แบบเสนอโครงการ
สันตพลอาสา พัฒนาอาชีพชุมชนบ้านดงยาง

1. ชื่อโครงการ

สันตพลอาสา พัฒนาอาชีพชุมชนบ้านดงยางวิทยาลัยสันตพล อุดรธานีวิทยาลัยสันตพล ระดับปริญญาตรีศูนย์สาธิตและบ่มเพาะภูมิปัญญาผ้าครามบ้านดงยางบ้านดงยางวิทยาลัยสันตพล ระดับปริญญาตรี299/1 ถนนอุดร-สกล ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000042-323464ฝ้ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยสันตพล ระดับปริญญาตรี

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
อุดรธานี พิบูลย์รักษ์ ดอนกลอย ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลดอนกลอย เดิมขึ้นอยู่กับอำเภอหนองหาน ปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอพิบูลย์รักษ์ มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านดอนกลอย หมู่ 2 บ้านไทย หมู่ 3 บ้านหว้าน หมู่ 4 บ้านนายม หมู่ 5 บ้านดงยาง หมู่ 6 บ้านหนองบัวสะอาด หมู่ 7 บ้านดอนกลอยศรีวิไล หมู่ 8 บ้านโพธิ์คำ หมู่ 9 บ้านโนนตาล สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ดินเป็นดินร่วนปนทราย อาชีพหลักของชุมชน คือ ทำนา อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้าง และจักสาน การเดินทางเข้าถึงพื้นที่ ใช้เส้นทางสายสกล - อุดร จากจังหวัดอุดรธานี ระยะทาง 35 กม. ถึงอำเภอหนองหาน เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสายหนองหาน - เพ็ญ ระยะทาง 21 กม. ก็จะเข้าสู่ตำบลดอนกลอยกลุ่มผ้าย้อมครามบ้านดงยาง อำเภอพิบูลรักษ์ จังหวัดอุดรธานี เป็นกลุ่มทอผ้าที่มีการสืบทอดมรดกทางภูมิปัญญาของชาวบ้านตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน นับว่าเป็นภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นมาคู่กับการทอผ้าและวัฒนธรรมของผ้าสีคราม เป็นสีธรรมชาติที่เก่าแก่ ซึ่งในปัจจุบันผ้าย้อมครามของกลุ่มได้กลายมาเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมที่สำคัญของจังหวัด และได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง แต่ปัญหาที่พบผู้ผลิตยังขาดความรู้ด้านการตลาด เนื่องจากการตลาดมีความสำคัญต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การขาย และรายได้ของสินค้าอย่างมาก เพื่อที่จะไปผลักดันผ้าย้อมครามด้านการตลาดให้ตรงกับเป้าหมายและความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งในเรื่องของการประชาสัมพันธ์ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการโฆษณาสินค้าด้วยภาวการณ์แข่งขันกันอย่างรุนแรงโดยเฉพาะประเภทผ้าย้อมครามและเครื่องประดับ ต่างมีสินค้าอยู่มากรายและมีสินค้าทดแทนเป็นจำนวนมาก ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อได้ตามความต้องการ ทั้งรูปแบบ ปริมาณ และราคาที่แตกต่างกัน นอกจากนั้นปัญหาที่พบคือสินค้าชุมชนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง กลุ่มผู้ผลิตขาดความรู้ความเข้าใจในการสร้างสื่อโฆษณาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกับขาดบุคลากรที่มีความชำนาญด้านการผลิตสื่อแอปพลิเคชั่น และการพัฒนาเว็บไซต์ให้ทันสมัย เมื่อผลิตภัณฑ์ไม่ได้รับการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง การขาดการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน อาจส่งผลต่อการจัดจำหน่ายและยอดขายที่ต่ำลงชุมชนบ้านดงยาง ต้องการให้มีการจัดทำฐานข้อมูลของสินค้า และต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์โดยการสร้างกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ (Product Traceability System) ในตัวสินค้าและพัฒนาเว็บไซต์ให้ทันสมัย เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ซื้อให้ทราบแหล่งที่มาและเกิดความมั่นใจในคุณภาพของผ้าย้อมคราม รวมถึงนวัตกรรมการย้อมและการจดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับลายผ้าได้อย่างถูกต้องทุกกระบวนการ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. การติดตามกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ (Product Traceability System)
2. การปฏิบัติและจัดทำฐานข้อมูล
3. ช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านแอปพลิเคชั่น
4. ระบบต้นทุนสินค้าและการคิดต้นทุนขาย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

0.00 0.00
2 สมาชิกในกลุ่มปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาและติดตามกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ

ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของสมาชิกในกลุ่ม

0.00
3 ปริมาณการขาย

มากกว่าร้อยละ 20 เทียบกับยอดขายปีที่ผ่านมา

0.00
4 จำนวนผู้เข้าชมฐานข้อมูลและเว็บไซต์

ปีแรกของการให้บริการ มีเป้าหมาย 1,000 คน ต่อเดือน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดองค์ความรู้

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดองค์ความรู้
วัตถุประสงค์
  1. สมาชิกในกลุ่มปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาและติดตามกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ
รายละเอียดกิจกรรม
ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่วิสาหกิจชุมชน และการบริการสังคม
ระยะเวลา 4 เดือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และเข้าใจแนวทางการปฏิบัติการพัฒนาสินค้า/การติดตามกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญบรรยายให้ความรู้เรื่องแนวทางการปฏิบัติ/การพัฒนาสินค้า/การติดตามกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ

4 คน 5,000 8 160,000
รวมค่าใช้จ่าย 160,000

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. จำนวนผู้เข้าชมฐานข้อมูลและเว็บไซต์
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นโดยผ่านเทคโนโลยีและเครื่องมือสื่อสาร
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สมาชิกในกลุ่มสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาและติดตามสินค้าได้ในทุกช่องทางการจัดจำหน่ายและการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
เครื่องคอมพิวเตอร์และแอปพลิเคชั่นที่เกี่ยวข้อง
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

การสอนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผ่านแอปพลิเคชั่น

2 คน 5,000 4 40,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ประสานผู้เกี่ยวข้องฝ่ายงานต่างๆ กับผู้แทนชุมชน

5 คน 2,000 4 40,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

5 ชิ้น 1,000 3 15,000
รางวัลเพื่อการยกย่อง

ค่ารางวัลเพื่อการยกย่องการจัดประกวดผลิตภัณฑ์ชุมชนในโครงการ

6 ชิ้น 3,000 2 36,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อใช้ในการจัดอบรมในโครงการ

20 ชิ้น 500 4 40,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 10 เที่ยว 500 4 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 191,000

กิจกรรมที่ 3 การยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ชื่อกิจกรรม
การยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
วัตถุประสงค์
  1. ปริมาณการขาย
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
ระยะเวลาดำเนินงาน
4 กรกฎาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนมีรายได้จากการจัดจำหน่ายสูงขึ้น สินค้ามีมาตรฐานและชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

การส่งเสริมให้สมาชิกในกลุ่มเกิดความภาคภูมิใจในชุมชนและสามารถพึ่งพาตนเองได้

2 คน 3,000 2 12,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

การประสานงานกับฝ่ายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านดงยาง

5 คน 1,000 4 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สาธิตในการฝึกอบรมอาชีพในชุมชน

50 ชิ้น 500 1 25,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรมอาชีพ

100 ชุด 50 1 5,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุมยกระดับคุณภาพชีวิตและอาชีพ

100 คน 300 1 30,000
รวมค่าใช้จ่าย 92,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 443,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 302,000.00 15,000.00 61,000.00 65,000.00 443,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 68.17% 3.39% 13.77% 14.67% 100.00%

11. งบประมาณ

443,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สมาชิกในกลุ่มสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาและติดตามสินค้าได้ในทุกช่องทางการจัดจำหน่ายและการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น นักศึกษาได้ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผ่านแอปพลิเคชั่นจากพื้นที่จริง ซึ่งจะได้นำความรู้จากห้องเรียนมาประยุกต์ใช้จริงนอกห้องเรียน
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถขายสินค้า/ผลิตภัณฑ์ได้เป็นจำนวนมาก นักศึกษาได้ฝึกทักษะการทำงานเป็นทีม การเป็นผู้นำ/ผู้ตาม และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน นักศึกษามีภาวะผู้นำ/ผู้ตามที่ดี เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คือ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
นำเข้าสู่ระบบโดย Santapol-udonthani63 Santapol-udonthani63 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2562 22:02 น.