โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แบบเสนอโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. ชื่อโครงการ

โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์1) คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร 2) ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ.ร่องคำ จ.กาฬสินธุ์ชุมชนในพื้นที่ตำบลร่องคำ ตำบลสามัคคีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศมณพร สุทธิบาก59/5 หมู่ที่ 1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร0952396195, 042-725-033

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ร่องคำ ร่องคำ

3. รายละเอียดชุมชน

ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดกาฬสินธุ์ มีอาชีพหลัก คือ อาชีพทำนา และอาชีพเสริม คือ การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชระยะสั้น อาทิ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ ปลูกพริก มะเขือเทศ และพืชผักต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมีความจำเป็นในการใช้อาหารสัตว์ และปุ๋ยในการทำอาชีพเกษตรกรรม โดยเกษตรกรดังกล่าวจะมีการซื้ออาหารสัตว์ และปุ๋ยเพื่อใช้ภายในครัวเรือน ซึ่งทำให้ปัญหาภาระหนี้สินภายในครัวเรือนและความยากจนยังคงอยู่ในระดับที่สูง โดยจังหวัดกาฬสินธุ์ติดอันดับ 1 ใน 10 จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูงที่สุดหรือมีความยากจนหนาแน่นสูงที่สุด เป็นอันดับ 4 ของประเทศ ในปี 2550-2559 (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559)ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดกาฬสินธุ์ มีอาชีพหลัก คือ อาชีพทำนา และอาชีพเสริม คือ การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชระยะสั้น อาทิ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ ปลูกพริก มะเขือเทศ และพืชผักต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมีความจำเป็นในการใช้อาหารสัตว์ และปุ๋ยในการทำอาชีพเกษตรกรรม โดยเกษตรกรดังกล่าวจะมีการซื้ออาหารสัตว์ และปุ๋ยเพื่อใช้ภายในครัวเรือน ซึ่งทำให้ปัญหาภาระหนี้สินภายในครัวเรือนและความยากจนยังคงอยู่ในระดับที่สูง โดยจังหวัดกาฬสินธุ์ติดอันดับ 1 ใน 10 จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูงที่สุดหรือมีความยากจนหนาแน่นสูงที่สุด เป็นอันดับ 4 ของประเทศ ในปี 2550-2559 (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559)หนอนที่มีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายเศษอาหาร เศษผักและเศษผลไม้จากชุมขน รวมถึงมูลสัตว์และเศษไม้ที่เน่าเปื่อยผุพังได้แก่หนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) ซึ่งตัวเต็มวัยของแมลงวันลาย มีความยาว 4-6 เซนติเมตร พบได้ทั่วไปในสภาพภูมิอากาศเขตร้อนและเขตอบอุ่น แมลงวันลายไม่เป็นสัตว์รำคาญ ไม่มีฟัน ไม่มีเหล็กใน ไม่เป็นพาหะนำโรค ไม่เป็นศตรูพืช ถ้าแมลงวันลายเป็นเจ้าถิ่น หรือทำการวางไข่ แมลงวันลายจะปล่อยสารยับยั้งการวางไข่ของแมลงวันบ้าน (Allomone) ทำให้แมลงวันบ้านไม่เข้าใกล้บริเวณนั้นๆ ซึ่งเป็นการควบคุมแมลงวันบ้านได้ (Cickova, Newton, and Kozanek, 2015) และจากการวิจัยภายใต้โครงการ Innovation Hub-Agriculture & Food เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 พบว่าหนอนแมลงวันลายสามารถย่อยขยะอินทรีย์ประเภทเศษผัก ผลไม้และเศษอาหารได้มากถึง 80-90% (ศมณพรและคณะ, 2561) และมีคุณค่าทางอาหารสูง โดยมีโปรตีน 42-51% ไขมัน 35% พลังงาน 2,900 กิโลแคลอรี่ (กุลชาติ, 2554 และศมณพร, 2561) สามารถนำไปเป็นอาหารไก่ไข่ ไก่พื้นบ้าน ไก่สวยงาม อาหารปลา และอาหารกบได้ และมีราคาขายในประเทศไทยกิโลกรัมละ 500-600 บาท (อ้างอิงจากศูนย์กำจัดขยะอินทรีย์ชุมชนบ้านโนนศาลา, 2562) จะช่วยแก้ไขปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่เป้าหมายได้
นอกจากนี้ลักษณะโครงการดังกล่าวสอดคล้องกับ Flagshipและนโยบายของรัฐบาลที่จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในประเด็น BCG in Action (Bio-Circular-Green Economy) ที่มุ่งเน้นไปที่แหล่งโปรตีนทางเลือกใหม่จากแมลง และ Zero-waste ดังนั้นแนวคิดการเสริมสร้างศักยภาพคนในชุมชนในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจึงเป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้มีความสามารถในการวางแผนชีวิตและดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ตลอดจนเป็นการพัฒนาระบบการเรียนรู้ในชุมชนให้เข้าถึงความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา และนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดและประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ทำให้เกิดความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย อันเป็นการปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน ผลที่ได้จากการดำเนินการดังกล่าวทำให้เกิดการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ภายในครัวเรือน และเกิดการพึ่งพาตนเองมากที่สุดอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบให้เป็น “ศูนย์เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

จำนวนครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน

30.00 30.00
2 เพื่อสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่สามารถเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง

จำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ จำนวน 100 คน

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มนักเรียนมัธยมปลาย 20
กลุ่มเกษตรกรที่มีอาชีพเลี้ยงไก่ ปลา กบ และอื่นๆ 30
กลุ่มเกษตรกรวัยกลางคน (อายุ 40-70 ปี) 20
กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 คัดเลือกชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพเพื่อเป็นต้นแบบในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพเพื่อเป็นต้นแบบในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1) จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่ถูกคัดเลือก 30 ครัวเรือน
    2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรมจำนวน 100 คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
    เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    (1) ค่าตอบแทนปฏิบัติการนอกเวลาในวันหยุดราชการ

    3 คน 420 5 6,300
    อื่น ๆ

    (2) ค่าตอบแทนคณะกรรมการคัดเลือกพื้นที่

    3 คน 600 12 21,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 2,500 1 5,000
    ค่าอาหาร

    (3) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

    3 คน 240 2 1,440
    ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
    ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 20 1 2,000
    รวมค่าใช้จ่าย 38,740

    กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือน-กลางทาง

    ชื่อกิจกรรม
    การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือน-กลางทาง
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1) จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่ผ่านการอบรมฯ จำนวน 30 ครัวเรือน
      2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ผ่านการอบรมฯ จำนวน 100 คน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      องค์การบริหารส่วนตำบลร่องคำ สำหรับสถานที่ในการฝึกอบรม
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรภายในมหาวิทยาลัย

      1 คน 1,800 2 3,600
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก

      1 คน 2,400 2 4,800
      ค่าอาหาร

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน

      10 คน 210 2 4,200
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 2,500 1 5,000
      ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
      ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 100 1 10,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันของผู้รับการอบรม

      100 คน 150 2 30,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

      100 คน 35 4 14,000
      ค่าอาหาร

      ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

      3 คน 240 2 1,440
      ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
      ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 5,000 1 5,000
      อื่น ๆ

      ค่าจัดพิมพ์คู่มือการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายในระดับครัวเรือน

      30 คน 150 1 4,500
      อื่น ๆ

      ค่าโทรศัพท์และค่าไปรษณีย์

      6 ชุด 1,000 1 6,000
      รวมค่าใช้จ่าย 95,940

      กิจกรรมที่ 3 การติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือนต้นแบบ

      ชื่อกิจกรรม
      การติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือนต้นแบบ
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่มีการติดตั้งระบบเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจำนวน 30 ครัวเรือน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
        เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 3,600 2 7,200
        ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 4,800 2 9,600
        ค่าอาหาร

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน

        5 คน 210 2 2,100
        ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 1 2,400
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 2,500 1 5,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าวัสดุอุปกรณ์เพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย

        30 ชุด 10,000 1 300,000
        รวมค่าใช้จ่าย 326,300

        กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลโครงการ

        ชื่อกิจกรรม
        การติดตามและประเมินผลโครงการ
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
          เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 12 7,200
          ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 800 12 9,600
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 3 ครั้ง 2,500 1 7,500
          ค่าที่พักตามจริง 3 คน 800 2 4,800
          ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 20 1 2,000
          ค่าอาหาร

          ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

          3 คน 240 3 2,160
          อื่น ๆ

          ค่าจ้างเหมาเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถาม

          100 คน 50 1 5,000
          รวมค่าใช้จ่าย 38,260

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 499,240.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 42,000.00 5,000.00 103,840.00 305,000.00 43,400.00 499,240.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 8.41% 1.00% 20.80% 61.09% 8.69% 100.00%

          11. งบประมาณ

          499,240.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) 1) จำนวนเกษตรกรและประชาชนทั่วที่ผ่านการอบรมระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง 100 คน
          2) จำนวนเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ผ่านการอบรมและติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง 30 ครัวเรือน
          มีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจากการลงมือปฏิบัติร่วมกับชุมชนที่เข้าร่วมอบรม
          ผลลัพธ์ (Outcome) 1) จำนวนปุ๋ยอินทรีย์ที่เกิดจากการย่อยสลายของหนอนแมลงวันลาย
          2) จำนวนหนอนโปรตีนสูงที่สามารถนำไปใช้ในการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง
          ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะ (21st Century Themes) โดยผู้เรียนจะมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ในด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) โดยผ่านการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามนโยบายของรัฐบาล “คัดแยกก่อนทิ้ง” และก่อให้เกิดจิตสำนึกที่จะให้ความร่วมมือและปฏิบัติตนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทำให้อยู่ในสภาพที่ดีเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของทุกคน
          ผลกระทบ (Impact) 1) ลดปริมาณขยะอินทรีย์ที่จะไปนำไปกำจัด
          2) ลดค่าใช้จ่ายในการนำไปกำจัดขยะอินทรีย์
          ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skill) โดยส่งผลถึงทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ทั้งนี้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับความรู้ความชำนาญ เพื่อขยายขอบเขตการเรียนรู้และโอกาสที่จะทำ ให้เกิดความเชี่ยวชาญ และเกิดกระบวนการ เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
          นำเข้าสู่ระบบโดย ผศ.ดร.ศมณพร สุทธิบาก ผศ.ดร.ศมณพร สุทธิบาก เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562 19:18 น.