โครงการทำเกษตรปลอดสารพิษตามภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบ้านนากวาง ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง

แบบเสนอโครงการ
โครงการทำเกษตรปลอดสารพิษตามภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบ้านนากวาง ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง

1. ชื่อโครงการ

โครงการทำเกษตรปลอดสารพิษตามภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบ้านนากวาง ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมองคฺ์การบริหารส่วนตำบลดอนไฟ / ชุมชนบ้านนากวางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์ลำปาง / หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่่ยวข้องชุมชนบ้านนากวาง ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางนางกันยา ยอดแบน45/2 หมู่ที่ 2ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง093-318-318-7น.ส. วารุมาตร์ แก้วคะปวงน.ส.คนึงนิจปิจนันท์พระดัตวทัสน์ รินชุมภูนายไมตรีพลอยทำ นายภูษิตปะอินทร์นายมานพสุธรรมปวง ดร.สมจันทร์ศรีปรัชยานนท์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง แม่ทะ ดอนไฟ

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านนากวาง ตำบลดอนไฟ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง เป้นพื้นที่ประกอบอาชีพหลักในการทำเกษตรกรรม ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาชุมชนได้ทำเกษตรกรรมแบบอินทรีย์ มุ่่่งเน้นการปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง ใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยธรรมชาติจากขี้วัว ขี้ควาย ขี้ไก่และขี้หมู รู้จักความพอดี พอเพียงทำให้ชุมชนอยู่่ร่วมกันอย่างมีความสุข เกื้อกูลกันและแบ่งปันกัน แต่สถานการณ์ปัจจุบันเกษตรกรมุ่่งเน้นการทำเกษตรเพื่อจำหน่าย เร่งการเจริญเติบโตของพืช ไม่ตระหนักและคำนึงถึงปัฐหาสุขภาพที่เกิดจากสารเคมีตกค้างในผักและปัญหาต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ประกอบกับหันไปซื้อผักตามตลาดมาปรงอาหารทานแทนการเพาะปลูกผักสวนครัวเอง ปัจจัยดังกล่างย่อมส่งผลกระทบต่อบุคคล สังคมและสิ่งแวดล้อมแลุชุมาชนตามมา จากปัญหาข้างต้น ผู้วิจัยเห็นว่าการอนุรักษ์วิถีชีวิตแบบดั่งเดิมด้วยการทำเกษตรอินทรีย์และใช้สารอินทรีย์์เป็นธาตุอาหารสำหรับสำหรับพืชผักหรือการใช้ประโยชน์จากพืชบ้างชนิดในการกำจัดศัตรูพืช เช่น นำใบสะเดา ใบยาสูบ ใบตระไคร้หอมมาทำเป็นน้ำหมักชีวภาพ ฯลฯ ลักษณะเกษตรแบบยั้งยืนตจึงมีความสัมพันธ์และสอดคล้องหลักการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงราชกาลที่ ๙ ที่เพียรพยายามให้ประชาราฎร์ดำรงชีพบนพื้นฐานความพอเพียง พอดีและพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภมาก เข้าใจการทำเกษตรกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกัน เพื่อทำให้เกษตรกร ชุมชนและสิ่งแวดล้อมสามาถอยุ่่ร่วมกันอย่างมีความสูข หากยึดถือแนวทางการปฏิบัติบนพื้นฐานดังกล่างย่อมลดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ วิถีชีวิตดีขึ้น ลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือน ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนรวมถึงการใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด เพื่อสร้างชุมชนเข็มแข็งและเป็นการส่งเสริมเกษตรกรใด้รู้แและเข้าใจแนวทางดำเนินชีวิตบนฐานของความพอเพียงที่สร้างความสุขแก่มนุษย์ สังคมและธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนชุมชุนบ้านนากวาง เป็นชุมชนที่อยู่ร่วมกันแบบอาศัยพึ่งพาซึ่งกันและกัน ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่ วิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรมเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน ในชุมชนมีการประกอบอาชีพด้านภมูิปัญญาชุมชน เช่น อาชีพด้านการผีม่ีการทำไม้กวาดทางมะพร้าว ทำหมาวดใบ้ลาน ฯลฯ สามารถถ่ายทอดภมิปัญญาแก่คนในชุมชนได้ปัญหาของคนในชุมชน การทำเกษตรที่เปลี่ยนจากเดินทีเน้นการปล








































ปัญหาการการทำเกษตรที่เปลี่ยนไปจากเดิม จากที่ทำเกษตรแบบเพื่อบริโภคในครัวเรือนและแบ่งปันในชุ่มชนใช้ปุ๋ยธรรมชาติที่มีในชุมชน ปัจจุบันการทำเกษตรเปลี่ยนไปเป็นการทำเกษตรเพื่อจำหน่ายหวัดผลกำไรเป็นเป้าหมาย ไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของตนเองและผู้บริโภคและต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นจากการจ้างแรงงานการจ้างเครืองมือในการทำเกษตร ทำให้เกิดหนี้สินในการลงทุนที่ตามมา ที่สำคัญคือปัญหาสุขภาพของตนเองและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ด้านสุขภาพของคนในชุมชน วิถีชีวิตที่ทำเกษตรแบบพอเพียงพอมีพอใช้ตามวิถีชีวิตดั้งเดิม การอยู่่รวมกันแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือน ส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตร ปลูกผักปลอดสารไว้รับประทานในครัวเรือน เรียนรู้วิธีการผลิตปุ๋่่่ยจากธรรมใช้ในครัวเรือน ใช้พื้นทีบริเวณบ้านให้เกิดประโยชน์สุงสุด ส่งเสริมภูมิปัญญาในที่มีในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ภูมิปัญญาที่มีในชุมชนการผลิตปุ๋่ยอินทรีย์โดยใช้วัสดุที่มีในชุมชน การขจัดความจนโดยการพึ่งพาตนเอง การอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนมีสุขภาพที่ดี ลดต้นทุนการผลิดในการทำเกษตร ลดรายจ่าย เพื่มรายได้ให้กับชุมชน ลดปัญหาด้านสุขภาพ ใช้บริเวณบ้านปลูกผักสวนครัว ลดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตร สามารถผลิตปุ๋ยใช้เอง ลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือน อยู่ร่วมกันอย่างมีความ

คนในชุมชนมีสุขภาพดี อยู่รวมกันอย่างมีความสุข ลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือ ปลูกผักปลอดสารไว้รับประทานเอง ลดปัญหาสารตกค้างในร่างกาย ผลิตปุ๋ยใช้เองในครัวเรือน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเสวนาปัญหาการบริโภคผักปลอดสาร ลดการใช้สารเคมีในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเสวนาปัญหาการบริโภคผักปลอดสาร ลดการใช้สารเคมีในชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ก่ารประชุมเสวนา เสนอความคิดเห็นคนในชุมชน / การทบทวนปัญหาการดำเนินกิจกรรม / การทอดบทเรียนชุมชน
    -ค่าอาหารและอาหารว่างและน้ำดื่ม
    -ค่าวัสดุการเสวนา
    - ค่าวัสดุในการบรรยายและปฏิบัติการ
    - ค่าวิทยากรและชุมชนต้นแบบ
    - ค่าวัสดุสำนัก
    - ค่าบำรุงสถานที่
    - ค่าติดต่อประสาน
    - ค่าใช้ยานพาหนะส่วนตัว ฯลฯ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    -ชุมชนได้เรียนรู้ทอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมการทำเกษตรปลอดสาร
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    คอมพิวเตอร์ ปริ้นเตอร์ อุปกรณ์การเกษตรฯลฯ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ปกครองท้องถิ่น ชุมชน รพ.สต. เกษตรอำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนการบรรยายการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ โรคจากสารเคมีตกค้างและการส่งเสริมการทำเกษตรแบบอินทรีย์ตามแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 2 ครั้ง

    3 คน 3,600 2 21,600
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าใช้จ่ายในการติดต่อประสานงานบุคลากร 2 ท่าน จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 1,000 บาท

    2 คน 1,000 10 20,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ป้ายประชาสัมพันธ์การทำเกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ ภัยร้ายจากสารเคมีตกค้างและสุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน

    15 ชิ้น 1,000 2 30,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าเช่าสถานที่ได้การบรรยาย การปฏิบัติการและการดำเนินโครงการจำนวน 2 ครั้ง ครั้งละ 10,000 บาท

    1 ครั้ง 10,000 2 20,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหาร/เครื่องดื่ม/อาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

    150 คน 200 2 60,000
    ค่าเช่ารถ

    ศึกษาชุมชนต้นแบบ และแนวทางการพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์(ปลอดสารพิษ) ในพื้นที่ที่มีความโดดเด่น (ชุมชนต้นแบบ) จ้างเหมารถโดยสารจำนวน 5 คัน คันละ 2,000 บาท จำนวน 2 ครั้ง

    5 เที่ยว 2,000 2 20,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุการอบรม/การปฏิบัติการในการทำการเกษตรอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

    1 ครั้ง 30,000 2 60,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    วัสดุสำนักงานตลอดโครงการ

    1 ครั้ง 10,000 1 10,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าเบี้ยอบรมและปฏิบัติงานตามโครงการจำนวนหัวละ 100 บาท 2 ครั้ง

    150 คน 100 2 30,000
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ท้องถิ่นและผู้นำเกษตรอินทรีย์ต้นแบบ จำนวน 3 ท่าน ท่านละ 5,000 บาท

    3 คน 5,000 1 15,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงยานพาหนะคณะทำงาน 2 คัน คันละ 500 บาท จำนวน 10 ครั้ง

    2 คน 500 10 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 296,600

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 296,600.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 86,600.00 30,000.00 110,000.00 70,000.00 296,600.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 29.20% 10.11% 37.09% 23.60% 100.00%

    11. งบประมาณ

    296,600.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) -ชุมชนปลูกผักสวนครัวปลอดสารไว้บริโภคอย่างน้อย 50 % ของครัวเรือนในชุมชน
    -ชุมชนมีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้อย่างน้อย 50 % ของครัวเรือนในชุมชน
    -ชุมชนมีการปลูกผักสวนครัว อย่างน้อย 50 % ของครัวเรือนในชุมชน
    ผลลัพธ์ (Outcome) -คนในชุมชนมีสุขภาพดี
    -คนในชุมชนได้บริโภคอาหารปลอดสาร
    -คนในชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง
    -คนในชุมชนลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ในครัวเรือนได้
    ผลกระทบ (Impact) -สภาพในพื้นที่ / แหล่งน้ำ
    นำเข้าสู่ระบบโดย kunya kunya เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 10:41 น.