การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์

แบบเสนอโครงการ
การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์

1. ชื่อโครงการ

การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์อ.นิโรธ ศรีมันตะ/อ.เดชณรงค์ วนสันเทียะ/ผศ.ประดิษฐ์ วงศ์สุวรรณ/ดร.อนุวัฒน์ ศรีสุวรรณ/อ.จีระนันท์ วงศ์วทัญญู/ผศ.ดร.นรพล รามฤทธิ์/ผศ.ดร.ปิยฉัตร ทองแพง319 ถ.ไทนพันทา ต.โพธิ์ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 330000851553883นักศึกษาจำนวน 10 คน
-นางสาวอรวรรณ จำปาเรือง 6115964122 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นางสาวธนพร ไพรพฤกษ์ 6115964121 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นางสาวสุกัญญา โตมร 6115964120 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายจักรกริช อินแก้ว 6115964103 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายพัฒนศิลป์ พวงพงธ์ 6115964124 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายปฎิพล อ่อนพันธ์ 6115964109 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายนิรัติศัย ทองเรือง 6215964106 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายเรืองยศ รัตโน 6215964123 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายยุทธการ เสาเวียง 621596411 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
-นายยศกร วงศ์ภักดี 6215964110 สาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย 59 ครัวเรือน มีประชากรรวมราว 279 คน โดยส่วยใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป มีอาชีพรองได้แก่การทำประมง การค้าขาย และการทำไร่ ตามลำดับ มีผู้ยากจน 7 คน (จปฐ) โดยลักษณะทั่วไปของชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์อยู่ติดกับเขื่อนลำปาว จึงถือว่ามีศักยภาพในการทำประมง โดยเฉพาะการเลี้ยงปลาในกระชัง จึงมีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา มีการรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น พบว่า ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตและแปรรูปปลาอย่างหลากหลายแต่ยังขาดขบวนการการจัดการองค์ความรู้ การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาให้ได้มาตรฐานรวมถึงการพัฒนาขั้นตอนการผลิตด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและช่วยเพิ่มมาตรฐานการผลิตของผลิตภัณฑ์ปลาของชุมชนและที่สำคัญยังขาดการส่งเสริมและพัฒนาการตลาดออนไลน์เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์สู่ท้องตลาดอย่างกว้างขวางทางคณะทำงานโครงการจึงได้พิจารณาคัดเลือกชุมชนดังกล่าวที่จะสามารถพัฒนาได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการยุวชนอาสา1.มีแหล่งทรัพยากร (อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำปาว) สามารถผลิตและเลี้ยงปลาได้
2.มีการรวมกลุ่มในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา
3.เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของอำเภอสหัสขันธ์
1.ปัญหากระบวนการจัดการองค์ความรู้
2.ขาดการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน ทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ กระบวนการแปรรูป การผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น
3.ยังขาดการส่งเสริมช่องทางการขาดในตลาดสมัยใหม่แบบออนไลน์
1.การจัดการองค์ความรู้ และการบริหารผลิตภัณฑ์ชุมชน
2.การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
3.การพัฒนาการขายแบบออนไลน์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.การจัดการชุมชนและการน้อมนำศาสตร์พระชาสู่การปฏิบัติจริง
2.เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแปรรูปอาหาร
3.การออกแบบและก่อสร้างโดยประยุกต์วัสดุท้องถิ่นและวัสดุสมัยใหม่
4.มาตรฐานการผลิตและการบรรจุภัณฑ์
5.การตลาดและช่องทางออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน

นักษามีทักษะ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน ร้อยละ 80

80.00 80.00
2 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน

ชุมชนสามารถพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่ๆจากปลา ด้วยโรงอบพลังงานแสงอาทิตย์ ได้ด้วยตนเอง

1.00 1.00
3 3.เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

มีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน (จากอาชีพรอง) ต่อปีเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10

10.00 5.00
4 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่

ชุมชนสามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้จากโครงการฯได้

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1.คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษจากหลายสาขาวิชา 7
2.นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษจากหลายสาขาวิชา 10
3.ชุมชนเป้าหมายบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 35
4.บุคคลทั่วไป ผู้สนใจ นักเรียน นักศึกษา 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์โครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการ
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการ เตรียมความพร้อม กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 15 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
รวมค่าใช้จ่าย 1,872

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงกระบวน ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจชุมชน วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงกระบวน ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจชุมชน วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความเข้าใจกับชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 และศึกษาบริบทชุมชน ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทราบบริบท ปัญหาและความต้องการของชุมชนที่แท้จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x5วัน)

2 คน 3,600 5 36,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (120บาทx55คนx1มื้อx5วัน)

55 คน 120 5 33,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx5วัน)

55 คน 35 10 19,250
รวมค่าใช้จ่าย 90,122

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการการน้อมนำศาสตร์พระชาสู่การปฏิบัติจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการน้อมนำศาสตร์พระชาสู่การปฏิบัติจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน
  3. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชน นักศึกษา เข้าใจการน้อมนำศาสตร์พระชาสู่การปฏิบัติจริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x3วัน)

2 คน 3,600 3 21,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx3วัน)

55 คน 120 3 19,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx3วัน)

55 คน 35 6 11,550
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
รวมค่าใช้จ่าย 54,822

กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำผลิตภัณฑ์จากปลาและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ คือ ปลาตากแห้งสูตรต่างๆแบบดั้งเดิม ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำผลิตภัณฑ์จากปลาและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ คือ ปลาตากแห้งสูตรต่างๆแบบดั้งเดิม ฯลฯ
วัตถุประสงค์
  1. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน
  2. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนเข้าใจการทำผลิตภัณฑ์จากปลาและมาตรฐานผลิตภัณฑ์สมัยใหม่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x2วัน)

2 คน 3,600 2 14,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx2วัน)

55 คน 120 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx2วัน)

55 คน 35 4 7,700
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 4,000 1 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 41,172

กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาตากแห้งสูตรต่างๆสูตรใหม่ที่เป็นรูปแบบเฉพาะของชุมชน ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาตากแห้งสูตรต่างๆสูตรใหม่ที่เป็นรูปแบบเฉพาะของชุมชน ฯลฯ
วัตถุประสงค์
  1. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน
  2. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 15 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชมชน นักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา สามารถพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์จากปลาใหม่ได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x3วัน)

2 คน 3,600 3 21,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx2วัน)

55 คน 120 3 19,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx2วัน)

55 คน 35 6 11,550
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 6,000 1 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 60,822

กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน
  3. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมการสร้างกระบวนการผลิตแบบใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนเข้าใจกระบวนการและวิธีการสร้างโรงอบปลาจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบหลังคาโค้งด้วยการประยุกต์วัสดุสมัยใหม่กับวัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x2วัน)

2 คน 3,600 2 14,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx2วัน)

55 คน 120 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx2วัน)

55 คน 35 4 7,700
ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
รวมค่าใช้จ่าย 37,172

กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกและความสามารถให้ชุมชนในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ได้อย่างยั่งยืน
  3. 3.เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
  4. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ชุมชน นักศึกษา และที่ปรึกษา สามารถสร้างโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สร้างโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยเทคนิคการผสมผสานวัสดุในท้องถิ่นกับวัสดุสมัยใหม่ / ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์เพื่อการผลิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x5วัน)

2 คน 3,600 5 36,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx5วัน)

55 คน 120 5 33,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx5วัน)

55 คน 35 10 19,250
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการก่อสร้างโรงอบ

1 ชุด 31,902 1 31,902
รวมค่าใช้จ่าย 122,024

กิจกรรมที่ 8 อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อ และแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อ และแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 3.เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ชุมชน นักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา ร่วมกันพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของตนที่ตอบโจทย์ตลาดสมัยใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
รูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ใหม่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x2วัน)

2 คน 3,600 2 14,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx2วัน)

55 คน 120 2 13,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง(35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx2วัน)

55 คน 35 4 7,700
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
รวมค่าใช้จ่าย 37,172

กิจกรรมที่ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการการวางแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการวางแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้นักศึกษาในการเตรียมตัวเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาชุมชน
  2. 3.เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
  3. 4.เพื่อส่งเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการภายในชุมชนด้วยองค์ความรู้สมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ชุมชน นักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา ร่วมกันพัฒนาแนวทางการตลาดในโลกออนไลน์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ช่องทางการขายในตลาดออนไลน์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทายากร (2คนx600บาทx6ชม.x3วัน)

2 คน 3,600 3 21,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน(120บาทx55คนx1มื้อx3วัน)

55 คน 120 3 19,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (35บาทx2มื้อx55คนxมื้อx2วัน)

55 คน 35 6 11,550
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ศรีสะเกษ-กาฬสินธุ์(สหัสขันธ์) = (234 กม.x4บาทx2เที่ยว)

2 เที่ยว 936 1 1,872
รวมค่าใช้จ่าย 54,822

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 180,000.00 278,098.00 41,902.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 36.00% 55.62% 8.38% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สมาชิกในชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าใจกระบวนการผลิต วิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ด้วยโรงอบปลาจากพลังงานแสงอาทิตย์ นักศึกษาเกิดความตระหนักและมีทักษะในการทำงานจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชน
โดยประยุกต์ใช้รายวิชาต่างๆในหลักสูตรที่สอดคล้อง ดังนี้
- งานค้นคว้าพิเศษเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม
จำนวนหน่วยกิต3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(2-2-5)
(โดยนักศึกษาต้องจัดทำรายงานนำเสนอการดำเนินการโครงการฯ)
- งานช่างพื้นฐาน
จำนวนหน่วยกิต3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(2-2-5)
- ปฏิบัติการงานโยธา
จำนวนหน่วยกิต3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(2-2-5)
(โดยนักศึกษาต้องจัดทำรายงานนำเสนอการดำเนินการโครงการฯ)
- หลักการออกแบบงานสถาปัตยกรรม
จำนวนหน่วยกิต3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(2-2-5)
(โดยนักศึกษาต้องจัดทำรายงานนำเสนอการดำเนินการโครงการฯ)
- หมวดวิชาเลือกเสรี
จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
(เฉพาะรายวิชาปฏิบัติ ในสาขาวิชาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม)
รวมหน่วยกิต 18 หน่วยกิต (กลุ่มสาขาเทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม)
- ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องตกแต่งท้องถิ่น
จำนวนหน่วยกิต3(2-2-5) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(2-2-5)
รวมหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (กลุ่มสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์)
- มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
จำนวนหน่วยกิต3(3-0-6) จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอน3(3-0-6)
รวมหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (กลุ่มสาขาการจัดการอุตสาหกรรม)
ผลลัพธ์ (Outcome) สมาชิกในชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จากโรงอบปลาจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการทำงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
ผลกระทบ (Impact) ด้านเศรษฐกิจ : เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
ด้านสังคมและชุมชน : การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การจัดสวัสดิการเพื่อประโยชน์ชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ด้านความยั่งยืน : ชุมชนเกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญ และสามารถนาไปคิดต่อยอดองค์ความรู้เองได้
-กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้จากห้องเรียนไปสู่การแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
-จำนวนบัณฑิตที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ความสามารถในการพัฒนาท้องถิ่นเป็นรูปธรรม
สร้างและกระจายรายได้สู่ชุมชนตามภูมิภาคต่างๆของประเทศ
นำเข้าสู่ระบบโดย Niroth Niroth เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2562 13:22 น.