โครงการสร้างแรงบันดาลใจ : กิจกรรมพัฒนาชุมชนและสร้างเสริมประสบการณ์แก่นิสิต โดยการเรียนรู้จากชุมชน

แบบเสนอโครงการ
โครงการสร้างแรงบันดาลใจ : กิจกรรมพัฒนาชุมชนและสร้างเสริมประสบการณ์แก่นิสิต โดยการเรียนรู้จากชุมชน

1. ชื่อโครงการ

โครงการสร้างแรงบันดาลใจ : กิจกรรมพัฒนาชุมชนและสร้างเสริมประสบการณ์แก่นิสิต โดยการเรียนรู้จากชุมชนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร)ส่วนกิจการเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัยรองศาสตราจารย์ ดร.ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ (รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)ส่วนกิจการเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ถนนสุขุมวิท ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ10110โทร. ผศ.ดร.ถนอมศักดิ์ ศรีจันทรา 088-646-9363 นางสมจิตต์แก้วกัน 081-847-9572ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอมศักดิ์ ศรีจันทรา (ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)
นายณัฐนันท์ สังข์ลาโพธิ์ /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการท่องเที่ยว ปี3
นายปรัตถกร อารีรุ่งเรือง /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการท่องเที่ยว ปี3
นางสาวภัทรวดี เฮงกิจเลอเลิศ /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการท่องเที่ยว ปี3
นางสาวนาราธร เภตรารัตน์ /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการท่องเที่ยว ปี3
นายฐานวัฒน์ จรูญเมธี /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการท่องเที่ยว ปี3
นางสาวภัทรวดี เฮงกิจเลอเลิศ /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการโรงแรม ปี3
นายอัฑฒ์ ตัณฑัยย์ /นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการโรงแรม ปี3
นางสาววรรณวิมลสังคหะพงศ์/นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการโรงแรม ปี3
นายชัยวรโชติธนากุล/นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการโรงแรม ปี3
นางสาวสุธีรา ดำดี/นิสิตคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม สาขาการโรงแรม ปี3
อาจารย์สุเมษย์ หนกหลัง สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้
อาจารย์ธนกร ขันทเขตต์ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
อาจารย์ธรรมนูญ สะเทือนไพร สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้
อาจารย์วรสรณ์ เนตรทิพย์ สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้
อาจารย์วัชรพงศ์ แสงอ่อน สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้
นางสมจิตต์แก้วกัน ผู้อำนวยการส่วนกิจการเพื่อสังคม
นางสาวสุพิชชา บุญชู หัวหน้างานชุมชนสัมพันธ์ ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นางสาวสิริพัฒน์ ชลคีรี หัวหน้างานประสานพันธกิจ ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นางสาวสุรีรัตน์ หลีมานัน นักจัดการงานทั่วไป ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายธิติวัฒน์ มากแสง นักพัฒนาชุมชน ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายสิทธิโชค ชูบาล นักจัดการงานทั่วไป ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายพุฒินันท์ ยาไธสง นักวิชาการศึกษา สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้
นางสาวปาริชาติ นักจัดการงานทั่วไป ส่วนกิจการเพื่อสังคม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ดอนสมบูรณ์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตําบลดอนสมบูรณมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มพื้นที่ มีโดยรวมร้อยละ 85 อยู่ในพื้นที่ชลประทานสามารถทําการเกษตรได้ตลอดปี นอกจากนั้นบางพื้นที่เป็นที่ไร่สวนซึ่งลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบยกสูง ประกอบด้วย 15 หมู่บ้านจำนวนหลังคาเรือน : 2,232 หลังคาเรือน มีจำนวนประชาการทั้งสิ้น 9,808 คน ภาวะเศรษฐกิจของตําบลดอนสมบูรณ การผลิตโดยรวมจะอยู่ที่ภาคการเกษตรเป็นหลักพื้นที่สวนใหญเอื้ออํานวยตอการดําเนินกิจกรรม เพราะอยูในเขตชลประทานผลิตภัณฑ์และผลผลิต OTOP ที่สําคัญได้แก่ ข้าวเกรียบเกษตร ขนมนางเล็ดและแตงโม สภาพปัญหาด้านเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร มีรายละเอียดดังนี้ 1. ปัญหาแหล่งน้าเพื่อใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ2.ปัจจัยการผลิตภาคการเกษตรมีต้นทุนสูงเนื่องมาจากการใช้สารเคมี และการขาดแคลน
เทคโนโลยีทางการผลิต3.ปัญหาราคาผลิตทางการเกษตรตกต่า4.ขาดแหล่งรองรับผลผลิตทางการเกษตร 5.ราษฎรมีรายได้น้อย ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ ทำให้เกิดปัญหาหนี้นอกระบบ ด้านการท่องเที่ยว 1.ขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
2.พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมในวัด3พัฒนาพื้นที่สาธารณประโยชน์เป็นแหล่ง 4.ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
วิทยากรมีความชำนาญในรายวิชา สัมมาชีพชุุมชน (มศว 374 )
นิสิตที่ลงทะเบียนในรายวิชา สัมมาชีพชุุมชน (มศว 374 ) ได้ฝึกบฎิบัติในพื้นที่และสถานการณ์จริง และสามารถค้นพบองค์ความรู้ หรือคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาจากประสบการณ์ของตนเอง เพื่อการมีส่วนรวมในการทำงานตามหลักการ " เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา"
ผลผลิตทางการเกษตรมีคุณภาพค่อนข้างต่ำ ไม่ได้มาตรฐาน ขณะที่ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตทางการเกษตรไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดการแปรรูปผลผลิตและบรรจุภัณฑ์ยังมีน้อยเกษตรกรขาดทักษะ และเทคโนโลยีในการจัดการสินค้าเกษตร องค์กรภาคเกษตรยังไม่เข้มแข็ง และไม่สามารถทำธุรกิจชุมชนให้ประสบผลสำเร็จได้การส่งเสริมด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์ยังมีน้อยซึ่งจากสภาพปัญหาที่กล่าวมาจึงควรมีการส่งเสริมและพัฒนาเทคนิค และกระบวนการด้านการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน พร้อมทั้งถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ เทคโนโลยี การผลิตที่ดีและเหมาะสมให้กับเกษตรกรที่ยังขาดความรู้ จะทำให้ผลผลิตและมูลค่าของสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นอย่างมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภคแผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธฺ์ พ.ศ. 2561 - 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรปลอดภัย (ปี 2559-2560)

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายวิชา ศึกษาทั่วไป วิชา สัมมาชีพชุมชน (มศว 374)

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชน อัตลักษณ์ชุมชน และการพัฒนาในอาชีพเพื่อสร้างเสริมสัมมาชีพที่เข้มแข็งของชุมชน

ร้อยละ 80 ของนิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ

0.00 1.00
2 นิสิตสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการถอดบทเรียนในแต่ละวันฝึกแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และเรียนรู้การใช้ทักษะการสื่อสารกับชุมชน

นิสิตทำแผนงานคิดวิเคราะห์ นวัตกรรมชุมชน ได้จำนวน 4 งาน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชาวบ้าน/อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่รัฐ ฯลฯ 20
นิสิตระดับปริญญาตรี 10
อาจารย์และบุคลากรของมศว 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1สำรวจ ประชุมเตรียมความพร้อม อบรมเทคนิคการสื่อสารชุมชนเพื่อความเข้าใจถึงและพัฒนาชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1สำรวจ ประชุมเตรียมความพร้อม อบรมเทคนิคการสื่อสารชุมชนเพื่อความเข้าใจถึงและพัฒนาชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชน อัตลักษณ์ชุมชน และการพัฒนาในอาชีพเพื่อสร้างเสริมสัมมาชีพที่เข้มแข็งของชุมชน
  2. นิสิตสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการถอดบทเรียนในแต่ละวันฝึกแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และเรียนรู้การใช้ทักษะการสื่อสารกับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
เตรียมความพร้อมของนิสิตและอาจารย์ที่ปรึกษาในการลงพื้นที่ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นิสิตได้ฝึกทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนด้านการประกอบอาชีพและพัฒนาอัตลักษณ์นิสิตด้านทักษะสื่อสาร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาาหารกลางวัน

15 คน 100 1 1,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ ๆละ 35 บาท

15 คน 70 1 1,050
ค่าถ่ายเอกสาร 15 ชุด 100 1 1,500
ค่าเช่ารถ

ค่ารถรับส่ง 3 วัน ๆละ 5000

1 ครั้ง 15,000 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 15 ชุด 100 1 1,500
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยง 3 วันๆละ 240 บาท

5 คน 720 1 3,600
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พัก 800 บาท/คืน/คน 2 วัน

5 คน 1,600 1 8,000
รวมค่าใช้จ่าย 32,150

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 การลงพื้นที่ชุมชนเพื่อเก็บข้อมูลอาชีพชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 การลงพื้นที่ชุมชนเพื่อเก็บข้อมูลอาชีพชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชน อัตลักษณ์ชุมชน และการพัฒนาในอาชีพเพื่อสร้างเสริมสัมมาชีพที่เข้มแข็งของชุมชน
  2. นิสิตสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการถอดบทเรียนในแต่ละวันฝึกแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และเรียนรู้การใช้ทักษะการสื่อสารกับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ส่วนที่ 1 นิสิต ศึกษาการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน พร้อมทั้งพัฒนาทักษะสื่อสารและทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ อาชีพในชุมชน เพื่อนำมาเป็นข้อเสนอแนะให้กับชุมชน ในการพัฒนาและร่วมกันส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืน
ส่วนที่ 2 อาจารย์ ควบคุมดูแลนิสิตในการทำกิจกรรมพัฒนาชุมชน บริหารโครงการและประเมินผล
ครั้งที่ 1 เป็นการพัฒนาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน
ครั้งที่ 2 เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน
ครั้งที่ 3 เป็นการพัฒนาการขายผลิตภัณฑ์ online
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้รับทราบความต้องการและเก็บข้อมูลการประกอบอาชีพของพื้นที่ พร้อมประเด็นปัญหาเพิ่มเติมของชุมชน นำมาถอดบทเรียน และส่งคืนข้อมูลกลับชุมชน เพื่อนำไปพัฒนาหรือปรับปรุงการประกอบอาชีพของชุมชนให้มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนิสิต จำนวน 10 คน ๆละ 240 บาท จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง

10 คน 7,200 1 72,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

สำหรับใช้เดินทางในพื้นที่ชุมชน จำนวน 10 วันๆละ 100 บาท จำนวน 3 ครั้ง

10 คน 3,000 1 30,000
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถรับส่งกรุงเทพ - กาฬสินธุ์ จำนวน 2 คัน ๆละ 5000 บาท/วัน จำนวน 3 ครั้งๆละ 2 วัน

3 ครั้ง 20,000 1 60,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์เดินทางไปในพื้นที่ วันละ 240 บาท จำนวน 3 ครั้ง ๆละ 3 วัน

5 คน 2,160 1 10,800
ค่าที่พักตามจริง

สำหรับอาจารย์ 3 ครั้ง ๆละ 2 วัน ๆละ 800 บาท/คน

5 คน 4,800 1 24,000
ค่าที่พักตามจริง

สำหรับนิสิตจ่ายในพื้นที่ เหมาจ่ายคืนละ 500 บาท/คน จำนวน 9 วัน จำนวน 3 ครั้ง

10 คน 13,500 1 135,000
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่ารถสำหรับอาจารย์ไปในพื้นที่ จำนวน 3 ครั้งๆละ 3 วันๆละ 5000 บาท

3 ครั้ง 15,000 1 45,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ ปากกาเคมี ฟลิปชาร์ต ฯ การประชาสัมพันธ์สื่อออนไลน์

3 ครั้ง 5,000 1 15,000
ค่าถ่ายเอกสาร 3 ครั้ง 5,000 1 15,000
ค่าเช่าสถานที่

กิจกรรม online

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 91 ชุด 100 1 9,100
รวมค่าใช้จ่าย 417,900

กิจกรรมที่ 3 ประชุมสรุปผล ติดตามและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปผล ติดตามและประเมินผล
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าเช่ารถ

    ค่าเช่ารถไปประชุมสรุป 3 วัน ๆละ 5000 บาท

    1 ครั้ง 15,000 1 15,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 200 1 10,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    50 คน 35 1 1,750
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พัก คืนละ 800 บาท 2 คืน

    10 คน 1,600 1 16,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 10 คน ๆละ 240 บาท 3 วัน

    10 คน 720 1 7,200
    รวมค่าใช้จ่าย 49,950

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 93,600.00 380,800.00 25,600.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 18.72% 76.16% 5.12% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ชุมชนได้ร่วมทำกิจกรรมกับนิสิตในการพัฒนาชุมชน 1. นิสิตได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชน และพัฒนานิสิตด้านทักษะสื่อสาร
    2. นิสิตมีประสบการณ์จริงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
    ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนได้รับการศึกษาและพัฒนาในด้านอาชีพเพื่อสร้างเสริมสัมมาชีพที่เข้มแข็งของชุมชน นิสิตสามารถค้นพบองค์ความรู้ หรือคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาจากประสบการณ์ของตนเอง
    ผลกระทบ (Impact) 1. ชุมชนได้รับทราบข้อมูลภาพรวมของอาชีพในชุมชน
    2. ชุมชนได้แนวทางในการพัฒนา และส่งเสริมอาชีพในชุมชน
    1. นิสิตเกิดแรงบันดาลใจในการช่วยเหลือสังคมและพัฒนาประเทศ
    2. นิสิตสามารถนำทักษะการใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
    นำเข้าสู่ระบบโดย SSOSWU SSOSWU เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2562 15:40 น.