2 ตัว

2 ชุด 1,490 1 2,980
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(12) ไม้กันสั่น 3 แกน พับได้

2 ชุด 2,079 1 4,158
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(13) Backdrop Photo lighting studio ฉากผ้ามัสลิน 3x6 เมตร

2 ชุด 1,425 1 2,850
อื่น ๆ

(14) กระเป๋าใส่เอกสาร

130 ชิ้น 30 1 3,900
ค่าวัสดุสำนักงาน

(15) ซองจดหมาย

147 ชิ้น 1 1 147
ค่าถ่ายเอกสาร

(21) จ้างจัดทำคู่มือสำหรับนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม

300 ชุด 236 1 70,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

(16) เม้าส์ปากกา วาดรูป วาดการ์ตูน ไซส์ใหญ่10 x 6.25 นิ้ว รองรับแรงกด 8192 ระดับ

4 ชุด 2,190 1 8,760
ค่าวัสดุสำนักงาน

(22) เครื่องชาร์จถ่าน 4 ช่อง รองรับถ่าน AA / AAA

2 ชุด 990 1 1,980
ค่าวัสดุสำนักงาน

(23) ถ่านชาร์จ AA 1200 mah 6 ก้อน และ AAA 1250 mah 6 ก้อน

2 ชุด 690 1 1,380
ค่าวัสดุสำนักงาน

(24) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล SSD ความจุ 500 GB

1 ชิ้น 3,290 1 3,290
ค่าวัสดุสำนักงาน

(25) กล่องใส่ HDD SSD USB 3.0 SATA แบบพกพา

1 ชิ้น 1,670 1 1,670
รวมค่าใช้จ่าย 496,400

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 58,800.00 1,000.00 178,300.00 56,460.00 205,440.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.76% 0.20% 35.66% 11.29% 41.09% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. มีนวัตกรรมยกระดับหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ OTopตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
2. ชุมชนมีความรู้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลไร้พรมแดน
3. ชุมชนได้สื่อดิจิทัลสำหรับส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ OTopไปสู่นักท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบล เจ้าท่า อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
2.1 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 05-043-103 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.2 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวลรหัสวิชา05-043-202จำนวน 1 หน่วยกิต
2.3 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ รหัสวิชา 05-043-301 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.4 พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รหัสวิชา 05-043-303 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
2.5 การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4รหัสวิชา 05061207 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ดังรายวิชา
2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม รหัสวิชา 01063103จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนได้รับข้อมูลท้องถิ่นเกี่ยวกับด้านการท่องเที่ยว แนวทางการดำเนินงาน และของกลุ่ม ชุมชน วิสาหกิจชุมชน
2. ชุมชนได้แผนการท่องเที่ยวและตลอดจนช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTop อย่างยั่งยืน
3. ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7
4. ชุมชนมีสื่อ Content Storyจำนวน 18 ชิ้น
5. ชุมชนมีสื่อวีดีโอ จำนวน 15 ชิ้น
6. ชุมชนมีโมเดลสามมิติ จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ชิ้นงาน
7.ชุมชนได้นวัตกรรมแอปพลิเคชันยกระดับหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมผ่านเทคโนโลยีสมาร์ทโฟน
8.ชุมชนได้นวัตกรรมเว็บไซต์หมู่บ้านท่องเที่ยวผ่านเทคโนโลยี
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
2.1 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 05-043-103 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.2 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวลรหัสวิชา05-043-202จำนวน 1 หน่วยกิต
2.3 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ รหัสวิชา 05-043-301 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.4 พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รหัสวิชา 05-043-303 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
2.5 การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4รหัสวิชา 05061207 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ดังรายวิชา
2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม รหัสวิชา 01063103จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1. มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7
2. มีสื่อ Content Storyจำนวน 18 ชิ้น
3. มีสื่อวีดีโอ จำนวน 15 ชิ้น
4. มีโมเดลสามมิติ จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ชิ้นงาน
3. ชุมชนแหล่งท่องเที่ยวที่สนใจสามารถมาศึกษาเรียนรู้นวัตกรรมได้
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
2.1 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 05-043-103 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.2 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบวิชวลรหัสวิชา05-043-202จำนวน 1 หน่วยกิต
2.3 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ รหัสวิชา 05-043-301 จำนวน 1 หน่วยกิต
2.4 พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รหัสวิชา 05-043-303 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ดังรายวิชา
2.5 การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีก 4รหัสวิชา 05061207 จำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว ดังรายวิชา
2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม รหัสวิชา 01063103จำนวน 3 หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย Suksun1412 Suksun1412 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2562 09:37 น.