โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา

แบบเสนอโครงการ
โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา

1. ชื่อโครงการ

โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมบัณฑิตวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์นครลำปางองค์การบริหารส่วนตำบลลำปางหลวง สภาวัฒนธรรม สำนักงานพระพุทธศาสนา คณะสงฆ์อำเภอเกาะคา ชุมชนและหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องชุมชนวัดพระธาตุลำปางหลวงพระดัตวทัสน์ รินชุมภู และบัณฑิตวิทยาลัยมจร.วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง ตำบลศาลา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง088772127พระอธิการสุชาติ จนฺทสโร,ดร. , ดร.สมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์ , นางกันยา ยอดแบน , นางสาววารุมาตร์ แก้วคะปวง ,นางสาวคนึงนิจ ปิจนันท์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง เกาะคา ลำปางหลวง

3. รายละเอียดชุมชน

การบูรณวัดพระธาตุลำปางหลวงในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๕ ที่ผ่านมานั้น ได้มีการแก้ไขในส่วนขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมบางส่วน มีการเปลี่ยนช่อฟ้าและหางหงส์เป็นแบบรัตนโกสินทร์ การเปลี่ยนเครื่องประดับตกแต่งหลังคากับหน้าบัน การเปลี่ยนกระเบื้องเป็นแบบสมัยใหม่ รวมไปถึงได้มีการเปลี่ยนรูปแบบของศิลปะและได้ทำให้ลวดลายเดิมหายไปคือบนเสาบริเวณวิหารน้ำแต้มโดยใช้รักทาทับของเดิมแล้วเขียนลายใหม่ที่แตกต่างจากเดิม ส่งผลให้กลิ่นอายของความเป็นสกุลช่างลำปางได้จางหายไป ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการเผยแผ่องค์ความรู้ทางด้านศิลปกรรมสถาปัตยกรรมอันมีเอกลักษณ์ที่เรียกว่า สกุลช่างลำปาง เพื่อเป็นการสืบสานความงดงามทางด้านพุทธสถาปัตยกรรมแบบล้านนาที่ทรงคุณค่าและมีเอกลักษณ์อันโดดเด่นให้เคียงคู่กับชุมชนและประเทศต่อไปวัดพระธาตุลำปางหลวงได้รับการยอมรับว่าเป็นโบราณสถานที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นแบบอย่างของการศึกษาความเจริญทางด้านศาสนา ความเชื่อ ประเพณี วิทยาการในการก่อสร้างและศิลปะ รวมถึงรูปแบบของชุมชนที่มีความสัมพันธ์แนบแน่นกับพระพุทธศาสนา๑.ศึกษาความเป็นมาและลักษณะองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง
๒.ศึกษาอิทธิพลของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง ที่ส่งผลต่อชุมชน เศรษฐกิจ วิถีชีวิต
๓.หาแนวทางการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา
๑.ประวัติศาสตร์ของชุมชนวัดพระธาตุลำปางหลวงนับแต่สมัยโบราณที่มีระบบข้าวัด และพัฒนาการเรื่อยมาจนปัจจุบันว่าเป็นอย่างไรอันส่งผลให้ชุมชนมีความแนบเน่นกับพระพุทธศาสนา
๒.ข้อมูลการบูรณปฏิสังขรณ์ สถาปัตยกรรมในวัดพระธาตุลำปางหลวงที่มีหลักฐานปรากฏ ทั้งด้านเอกสารและงานก่อสร้าง
๓.ข้อมูลด้านศิลปะต่างๆที่ปรากฏในวัดพระธาตุลำปางหลวง
๔.ข้อมูลในการอนุรักษ์งานโบราณสถาน โบราณวัตถุ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

๑.ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ล้านนา
๒.ความรู้ด้านสถาปัยกรรมพื้นถิ่น(สถาปัตยกรรมล้านนา)
๓.ควมรู้ด้านศิลปกรรม จีน ล้านนา พม่า ช่างหลวง ช่างชาวบ้าน
๔.นวัตกรรมการเขียนแบบ ทำรังวัด ทำแบบจำลอง
๕.นวัตกรรมด้านศิลปะ เทคนิคในงานศิลปะ
๖.ความรู้ในด้านวัฒนธรรมล้านนา

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อศึกษาความเป็นมาและลักษณะองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง ๒.เพื่อศึกษาอิทธิพลของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง ที่ส่งผลต่อชุมชน เศรษฐกิจ วิถีชีวิต ๓.เพื่อนำเสนอการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา

๑.ความเป็นมาและลักษณะองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง ๒.อิทธิพลของสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวง ที่ส่งผลต่อชุมชน เศรษฐกิจ วิถีชีวิต ๓.การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา

ชื่อกิจกรรม
โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางวัดพระธาตุลำปางหลวงเพื่อส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมล้านนา
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑.ศึกษาดูงานสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม (ทำรังวัด แบบร่าง) ณ วัดพระธาตุลำปางหลวง ๑๐๐,๐๐๐ บาท
    ๒.เสวนาแลกเปลี่ยนความรู้ด้านประวัติศาสตร์จาก คณะสงฆ์อำเภอเกาะคา สถาปนิก ปราชญ์ชุมชน และนักประวัติศาสตร์ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
    ๓.ศึกษาดูงานด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมวัดสำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    9 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ๑.ได้แบบร่างสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม ณ วัดพระธาตุลำปางหลวง เพื่อนำมาใช้ในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง
    ๒.ได้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์จาก คณะสงฆ์อำเภอเกาะคา สถาปนิก ปราชญ์ชุมชน และนักประวัติศาสตร์
    ๓.ได้ทราบแนวทางการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง วัดพระธาตุลำปางหลวง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ๑.ค่าเดินทาง
    ๒.วิทยากร
    ๓.แบบสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม(รังวัด)
    ๔.หนังสือเอกสารวิชาการเฉพาะ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    คณะสงฆ์อำเภอเกาะคา ๕ รูป สถาปนิก ๒ ท่าน ปราชญ์ชุมชน ๒ ท่าน นักประวัติศาสตร์ ๑ ท่าน

    10 คน 3,000 1 30,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าพาหนะเดินทางศึกษาดูงาน

    10 คน 1,000 1 10,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ให้กับผู้เข้าร่วมการประชุม เสวนา

    100 คน 200 1 20,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พักเช่นโรงแรม

    10 คน 1,500 1 15,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ออกแบบตกแต่งและติดตั้งป้ายไวนิล

    5 ชิ้น 3,000 1 15,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารหลักและอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมเสวนา ประชุม

    120 คน 300 1 36,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารขณะเดินทางไปศึกษาดูงาน จำนวน ๓ มื้อ

    10 คน 500 2 10,000
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    สถาปนิก ๒ ท่าน นักประวัติศาสตร์ ๑ ท่าน จิตรกรหรือช่างผู้ชำนาญงานงานโบราณ ๒ ท่าน

    5 คน 5,000 1 25,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าพื้นที่ที่ใช้จัดงานประชุม เสวนา

    1 ครั้ง 30,000 2 60,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าประสานงานกับวิทยากร และการเดินทางศึกษาดูงาน

    3 คน 3,000 1 9,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าเขียนแบบ

    2 คน 15,000 1 30,000
    อื่น ๆ

    ค่าใช้จ่ายในการทำงานในโครงการ และใช้สำรอง

    1 คน 10,000 3 30,000
    รางวัลเพื่อการยกย่อง

    รางวัลสำหรับโครงการ

    1 คน 10,000 1 10,000
    รวมค่าใช้จ่าย 300,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 300,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 84,000.00 15,000.00 141,000.00 30,000.00 30,000.00 300,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 28.00% 5.00% 47.00% 10.00% 10.00% 100.00%

    11. งบประมาณ

    300,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ๑.สร้างชุมชนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางและสามารถนำมาถ่ายทอดเพื่อแบบอย่างในการอนุรักษ์ ในอานาคตต่อไปได้
    ๒.สร้างชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง วัดพระธาตุลำปางหลวง
    ๓.เพื่อทำให้เศรษฐกิจชุมชนเจริญขึ้น เนื่องจากชุมชนเข้มแข็ง ทำให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดี
    ๔.เพื่อให้ชุมชนมีความมั่นคงและเหนียวแน่นในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
    ๑.สร้างแบบอย่างในการเรียนรู้สกุลช่างลำปาง ในงานสถาปัตยกรรม
    ๒.เป็นแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ผ่านโบราณสถาน ศิลปกรรม สถาปัตยกรรมได้
    ๓.เป็นแหล่งเรียนรู้ แบบร่าง แบบของอาคาร แบบงานศิลปะ สกุลช่างลำปางได้
    ๔.เป็นแรงบันดาลใจให้นักศึกษาให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงการอนุรักษ์สถาปัยกรรม ศิลปกรรมสกุลช่างลำปาง และงานอื่นๆ
    ๕.สามารถแยกแยะลักษณะ อัตลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรม ศิลปกรรมสกุลช่างต่างๆได้
    ผลลัพธ์ (Outcome) ๑.ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางและสามารถนำมาถ่ายทอดเพื่อแบบอย่างในการอนุรักษ์ ในอานาคตต่อไป
    ๒.ชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง วัดพระธาตุลำปางหลวง
    ๓.เศรษฐกิจชุมชนเจริญขึ้น เนื่องจากชุมชนเข้มแข็ง ทำให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้อย่างดี
    ๔.ชุมชนมีความมั่นคงและเหนียวแน่นในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
    ๑.เป็นแบบอย่างในการเรียนรู้สกุลช่างลำปาง ในงานสถาปัตยกรรม
    ๒.นักศึกษาสามารถเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ผ่านโบราณสถาน ศิลปกรรม สถาปัตยกรรมได้
    ๓.นักศึกษาสามารถเรียนรู้และเข้าใจแบบร่าง แบบของอาคาร แบบงานศิลปะ สกุลช่างลำปางได้
    ๔.สร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษาให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงการอนุรักษ์สถาปัยกรรม ศิลปกรรมสกุลช่างลำปาง และงานอื่นๆ
    ๕.นักศึกษาสามารถแยกแยะลักษณะ อัตลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรม ศิลปกรรมสกุลช่างต่างๆได้
    ผลกระทบ (Impact) ๑.ชุมชนสามารถนำมาถ่ายทอดแบบอย่างในการอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปางให้กับลูกหลานได้
    ๒.ชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง วัดพระธาตุลำปางหลวง
    ๓.กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ส่งผลโดยรวมให้เศรษฐกิจของส่วนอื่นๆดีขึ้นตาม
    ๔.ชุมชนมีความมั่นคงและเหนียวแน่นในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนายิ่งขึ้นไป
    ๑.นักศึกษาได้เข้าใจถึงสถาปัตยกรรมสกุลช่างลำปาง วัด พระธาตุลำปางหลวง
    ๒.นักศึกษาเข้าใจประวัติศาสตร์ของโบราณสถาน สถาปัตยกรรมโบราณ ศิลปกรรมของวัดพระธาตุลำปางหลวง เมื่อเรียนจบแล้วสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป
    ๓.นักศึกษาสามารถนำแบบสถาปัตยกรรมไปต่อยอดได้
    ๔.นักศึกษามีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม ศิลปกรรมสกุลช่างลำปาง
    ๕.นักศึกษาเข้าใจและจำแนกลักษณะเฉพาะของสถาปัตยกรรมสกุลต่างๆได้
    นำเข้าสู่ระบบโดย phraball phraball เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 10:32 น.