โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างฝายอนุรักษ์เพื่อการบริหารจัดการต้นน้ำในชุมชน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างฝายอนุรักษ์เพื่อการบริหารจัดการต้นน้ำในชุมชน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างฝายอนุรักษ์เพื่อการบริหารจัดการต้นน้ำในชุมชน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร)ส่วนกิจการเพื่อสังคมรองศาสตราจารย์ ดร.ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ (รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 1011002-649-5000 ต่อ 11396ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอมศักดิ์ ศรีจันทรา (ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการเพื่อสังคม)
อาจารย์ธนกร ขันทเขตต์ /วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย
นายสมพจน์ หวลมานพ / คณะแพทยศาสตร์
นายเผด็จ เพชรออด / คณะแพทยศาสตร์
นายสิทธิโชค ชูบาล /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายเชษฐา คล้ายไพฑูรย์ /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายอธิมาตร อินทรสิทธิ์ /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายอรรถพล ขุนรัตน์ /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นางสาวปาริชาติ ธูปขุนทด /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายธิติวัฒน์ มากแสง /ส่วนกิจการเพื่อสังคม
นายวายุ ปุราทานัง /นิสิตคณะพลศึกษา รหัสนิสิต 61104010446
นางสาวณัฐพร อินทรฤทธิ์ /นิสิตคณะพลศึกษา รหัสนิสิต 61104010432
นายธนาวุฒิ ว่องไว /นิสิตคณะพลศึกษา รหัสนิสิต 61104010434
นางสาวฟ้ารุ่ง ขบานกล้า /นิสิตคณะพลศึกษา รหัสนิสิต 61104010314
นางสาวพรรณวิภา รัตนวงค์ /นิสิตคณะพลศึกษา รหัสนิสิต 61104010442
นายชาญชัย โกกะนุทรานนท์ /นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนิสิต 61109010435
นายณัฐนนท์ สุวรรณแสง /นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนิสิต 61109010438
นางสาวแตงไทย ไชยฤทธิ์ /นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนิสิต 61109010440
นายธีรธร ถุไกรวงศ์ /นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนิสิต 61109010443
นายธีรภัทร มีธรรม /นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนิสิต 61109010444

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ดอนสมบูรณ์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

อำเภอยางตลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบต่ำซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์
โดยจากการวิเคราะห์อัตราการผลิตภาคการเกษตรของกาฬสินธุ์ในปี 2559 หดตัวร้อยละ 1.34 โดยการปรับตัวลดลงนั้น มีสาเหตุจากการผลิตของหมวดพืชผลที่มีผลผลิตหลักลดลง ได้แก่ การปลูกข้าวปรับตัวลดลงจากปีก่อน เนื่องจากเกิดปัญหาภัยแล้งในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2558
ปัญหาการขาดแคลนน้ำเนื่องจากภาวะภัยแล้ง ก่อให้เกิดการขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ระยะที่ฝนทิ้งช่วงระหว่างปลายเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม และช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องจนถึงฤดูร้อน ระหว่างปลายเดือนตุลาคม-เมษายน ทำให้ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร
ปัญหาแหล่งน้ำเพื่อใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ / ขาดแคลนน้ำเพื่อทำการเกษตรขาดแคลนแหล่งน้ำที่มีการเก็บกักน้ำไว้ใช้ในการเกษตร ดังนั้นควรมีการสร้างหรือปรับปรุงแหล่งน้ำตามธรรมชาติให้สามารถเก็บกักน้ำได้มากที่สุด และพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทานในการทำการเกษตรให้ทั่วถึง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ราย วิชาศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์ (มศว 151)
โดยมีองค์ความรู้ 3 ด้านได้แก่
1.ด้านทัศนคติ (เห็นแก่ส่วนรวม เข้าใจผู้อื่น ขยันอดทน)
2.ด้านทักษะ (ความสามารถในการสื่อสารกับชุมชน การฝึกทำงานกลางแจ้ง)
3.ด้านความรู้ (ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางด้านฟิสิกส์การก่อสร้าง และสังคมศาสตร์เรื่องวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของชุมชน)

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนในการสร้างฝายชะลอน้ำเพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภค 2. เพื่อพัฒนาชุมชนด้านการบริหารจัดการตันน้ำในชุมชนให้เกิดความยั่งยืน 3. เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. เพื่อให้นิสิตได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนและมีประสบการณ์จริงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

1.ชุมชนได้มีฝายสำหรับใช้ในการบริโภค อุปโภค ในยามขาดแคลน จำนวน 2 - 4 ฝาย 2.นิสิตเกิดแรงบันดาลใจในการทำงานรับใช้สังคม และสามารถแก้ปัญหาชุมชนได้ตรงประเด็นร้อยละ 80

1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มชาวบ้าน/อสม./ผู้นำชุมชน/เจ้าหน้าที่รัฐ ฯลฯ 30
นิสิตระดับปริญญาตรี 10
อาจารย์และเจ้าหน้าที่ 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที่
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนในการสร้างฝายชะลอน้ำเพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภค 2. เพื่อพัฒนาชุมชนด้านการบริหารจัดการตันน้ำในชุมชนให้เกิดความยั่งยืน 3. เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. เพื่อให้นิสิตได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนและมีประสบการณ์จริงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม
ชี้แจงการเตรียมการจัดโครงการเพื่อการกำหนดกิจกรรม รูปแบบการสร้างฝายชะลอน้ำ และช่วงเวลาที่เหมาะสมการจัดโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร 20 คน 100 1 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 35 บาท

20 คน 70 1 1,400
รวมค่าใช้จ่าย 3,400

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจพื้นที่ชุมชนและประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสำรวจพื้นที่ชุมชนและประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    เดินทางไปในพื้นที่ เพื่อสำรวจจุดที่เหมาะสม โดยประสานงานกับพื้นที่ สำหรับการสร้างฝาย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าเช่ารถ

    ค่าเช่ารถ 3 วัน ๆละ 5000 บาท 1 คัน

    1 ครั้ง 15,000 1 15,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 3 วันๆละ 240 บาท/คน

    10 คน 720 1 7,200
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พัก 2 คืนๆละ 800 บาท/คน

    10 คน 1,600 1 16,000
    รวมค่าใช้จ่าย 38,200

    กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างฝายชะลอน้ำ

    ชื่อกิจกรรม
    อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างฝายชะลอน้ำ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      นำนิสิตไปทำฝายร่วมกับชุมชน เพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภค ในยามขาดแคลน ในจุดที่พื้นที่ได้คัดเลือกไว้แล้ว โดยนิสิตไปอยู่ในพื้นที่ และร่วมกันทำโดยนิสิตใช้แรงงาน วิชาการ และชุมชน ใช้กำลังคน กำลังสิ่งของ สมทบ และให้มีหน่วยงานเอกชน ร่วมสมทบวัสดุที่ใช้ในการดำเนินการบางส่วน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันและเย็น วันละ 700 บาท/คน จำนวน 5 วัน จำนวน 2 ครั้ง

      40 คน 7,000 1 280,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการทำฝาย อิฐ หิน ทราย ไม้แบบ จอบ เสียม หมวก ถุงแขน ถุงมมือ ฯ จำนวน 2 ครั้ง

      2 ครั้ง 50,000 1 100,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,700 1 1,700
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

      ค่าเช่ารถรับส่งในพื้นที่ จำนวน 5 วัน ๆละ 2000 บาท จำนวน 2 ครั้ง

      2 ครั้ง 10,000 1 20,000
      ค่าเช่ารถ

      ค่าเช่ารถไปกลับ กรุงเทพ กาฬสินธุ์ รับส่งผู้เข้าร่วม 2 ครั้งๆละ 10000

      2 ครั้ง 10,000 1 20,000
      รวมค่าใช้จ่าย 421,700

      กิจกรรมที่ 4 สรุป ติดตามผลและ ประเมินผล

      ชื่อกิจกรรม
      สรุป ติดตามผลและ ประเมินผล
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ติดตามผลการจัดทำฝาย สามารถแก้ปัญหากักเก็กน้ำ ทำสถิติข้อมูลประกอบ เพื่อนำเสนอ และปรับปรุง
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าเช่ารถ

        ค่าเช่ารถ 3 วันๆ ละ 5000 บาท 1 คัน

        1 ครั้ง 15,000 1 15,000
        ค่าตอบแทนการประสานงาน

        ค่าเบี้ยเลี้ยง 3 วันๆละ 240 บาท

        5 คน 720 1 3,600
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวันสำหรับประชุม

        30 คน 100 1 3,000
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 35 บาท

        30 คน 70 1 2,100
        ค่าที่พักตามจริง

        ค่าที่พัก 2 คืนๆละ 800 บาท/คน

        5 คน 1,600 1 8,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

        สำหรับผู้เข้าร่วมประชุมในพื้นที่

        25 คน 200 1 5,000
        รวมค่าใช้จ่าย 36,700

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

        ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 10,800.00 1,700.00 387,500.00 100,000.00 500,000.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 2.16% 0.34% 77.50% 20.00% 100.00%

        11. งบประมาณ

        500,000.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) ตอบสนองความต้องการของชุมชนในการสร้างฝายชะลอน้ำในการบริโภคและอุปโภค นิสิตได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน ในการพัฒนาชุมชน และเกิดแรงบันดาลใจในการทำงานรับใช้สังคม
        ผลลัพธ์ (Outcome) พัฒนาชุมชนด้านการบริหารจัดการต้นน้ำในชุมชนให้เกิดความยั่งยืน นิสิตได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนและมีประสบการณ์จริงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
        ผลกระทบ (Impact) 1. ด้านเศรษฐกิจ
        เศรษฐกิจในชุมชนดีขึ้น เพราะสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้มากขึ้นกว่าเดิม
        2. ด้านสังคม
        ชุมชนเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีแก่ชุมชน
        3. ด้านสิ่งแวดล้อม
        3.1 ได้ฝายชะลอน้ำเพื่อเป็นแหล่งน้ำสำหรับไว้ใช้ในด้านการเกษตร
        3.2 ชุมชนจะมีป่าเปียก เพื่อใช้เป็นแนวกันไฟตามธรรมชาติ
        3.3 ลดปัญหาของการเกิดไฟป่าและปัญหามลพิษหมอกควันได้
        นิสิตได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนมีประสบการณ์จริงในการลงมือปฏิบัติจริงกับชุมชน
        นำเข้าสู่ระบบโดย SSOSWU SSOSWU เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2562 09:29 น.