โครงการศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

แบบเสนอโครงการ
โครงการศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

1. ชื่อโครงการ

โครงการศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมวิทยาลัยสงฆ์นครลำปางหน่วยงานปกครองท้องถิ่นหน่วยงานที่ดูแลกลุ่มประชากรในหน่วยงานของตนเองเช่น ทัณฑสถานกลาง โรงเรียนสงเคราะห์จิตอารี และกลุ่มประชากรที่สนใจการฝึกทักษะอาชีพพื้นบ้านประชากรในพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดลำปาง หน่วยงานปกครองท้องถิ่นหน่วยงานที่ดูแลกลุ่มประชากรในหน่วยงานของตนเองเช่น ทัณฑสถานกลาง โรงเรียนสงเคราะห์จิตอารี และกลุ่มประชากรที่สนใจการฝึกทักษะอาชีพพื้นบ้านพระครูสุตชยาภรณ์, ดร.วัดศรีชุม ตำบลสวนดอก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง0871847139นายสมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์, นายจีรศักดิ์ ปันลำ, พระมหากีรติ ฉัตรแก้ว, นางสาวปาณิสรา เทพรักษ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง เมืองลำปาง

3. รายละเอียดชุมชน

1) การสำรวจพื้นที่กลุ่มอาชีพต่างๆในกลุ่มสถานประกอบการและกลุ่มอาชีพพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญด้านอาชีพพื้นบ้านและได้รับการยอมรับ ในท้องถิ่น ในจังหวัดลำปาง เพื่อสำรวจความต้องการเรียนรู้จากกลุ่มประชากร วิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึ้น และสร้างฐานเรียนรู้เพื่อการเข้าถึง ได้โดยสะดวกและมีวิธีการสู่การวิเคราะห์รูปแบบที่เหมาะสมกับความต้องการเข้ากับบริบทท้องถิ่น
2) ศึกษาวิถีการสร้างความสุข ในการเรียนรู้ โดยสมัครใจ และการทัศนคติเชิงบวกให้กลุ่มประชากรที่ ถูกมองว่า เป็นผู้ต้องหา และปลูกฝังความมั่นใจให้เขาอยู่ร่วมกันเหมือนคนทั่วไป เพื่อให้พัฒนาศักยภาพบุคคลเป็นผู้ทรงความรู้และมีคุณค่ามองเห็นคุณค่าความดี และมั่นใจตนเอง
3) มีการส่งเสริมช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญอย่างใกล้ชิต และถอดแบบให้ได้คุณภาพเหมือนต้นแบบ๙๕% ให้เกิดความมั่นใจ และปลูกฝังจิตอาสา ช่วยเหลือสังคม
และกระตุ้นและส่งเสริมให้ตระหนักรู้และเข้าใจถึงคุณค่าความดี
4)การจินตนาการรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเป็นการสร้างงานตามอัตลักษณ์ และเหมาะสม ด้วยภูมิรู้และภูมิธรรมตามบริบทสังคมลำปาง
ชุมชน กลุ่มอาชีพและหน่วยงานที่มีความพร้อม ชำนาญด้านการอาชีพในท้องถิ่นลำปาง เพื่อนำไปสู่การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้จังหวัดลำปางที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมโดยเฉพาะการดำรงชีวิตตามวิถี่ชุมชนในการดำรงชีพประจำวัน ย่อมมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ซึ่งในอดีต เพื่อนบ้านสามารถพึ่งพากันได้เช่นมีคำพูดว่าพริกบ้านเหนือ เกลือบ้านใต้ เมื่อศักยภาพบุคคลเรา ไม่สามารถทำอะไรได้ทุกอย่าง ย่อมมีการประกอบอาชีพต่างๆในบริบทของการประกอบอาชีพอิสระตามกำลังต้นทุนที่มีอยู่ เมื่อต้องการใช้บริการหาความรู้ด้านอื่นๆก็ต้องมีค่าใช้จ่าย และใช้เครื่องมือมากมาย ซึ่งฐานะยากจน หากต้องการไปเรียนรู้ก็ต้องเสียค่าใช้จ่าย และขาดวิทยากรที่มีความพร้อมให้ความรู้ และไม่มีเกียรติบัตรจากผุ้ประกอบการ ให้การรับรอง คุณภาพ จึงสร้างความลังเล เมื่อจะทำอาชีพอะไร ผู้บริโภคก็ ไม่มั่นใจและขาดทักษะในการทำอาชีพอิสระ ในส่วนของการต้องการเรียนรู้ด้านอาชีพ ต่างๆเช่นการทำอาหารและ เครื่องดื่มสุขภาพการทำการเกษตรพื้นบ้านแบบพอเพียงอาชีพตีมีดและเครื่องใช้ครัวเรือน อาชีพด้านการใช้ดินผลิตชิ้นงาน อาชีพสร้างผลิตภัณฑ์เซรามิคออกแบบตามความต้องการของตลาดในท้อง ถิ่นการทำชิ้นงานด้านพุทธศิลป์อาชีพด้านจักรสานเมื่อไม่มีฐานการเรียนรู้แบบอิสระ จึงมีคำถามว่ากระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีการเรียนรู้อะไรบ้าง ถึงจะมีการรับรองให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ หรือเป็นปราชญ์พื้นบ้าน เมื่อไม่มีฐานการเรียนรู้รับรอง จึงไม่สามารถหาคำตอบให้ผู้สนใจเข้ามา ทำกิจกรรมสืบสานงานอาชีพพื้นบ้าน มากเท่าที่ควร เมื่อมีการทำอาชีพพื้นบ้านหากไม่มีการสืบทอดถอดองค์ความรู้เมื่อท่านเหล่านั้นได้เสียชีวิตไป จึงไมมีช่างอาชีพพื้นบ้านนั้นอยู่ในชุมชน จึงทำให้ภูมิปัญหาท้องถิ่นไม่ได้มากรสืบทอดทำให้สิ่งที่มีค่าในชุมชนขาดหายไปจากชุมชนแนวทางการขับเคลื่อนและช่วยเหลือแรงงานเพื่อบำเทาปัญหาการขาดแคลนแรงาน โดยมีวิธีการนำเทคนิควิธีการสร้างนวัตกรรมใหม่มาบูรณาการมาเสริมทักษะการเรียนรู้ให้ผู้ศึกษาในศูนย์นี้ได้รับประโยชน์มีความเชี่ยวชาญในด้านอาชีพช่างพื้นบ้าน อันเป็นการสืบทอดไม่ให้สูญหายจากชุมชน เกิดการสร้างงานและสร้างจุดสนใจในรูปแบบใหม่ที่ยกระดับการฝึกทักษะ ให้มีประสบการณ์จริง และหากผ่านการอบรมผ่านคิดว่าหน่วยงานจังหวัดที่รับรองคุณภาพแรงงานคงมาช่วยให้กำลังใจโดยผ่านความเห็นชอบจากหน่วยงานราชการจังหวัดลำปาง ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองที่มุ่งเน้นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าของความรู้ (knowledge) ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความเจริญก้าวหน้าของความรู้ดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อสภาพสังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมฐานความรู้ (knowledge-based society)

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อศึกษาสำรวจข้อมูลแหล่งเรียนรู้อาชีพพื้นบ้านจากผู้ประกอบการภายในชุมชนพื้นที่จังหวัดลำปาง 2)เพื่อสร้างรูปแบบนวัตกรรมการถ่ายทอดด้านอาชีพพื้นบ้าน จากผู้ประกอบการที่เชี่ยวชาญในจังหวัดลำปาง 3)เพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิต ยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

เกิดศูนย์เรียนรู้และประสิทธิผลในการประกอบอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

ชื่อกิจกรรม
ศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การประชุมวางแผน, ค่าอาหาร, ค่าบำรุงสถานที่, ค่าประชาสัมพันธ์, ค่าติดต่อประสานงาน, ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย, ค่าอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ฯลฯ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    8 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1) สำรวจข้อมูลแหล่งเรียนรู้อาชีพพื้นบ้านจากผู้ประกอบการภายในชุมชนพื้นที่จังหวัดลำปาง
    2) รูปแบบนวัตกรรมการถ่ายทอดด้านอาชีพพื้นบ้าน จากผู้ประกอบการที่เชี่ยวชาญในจังหวัดลำปาง
    3) การพัฒนารูปแบบศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิต ยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    คอมพิวเตอร์ โปรแจ๊คเตอร์ ปริ้นเตอร์ ฯลฯ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ทัณฑสถาน, โรงเรียนจิตอารีย์, ปกครองท้องถิ่นและชุมชน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    การบรรยายการสร้างชุมชนเข้มแข็งกับการพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 ครั้ง และการปฏิบัติการเพื่อให้ได้ฝีมือเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน

    3 คน 3,500 2 21,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าติดต่อประสานงานกับหน่อยงาน โดยมีผู้ประสานงาน 2 คน จำนวนคนละ 2 ครั้ง

    2 คน 1,000 2 4,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

    10 ชุด 1,000 2 20,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าบำรุงสถานที่ในการจัดกิจกรรมครั้งละ 10,000 บาท จำนวน 2 ครั้ง

    1 ครั้ง 10,000 2 20,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารและเครื่องดื่มจำนวน 2 ครั้ง เฉลี่ยต่อหัว หัวละ 200 บาท

    150 คน 200 2 60,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุ อุปกรณ์สำหรับวิทยากร และใช้ในกาปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง จำนวน 2 ครั้ง

    1 ครั้ง 35,000 2 70,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าวัสดุสำนักงานเหมาจ่ายทั้งโครงการ

    1 คน 10,000 1 10,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าถ่ายเอกสาร คู่มือและเอกสารบรรยายสำหรับผู้เข้าร่วมจำนวน 2 ครั้ง

    150 คน 80 2 24,000
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการให้คำปรึกษาและแนะนำแนวทางการให้ความรู้/กิจกรรมและสร้างศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง

    3 คน 10,000 1 30,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการดูพื้นที่และติดต่อประสานงาน

    1 ครั้ง 500 10 5,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่

    ค่าจ้างเหมารถโดยสารในการรับส่งผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 2 ครั้ง คนละ 1,500 บาท จำนวน 10 คัน

    10 คน 1,500 2 30,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

    ค่าใช้สอยอื่นๆ จากการดำเนินงาน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งละ 5,000 บาท

    1 ครั้ง 5,000 2 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 304,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 304,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 79,000.00 20,000.00 125,000.00 80,000.00 304,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 25.99% 6.58% 41.12% 26.32% 100.00%

    11. งบประมาณ

    304,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านอาชีพพื้นบ้านในจังหวัดลำปาง ข้อมุล วิธีการและแนวทางการส่งเสริมการยกระดับเศรษฐกิจชุมชน
    ผลลัพธ์ (Outcome) รายได้ของชุมชน ขจัดปัญหาการว่างงานและชุมชนเข้มแข็ง ได้เรียนรู้วิธีการสร้างรายได้ การอนุรักษ์วิถีชุมชนและการสร้างความสามัคคีในชุมชน
    ผลกระทบ (Impact) ขจัดปัญหาความยากจน ชุมชนเข้มแข็ง และอัตลักษณ์สินค้าชุมชนประจำจังหวัด นำไปสู่การเผยแพร่วิธีการสร้างอัตลักษณ์การเรียนรู้และยกระดับเศรษฐกิจชุมชนเพื่อสร้างความสมานฉันท์นำความผาสุกแก่ชุมชนและสังคม
    นำเข้าสู่ระบบโดย somchan somchan เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 13:16 น.