โครงการ การพัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์สำหรับมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการ การพัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์สำหรับมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการ การพัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์สำหรับมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามจังหวัดมหาสารคามสำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์อุดรจิตจักรสาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคามรหัสไปรษณีย์44000โทรศัพท์ 043-725439โทรศัพท์มือถือ 085-48538850854853885อาจารย์อุดร จิตจักร, อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
อาจารย์ ดร.ณพรรธนนท์ ทองปาน อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์พิณพร คงแท่น อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาภาษาจีนคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
อาจารย์ปาริชาติราชมณี อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
1.นายวุฒิชัย ดวงมนตรีหมายเลขบัตรประชาชน1400900282007 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมอัตโนมัติในการเกษตร รหัสวิชา 5012342จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
2.นางสาวเพ็ญพักตร์ ศรีรักษา หมายเลขบัตรประชาชน1440400152562 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมอัตโนมัติในการเกษตร รหัสวิชา 5012342จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
3.นางสาวเกวลี พิมบุตร หมายเลขบัตรประชาชน1449900500924 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร)
เทียบโอนในรายวิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมอัตโนมัติในการเกษตร รหัสวิชา 5012342จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
4.นายพระราม รินระทึก หมายเลขบัตรประชาชน 1100501402729 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร)
เทียบโอนกับรายวิชา พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ3 หน่วยกิต (2-2-5)
5.นายธีรเจต จตุไชย หมายเลขบัตรประชาชน 1100300172483 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร)
เทียบโอนกับรายวิชา พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ3 หน่วยกิต (2-2-5)
6.นางสาวน้ำผึ้งชาลี หมายเลขบัตรประชาชน 1459900635862 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีการอาหาร)
เทียบโอนในรายวิชาแปรรูปอาหาร1 รหัสวิชา5007231 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
7.นางสาวปนัดดาแก้วโสภาหมายเลขบัตรประชาชน 1440200061881 หลักสูตร(วท.บ. สาขาเทคโนโลยีการอาหาร)
เทียบโอนในรายวิชาแปรรูปอาหาร1 รหัสวิชา5007231 จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3-6)
8.นางสาวชาลิสาแซ่หลีหมายเลขบัตรประชาชน 1909802276642 หลักสูตร(ศศ.บ. สาขาภาษาจีน)
เทียบโอนในวิชาภาษาจีนสำหรับการตลาด1 รหัสวิชา3030331 จำนวน 3หน่วยกิต(2-2-5)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ หนองกุงศรี หนองหิน

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากอำเภอหนองกุงศรี 22 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ 94 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครองเป็น หมู่ ๒ และหมู่ ๙ มีครัวเรือนจำนวน 274 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 824 คน (องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน,2562)ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร ปลูกพืชเศรษฐกิจ และประมง ได้แก่ มะม่วงมหาชนก อ้อย มันสำปะหลัง และปลานิลกระชังพ.ศ.2539 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสนับสนุนโครงการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริโดยสนับสนุนไม้ผลพันธุ์ดีและไม้ดอกเช่น มะม่วง (พันธุ์มหาชนกเพชรบ้านลาดหนองแซง) มะนาวลำไยลิ้นจี่ทับทิมชมพู่ทับทิมจันทร์ส้มโอดอกแกลดิโอลัสและแฝกเป็นต้น โดยอยู่ในเขตพื้นที่หมู่บ้านหนองบัวชุมตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพการผลิตไม้ดอกไม้ผลการขยายพันธุ์ บริโภคและจำหน่ายซึ่งพืชที่ปลูกได้ผลผลิตและจำหน่ายได้ราคาดีที่สุด คือมะม่วงพันธุ์มหาชนก พ.ศ.2541 เกษตรกรจึงได้ขยายพันธุ์มะม่วงมหาชนก โดยนำไปปลูกในแปลงส่วนตัว ผลผลิตที่ได้ นำไปจำหน่ายในตลาดท้องถิ่นเช่น ในหมู่บ้านตำบล อำเภอจังหวัด โดยมีหน่วยงานราชการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จัก และเริ่มมีแม่ค้าเข้าไปซื้อที่แปลงเกษตร พ.ศ.2548 นายจันทร์ศรีพวงมาลัยได้ประสานงานกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพื่อหาทางจำหน่ายมะม่วงมหาชนกไปยังต่างประเทศซึ่งทางมหาวิทยาลัยได้แนะนำให้จำหน่ายกับบริษัททิม ฟู้ด ซึ่งได้ราคาที่ดีขึ้นกว่าจำหน่ายในตลาดท้องถิ่นมากเป็นสาเหตุให้เกษตรในหมู่บ้านและพื้นที่ใกล้เคียงขยายพื้นที่ปลูกมะม่วงมหาชนกเพิ่มขึ้นจำนวนมาก พ.ศ.2554 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรได้ทำการส่งเสริมและสนับสนุนการรับรอง GMP (GoodManufacturing Practice) แบบกลุ่ม เนื่องจากว่าตลาดมีความต้องการมะม่วงที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรจึงได้มีการรวมกลุ่มของผู้ปลูกมะม่วงมหาชนก สมัครขอรับรอง GMPกลุ่ม(เกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงมหาชนกหนองบัวชุม, 2555) ปัจจุบันมะม่วงมหาชนกเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผลไม้รับประทานสุก แหล่งผลิตส่วนใหญ่อยู่ที่อำเภอหนองกุงศรี มีพื้นที่ปลูก 1,073 ไร่ มีผู้ปลูก 165 ราย ผลผลิตปีละประมาณ 1,752 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,800 กิโลกรัม ต่อไร่ สร้างรายได้ให้เกษตรกร คิดเป็นมูลค่ากว่า 30 ล้านบาทปริมาณการส่งออกเติบโตอย่างรวดเร็วเป็นผลไม้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรตเส้นใยอาหาร วิตามินโดยเฉพาะวิตามินเอในรูปของเบต้าแคโรทีน และแร่ธาตุต่างๆ เช่น แคลเซียม และโพแทสเซียม(USDA Agricultural Research Service, 2008) ต่างประเทศมีความต้องการมาก เช่น ประเทศญี่ปุ่น จีน และเกาหลี แต่กระบวนการส่งออกมะม่วงไปต่างประเทศ ต้องผ่านการตรวจสอบ เพื่อรับรองการปลอดศัตรูพืช โดยเฉพาะแมลงวันทองและปลอดสารพิษตกค้าง ยิ่งไปกว่านั้นเงื่อนไขของบางประเทศที่นำเข้ามะม่วงมหาชนกจากไทยยังกำหนดให้มีผลผลิตที่มาจากแปลงผลิตที่ได้รับการรับรอง จีเอพี (GAP) หรือเกษตรดีที่เหมาะสม การจำหน่ายมีพ่อค้ามารับซื้อที่สวน เพื่อส่งบริษัท ซีพีฯ บริษัท ทิมฟู๊ดฯ บริษัท สวิฟฯ บริษัท ไชน์โฟร์ท จำกัด เพื่อส่งจำหน่ายตลาดในประเทศและต่างประเทศ ส่งญี่ปุ่น ในรูปแปรรูปมะม่วงแช่แข็ง ตลาดฮ่องกง ต้องการผล ขนาด 3.4-4.5 ขีด ต่อผล ตลาดยุโรป ต้องการผล ขนาด 3.4-4.5 ขีด ต่อผล ตลาดญี่ปุ่นชอบมะม่วงมหาชนกผลสีแดง ขนาดผล3.5-4.5 ขีด (โอภาส, 2557)ซึ่งมะม่วงมหาชนกจัดได้ว่าเป็นผลไม้ที่ประเทศไทยมีการผลิตในปริมาณที่มาก และมีศักยภาพในการส่งออก จึงได้มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อให้เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ โดยสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการผลักดันให้สินค้าการเกษตรของประเทศไทยมีระบบการย้อนกลับ เพื่อเพิ่มความสามารถในการส่งออกระหว่างประเทศ โดยสินค้าที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจะต้องมีข้อมูลผู้ผลิต และผู้จัดจำหน่าย รวมถึงข้อมูลแหล่งผลิตโดยให้ระบุประเทศและพื้นที่ผลิตด้วย (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2550)
เทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ (QR Code) เป็นรหัสแบบบาร์โค้ด 2 มิติหรือเมทริกซ์ชนิดหนึ่ง ชื่อคิวอาร์โค้ด (QR Code) ย่อมาจากคำว่า “Quick Response Code” ซึ่งมีการคิดค้นและประดิษฐ์ในประเทศญี่ปุ่น เริ่มต้นใช้เพื่อการระบุข้อมูลของการควบคุมการผลิตของชิ้นส่วนรถยนต์ เพราะคิวอาร์โค้ด สามารถบรรจุข้อมูลเข้ารหัสได้ทั้งตัวเลข ตัวอักขระ หรือทั้งสองอย่างผสมกันได้เป็นจำนวนมาก มีความสามารถในการอ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงในทุกทิศทาง สามารถป้องกันการผิดเพี้ยนจากสัญลักษณ์ ป้องกันความเสียหายของข้อมูล สามารถเชื่อมโยงฟังก์ชันการทำงานจากสัญลักษณ์เดียวไปอีกหลาย ๆ สัญลักษณ์ มีการทำเครื่องหมายเฉพาะของรหัส มีการเก็บรักษาความลับของข้อมูล และยังมีความสามารถในการอ่านแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์อีกด้วย และต่อมาได้มีการนำคิวอาร์โค้ด มาประยุกต์ใช้ในงานอื่น ๆ อย่างแพร่หลาย (ศักรินทร์, 2554)
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก บ้านหนองบัวชุม หมู่ 2 ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นธุรกิจภาคเกษตรที่เป็นการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงมหาชนก มีจำนวนสมาชิกเป็นคนในท้องถิ่น โดยได้รวมกลุ่มกันเพื่อรวบรวมส่งผลผลิต(มะม่วงมหาชนก) เพื่อจำหน่ายให้กับภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้ ได้มีการจำหน่ายผลผลิตให้กับบริษัทหลายบริษัท รวมทั้งส่งออกไปยังต่างประเทศ ส่งผลทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มจากการปลูกมะม่วงมหาชนกกลุ่มฯมีที่ตั้งเป็นศูนย์กลางและที่ทำการเลขที่ 46 หมู่ที่ 2 ตำบลหนองหิน อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัญหาที่พบ กลุ่มมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการน้อยมากไม่ว่าจะเป็นการบริหารจัดการข้อมูลการบริหารจัดการข้อมูลการจำหน่ายผลผลิต เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่สูงอายุมีความรู้ด้านเทคโนโลยีน้อย จึงทำให้การบริหารจัดการข้อมูลที่จำเป็นของสินค้าค่อนข้างที่จะเป็นปัญหาด้วยเหตุนี้การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการผลผลิตน่าจะส่งผลดีกับกลุ่มเกษตรกรโดยเฉพาะการที่สินค้าสามารถที่จะตรวจสอบย้อนกลับได้เป็นผลดีต่อความเชื่อมั่นของสินค้าว่ามีมาตรฐาน ปลอดภัยและสามารถที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันต่อไปได้
โครงการนี้เป็นการบูรณาการ โดยนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาใช้ในการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนก โดยการนำนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร ลงพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ก่อให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง มีการพัฒนาที่ยั่งยืน และก้าวไปสู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) อีกทั้งสามารถที่จะพึ่งตนเองแก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ประเด็นปัญหาหลัก ปัญหาด้านความยากจนและคุณภาพชีวิต
นำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาสินค้าด้านการเกษตรประกอบกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด) โดยมีเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด คือ นวัตกรรมนำ เกษตรกรรมยั่งยืน อุตสาหกรรมการเกษตร เชื่อมโยงการบริการการท่องเที่ยว ระบบโลจิสติกส์และระบบราง ซึ่งประเด็นการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด เน้นการพัฒนาศักยภาพการผลิตการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน และแผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ์ ประเด็นการพัฒนาที่ 1 พัฒนาศักยภาพที่มุ่งเน้นการผลิตสินค้าการเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยมีเป้าประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันและรายได้ภาคการเกษตรของจังหวัดโดยมีแนวทางการพัฒนาด้วยการวิจัยและพัฒนาวิธีการผลิต แปรรูป การบรรจุ มาตรฐานการผลิตและความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ ด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี ให้มีคุณภาพระดับสูง เพื่อการส่งออกและรองรับตลาดสมัยใหม่ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์สำหรับมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม ตำบลหนองหินอำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาบูรณาการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนกได้

ได้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ สำหรับมะม่วงมหาชนกที่สอดคล้องต่อความต้องการของชุมชน 1 ระบบ

100.00 100.00
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้การนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ มาช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดมะม่วงมหาชนกให้กับชุมชนได้

ได้ชุมชนมีศักยภาพในการแข่งขันด้านการผลิตสินค้าได้มาตรฐาน คือ ได้ระบบตรวจสอบย้อนกลับมาตรฐานสินค้า

100.00 100.00
3 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถทำงานและบูรณาการร่วมกับชุมชนได้ และเป็นการพัฒนาบัณฑิตในศตวรรษที่ 21

นักศึกษาได้ประสบการณ์บูรณาการในการทำงานร่วมกับชุมชนได้

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก 60

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาสภาพ และความต้องการใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาบูรณาการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนกได้
รายละเอียดกิจกรรม
ศึกษาสภาพ และความต้องการใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนกโดยมีอาจารย์ 4 คน นักศึกษาจำนวน 9 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 60 คน จำนวน 2 ครั้ง โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ (โดยมีวิทยากร 4 ท่านร่วมบรรยาย)
1.จัดประชุมชี้แจงและศึกษาความต้องการใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับ
2.ศึกษากระบวนการเก็บผลผลิตและจำหน่ายมะม่วงมหาชนกร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก
3.ศึกษาข้อมูลด้านการผลิตมะม่วงมหาชนกร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก
4.ศึกษากระบวนการจัดการผลผลิตเพื่อการจำหน่ายกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนก
5.ศึกษาเทคโนโลยีเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ข้อมูลที่จะนำไปสร้างระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์สำหรับมะม่วงมหาชนกแบบบูรณาการที่มีส่วนร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตามที่ต้องการกับกลุ่มเกษตรกร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

(1) ค่าอาหารกลางวัน(150 บาท x 75 คน x 1 มื้อ x 2 ครั้ง)

75 คน 150 2 22,500
ค่าอาหาร

(2)ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(35 บาท x 75 คน x 2 มื้อ 2 ครั้ง)

75 คน 35 4 10,500
ค่าเช่าสถานที่

เช่าสถานที่จัดประชุมชี้แจง (ครั้งละ10000 บาท x 2 ครั้ง)

1 ครั้ง 10,000 2 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถตู้ (1คัน x3500x2)

2 เที่ยว 3,500 1 7,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน (7500x2)

1 ชุด 7,500 2 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร (4คน x 3ชม.x600)

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม(75x200x1)

75 คน 200 2 30,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าไวนิลประชาสัมพันธุ์

1 ครั้ง 2,500 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 114,700

กิจกรรมที่ 2 เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ ออกแบบระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ ออกแบบระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาบูรณาการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนกได้
รายละเอียดกิจกรรม
เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ ออกแบบระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก
โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.จัดประชุม เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.นำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.นำข้อมูลที่ได้มาสรุป ออกแบบระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ สำหรับมะม่วงมหาชนกร่วมกันกับกลุ่มเกษตรกร
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2563 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้แผนผัง data flow diagram ที่วิเคราะห์และออกแบบระบบ ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนกร่วมกับทางกลุ่ม พร้อมที่จะนำไปพัฒนาต่อ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร 75 คน 150 2 22,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (35x75x2x2)

75 คน 35 4 10,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าจ้างเหมาเช่าสถานที่

2 คน 10,000 1 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถตู้ (1คัน x3500x2)

1 คน 3,500 2 7,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 2 คน 7,500 1 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

วิทยากร(4x600x3)

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 75 คน 200 1 15,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าไวนิลประชาสัมพันธุ์

1 ครั้ง 2,500 1 2,500
รวมค่าใช้จ่าย 99,700

กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาบูรณาการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนกได้
รายละเอียดกิจกรรม
การพัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.การทำความเข้าใจกับปัญหา
2.การรวบรวมข้อมูล
3.การวิเคราะห์ระบบ
4. การออกแบบระบบ
5.การพัฒนาระบบ และ จัดทำเอกสาร
6.การทดสอบและบำรุงรักษาระบบ
7.การส่งเสริมและการประเมินผลระบบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนกที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน 1 ระบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ 5 คน ในการพัฒนาระบบ (5x1400x30)

1 คน 1,400 30 42,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 9 คน (9x240x45)

9 คน 240 45 97,200
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจัดทำคู่มือระบบ (150บาทx60เล่ม)

60 คน 150 1 9,000
รวมค่าใช้จ่าย 148,200

กิจกรรมที่ 4 การประเมินผลการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
การประเมินผลการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์มาบูรณาการตรวจสอบย้อนกลับมะม่วงมหาชนกได้
รายละเอียดกิจกรรม
การประเมินผลการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก โดยใช้ผู้ทรงวุฒิประเมินระบบ จำนวน 5 คน นักศึกษาที่เข้าฟัง 10 คน อาจารย์ 5 ท่าน ประเมินประสิทธิภาพของระบบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มีนาคม 2563 ถึง 13 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประเมินประสิทธิภาพของระบบระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิประเมินระบบ (5 คน x 3ชม.x1200บาท)

5 คน 3,600 1 18,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 1,500 1 1,500
ค่าอาหาร 20 คน 150 1 3,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง

20 คน 35 2 1,400
รวมค่าใช้จ่าย 23,900

กิจกรรมที่ 5 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้การนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ มาช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดมะม่วงมหาชนกให้กับชุมชนได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถทำงานและบูรณาการร่วมกับชุมชนได้ และเป็นการพัฒนาบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
รายละเอียดกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้งานระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ของมะม่วงมหาชนก ให้กับเกษตรกร จำนวน 60 คน และผู้ที่สนใจอีก 20 คน รวมเป็น 80 คน ใช้วิทยากร 5 คน และผู้ช่วยวิทยากร นักศึกษา 10 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะม่วงมหาชนกสามารถใช้ประโยชน์จากระบบระบบตรวจสอบย้อนกลับโดยเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ ของมะม่วงมหาชนกได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากรฝึกอบรม

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ผู้ช่วยวิทยากร นักศึกษา (9คน 240บาท 2 วัน)

9 คน 240 2 4,320
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าสถานที่จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (10000x2วัน)

2 ครั้ง 10,000 1 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร

80 คน 150 2 24,000
ค่าอาหาร

อาหารว่าง

80 คน 35 4 11,200
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าเช่าเหมาจ่ายรถ

2 คน 3,500 2 14,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 คน 1,500 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เอกสารประกอบการจัดอบรม

75 คน 100 1 7,500
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 12,280 1 12,280
รวมค่าใช้จ่าย 103,500

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้การนำเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ มาช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดมะม่วงมหาชนกให้กับชุมชนได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถทำงานและบูรณาการร่วมกับชุมชนได้ และเป็นการพัฒนาบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
รายละเอียดกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน และนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ และเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 20 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
รายงานการนำโครงการไปใช้ประโยชน์รายงานฉบับสมบูรณ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอหนองกุงศรี, องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหิน, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ปลูกและแปรรูปมะม่วงมหาชนกบ้านหนองบัวชุม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ชุด 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 10,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 228,120.00 8,000.00 200,100.00 63,780.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 45.62% 1.60% 40.02% 12.76% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) กลุ่มเกษตรกรสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันการจำหน่ายมะม่วงมหาชนก โดยใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์ ได้อย่างเหมาะสม นักศึกษาได้ประสบการณ์ในการบูรณาการความรู้ระบบตรวจสอบย้อนกลับด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์ในการทำงานร่วมกับชุมชนได้
ผลลัพธ์ (Outcome) เพิ่มศักยภาพกลุ่มเกษตรกรในการแข่งขันคุณภาพสินค้ามะม่วงมหาชนกได้มาตรฐานสินค้าเพื่อการส่งออกได้ นักศึกษาได้ประสบการณ์บูรณาการในการทำงานร่วมกับชุมชนได้
ผลกระทบ (Impact) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีศักยภาพในการแข่งขัน สามารถที่จะพึ่งตนเองได้ สามารถปรับตัวให้เข้ากับเศรษฐกิจยุคดิกิทัลโดยมีการบูรณาการการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างเหมาะสม นักศึกษาได้เห็นช่องทางและโอกาสในการสร้างอาชีพและพัฒนาตนเองไปเป็นผู้ประกอบการ
นำเข้าสู่ระบบโดย Udon  Jitjuk Udon Jitjuk เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2562 17:08 น.