การส่งเสริมเชิงปฏิบัติการแนวทางการออมอย่างยั่งยืนเพื่อชุมชน : แนวทางการสร้างอาชีพเสริมเพื่อยกระดับรายได้หลังจากการทำเกษตรสำหรับผู้สูงอายุและสมาชิกในชุมชน อำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การส่งเสริมเชิงปฏิบัติการแนวทางการออมอย่างยั่งยืนเพื่อชุมชน : แนวทางการสร้างอาชีพเสริมเพื่อยกระดับรายได้หลังจากการทำเกษตรสำหรับผู้สูงอายุและสมาชิกในชุมชน อำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การส่งเสริมเชิงปฏิบัติการแนวทางการออมอย่างยั่งยืนเพื่อชุมชน : แนวทางการสร้างอาชีพเสริมเพื่อยกระดับรายได้หลังจากการทำเกษตรสำหรับผู้สูงอายุและสมาชิกในชุมชน อำเภอกุฉินารายณ์จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร)ส่วนกิจการเพื่อสังคมคณะเศรษฐศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ (รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภนันทา ร่มประเสริฐ / คณะเศรษฐศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ตามวิถีชาวชุมชนกับการบูรณาการศาสตร์ใหม่ในปัจจุบันเพื่อสร้างชาวบ้านโดยเฉพาะผู้สูงอายุให้มองเห็นคุณค่าในตนเอง และหารายได้เสริมเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในรายได้ของครอบครัว

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. คณาจารย์ บุคลากรและนิสิตได้เรียนรู้จากประสบการณ์ในการลงพื้นที่จริงร่วมกับการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มุ่งสู่การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนอย่างแท้จริง (ฝึกปฏิบัติจริงกับการลงพื้นที่ของชุมชน) 2. ผู้สูงอายุในชุมชนสามารถมองเห็นแนวทางในการจัดการอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองเพื่อนำไปสู่การสร้างรายได้เพิ่มเติมให้ครัวเรือนจากอาชีพเสริม (ทำให้เกิดผลผลิตจากผู้สูงอายุที่ทำให้มีมูลค่าในการสร้างรายได้เสริม) 3.ได้โจทย์ปัญหานำมาซึ่งการต่อยอดงานวิจัยบริการวิชาการแก่ชุมชน

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชาวบ้าน/อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่รัฐ ฯลฯ 20
นิสิตระดับปริญญาตรี 10
อาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมการส่งเสริมเชิงปฏิบัติการแนวทางการออมอย่างยั่งยืนเพื่อชุมชน : ส่งเสริมกระบวนการการออมบัญชีครัวเรือนโดยใช้การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และอบรม วางแผนร่วมกับชุมชนในการสร้างสวนผักเพื่อสุขภาพกายใจที่ดีของผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมการส่งเสริมเชิงปฏิบัติการแนวทางการออมอย่างยั่งยืนเพื่อชุมชน : ส่งเสริมกระบวนการการออมบัญชีครัวเรือนโดยใช้การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และอบรม วางแผนร่วมกับชุมชนในการสร้างสวนผักเพื่อสุขภาพกายใจที่ดีของผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 อบรมการปลูกผักอินทรีย์ไร้สารเคมีส่งเสริมสุขภาพและประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 2 อบรมการปลูกผักอินทรีย์ไร้สารเคมีส่งเสริมสุขภาพและประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 อบรมสวนครัวริมบ้านปลูกผักสนุกเพื่อสุขภาพที่ดีผู้สูงวัย

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรมที่ 3 อบรมสวนครัวริมบ้านปลูกผักสนุกเพื่อสุขภาพที่ดีผู้สูงวัย
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 แปลงผักเศรษฐกิจผู้สูงวัยในพื้นที่และริมทางชุมชน

        ชื่อกิจกรรม
        กิจกรรมที่ 4 แปลงผักเศรษฐกิจผู้สูงวัยในพื้นที่และริมทางชุมชน
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการขายผักปลอดสารพิษเพื่อสร้างรายได้เหลือจากการทานเพื่อสุขภาพผู้สูงวัย

          ชื่อกิจกรรม
          กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการขายผักปลอดสารพิษเพื่อสร้างรายได้เหลือจากการทานเพื่อสุขภาพผู้สูงวัย
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 การส่งเสริมการปลูกผักเพื่อการบริโภคและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

            ชื่อกิจกรรม
            กิจกรรมที่ 6 การส่งเสริมการปลูกผักเพื่อการบริโภคและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

              รวมเงิน
              ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
              เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

              11. งบประมาณ

              0.00บาท

              12. การติดตามประเมินผล

              ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
              ผลผลิต (Output) -ได้แนวคิด หรือหนทางความร่วมมือกันภายในชุมชนเกิดความเชื่อมโยงความคิดจนเป็นบ่อเกิดหรือที่มาของกองทุนการออมเพื่อชุมชนในลำดับต่อไป
              -เกิดแนวทางการประกอบอาชีพเสริมสำหรับผู้สูงอายุ โดยแบ่งตามความถนัดและความชอบของผู้สูงวัย
              นิสิตได้แลกเปลี่ยนความรู้ในชั้นเรียนกับชุมชนและการปฏิบัติจริงของสมาชิกในชุมชนโดยเฉพาะในเรื่องการเติบโตทางเศรษฐกิจกับการบริโภค
              ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้สูงอายุอยู่ร่วมกับคนในชุมชนอย่างมีความสุข และตระหนักถึงคุณค่าของตน นิสิตได้ฝึกปฏิบัติจริงกับการลงพื้นที่ของชุมชน
              ผลกระทบ (Impact) เมื่อชุมชนสามารถประยุกต์ใช้การจดบันทึกบัญชีครัวเรือนจะสามารถจัดการและจัดสรรจำนวนเงินที่ได้รับเข้ามาจนนำมาซึ่งการออมร่วมกับการก้าวเดินอย่างมั่นคงด้วยตนเองหลังจากโครงการจบลง นิสิตได้เรียนรู้จากประสบการณ์ในการลงพื้นที่จริงร่วมกับการนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มุ่งสู่การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนอย่างแท้จริง
              นำเข้าสู่ระบบโดย SSOSWU SSOSWU เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2562 17:51 น.