การลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่ชุมชนเพาะเห็ด กรณีศึกษา อ.ห้างฉัตร อ.งาว และ อ.แม่เมาะ จังหวัดลำปาง

แบบเสนอโครงการ
การลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่ชุมชนเพาะเห็ด กรณีศึกษา อ.ห้างฉัตร อ.งาว และ อ.แม่เมาะ จังหวัดลำปาง

1. ชื่อโครงการ

การลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่ชุมชนเพาะเห็ด กรณีศึกษา อ.ห้างฉัตร อ.งาว และ อ.แม่เมาะ จังหวัดลำปางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางสท. และ สวทช.1.บ้านทุ่งบ่อแป้น อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง2.บ้านโป่ง อ.งาว จ.ลำปาง และ 3.บ้านนาสัก อ.แม่เมาะ จ.ลำปางผศ. ดร. รวิภา ยงประยูรมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง0819986523ผศ. วราคม วงศ์ชัย
ผศ. ดร.วีระ พันอินทร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง ห้างฉัตร ปงยางคก
ลำปาง แม่เมาะ นาสัก ชนบท
ลำปาง งาว บ้านโป่ง ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

เศรษฐกิจโดยทั่วไปของตาบลปงยางคก ขึ้นอยู่กับเกษตรกรรม การพาณิชย์ การอุตสาหกรรม โดยประชากรประกอบอาชีพอุตสาหกรรมเป็นอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ได้แก่ การทานา ปลูกพืช การอุตสาหกรรม โดยประชากร ประกอบอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือนรับจ้าง ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ และพลังงานโรงงาน นอกจากอาชีพดังกล่าวที่กล่าวมาแล้วยังมีการรวมกลุ่มอาชีพภายในชุมชน เช่น การเพาะเห็ดซึ่งถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทารายได้ให้กับกลุ่มเกษตรกรเป็นอย่างมากในขั้นตอนการผลิตก้อนเห็ด พบลักษณะการใช้พลังงานในกระบวนการเพาะเห็ดของกลุ่ม จำแนกรายละเอียดได้ดังนี้ การใช้เครื่องผสมในการบด คิดเป็นร้อยละ3,การใช้เชื้อเพลิงแข็ง (ฟืน)ในการนึ่งก้อนเห็ด ร้อยละ 84 ,การใช้พลังงานในกระบวนการพักในโรงเรือน ร้อยละ 3 และเมื่อเชื่อมโยงเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของการจัดการพลังงานในการนึ่งก้อนเห็ดด้วยฟืน โดยจำแนกรายละเอียดของค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตเห็ด พบว่า มีสัดส่วนเพียงร้อยละ3 เมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนการผลิตทั้งหมดต่อการทำก้อนเพาะเห็ด 1ตัน พบต้นทุนที่เกิดขึ้นสูงสุดมาจาก ขี้เลื่อย คิดเป็นร้อยละ32 ในขณะที่ถุงพลาสติกพร้อมฝาขวดที่ใช้ในการบรรจุวัสดุเพาะก้อนมีต้นทุน คิดเป็นร้อยละ35 โดยมีค่าใช้จ่ายจากไฟฟ้าที่ใช้ต่อการผลิต1ตัน มีค่าร้อยละ 13และค่าแรงงานคิดเป็นร้อยละ 14 อีกด้วยการปรับเปลี่ยนเตาไอน้ำส่งผลต่อการปรับลดต้นทุนการผลิตเพียงร้อยละ3 ในขณะที่ต้นทุนของการเพาะเห็ดมาจากวัสดุเพาะ คือ ขี้เลื่อย และ ถุงพลาสติก ดังนั้นการแสวงหาแหล่งวัสดุที่ใช้แล้วภายในพื้นที่จึงกลายเป็นสิ่งที่น่าสนใจ อันเนื่องมาจากนโยบายการใช้กิจกรรมการท่องเที่ยวหนุนเสริมเศรษฐกิจชุมชน กอรปกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อมในเวลาเดียวกันต้องการลดต้นทุนของการเพาะเห็ด เนื่องจากราคาขี้เลื่อยที่สูงขึ้น และนโยบายการลดใช้พลาสติกส่งผลต่อต้นทุนของถุงพลาสติกที่ใช้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.วัสดุศาสตร์
2.การจัดการพลังงาน
3.การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิต

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ภายในพื้นที่ในการนำมาใช้ในกระบวนการเพาะเห็ด

ร้อยละของสมาชิกในกลุ่มเพาะเห็ดมีการปรับเปลี่ยนการใช้วัสดุในกระบวนการเพาะเห็ด

40.00 20.00
2 เพื่อศึกษาการลดค่าใช้จ่ายของกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่

ร้อยละของค่าใช้จ่ายที่ลดลงในกระบวนการผลิตเห็ด

60.00 30.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาชีพเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น 20
กลุ่มส่งเสริมอาชีพเศรษฐกิจพอเพียงบ้านโป่ง 20
อิศรฟาร์ม ต.นาสัก อ.แม่เมาะ 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ภายในพื้นที่ในการนำมาใช้ในกระบวนการเพาะเห็ด
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อจับคู่แนวคิดเชิงวิชาการเข้ากับต้นทุนทรัพยากรของกลุ่มอาชีพ จาก 3 ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต: ได้แนวคิดที่จะปรับลดต้นทุนที่เหมาะกับชุมชนทั้ง 3 ชุมชน
ผลลัพธ์: เกิดการบูรณาการทำงานร่วมระหว่างวิชาการกับชุมชนในระดับรายวิชาของหลักสูตร
ทรัพยากรอื่น ๆ
สถานที่ประชุมของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ภาคีร่วมสนับสนุน
สท. และ สวทช. สนับสนุนบุคลากรในการเป็นวิทยากรให้ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่ายาพาหนะจากกลุ่มอาชีพในชุมชนมาร่วมประชุมที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

3 ชุด 2,000 1 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร1 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ สำหรับการประชุม

30 คน 200 1 6,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

1 ชุด 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

วัสดุสำนักงานประกอบการประชุม เช่น กระดาษ แฟ้มใส ปากกา แผ่นบันทึกข้อมูล เป็นต้น

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
รวมค่าใช้จ่าย 15,000

กิจกรรมที่ 2 ทดลองปฏิบัติเพื่อหาแนวทางลดต้นทุน

ชื่อกิจกรรม
ทดลองปฏิบัติเพื่อหาแนวทางลดต้นทุน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ภายในพื้นที่ในการนำมาใช้ในกระบวนการเพาะเห็ด
  2. เพื่อศึกษาการลดค่าใช้จ่ายของกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
ทดลองปฏิบัติตามแนวทางที่ตกลงกันไว้ของแต่ละกลุ่มอาชีพ พร้อมรายงานผลผ่าน Line Group หรือ FB เพจ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต:ทดสอบแนวคิดและองค์ความรู้เชิงวิชาการในการลดต้นทุนการผลิตเห็ด
ผลลัพธ์: แนวคิดและองค์ความรู้ใหม่ที่มีความเหมาะสม และเอาไปใช้ได้จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
สถานที่ทดลองในพื้นที่ของกลุ่มอาชีพทั้ง 3 กลุ่ม
ภาคีร่วมสนับสนุน
สท. และ สวทช. สนับสนุนบุคลากรเป็นวิทยากรให้ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุสำหรับการทดลองปฏิบัติตามองค์ความรู้ที่เลือกใช้

3 ชุด 10,000 1 30,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทางไปติดตามและลงหน้างานจริงของกลุ่มอาชีพ

3 ครั้ง 3,000 1 9,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ถ่ายเอกสารประกอบคำแนะนำ หรือ เอกสารองค์ความรู้เชิงวิชาการ ประกอบการติดตาม

1 ครั้ง 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 40,000

กิจกรรมที่ 3 รายงานผลการทดลองพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
รายงานผลการทดลองพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ภายในพื้นที่ในการนำมาใช้ในกระบวนการเพาะเห็ด
  2. เพื่อศึกษาการลดค่าใช้จ่ายของกระบวนการเพาะเห็ดด้วยวัสดุใช้แล้วในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
การนำผลการปฏิบัติ ปัญหาที่เกิดพร้อมแนวทาง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมเสนอแนวทางที่จะพัฒนาในอนาคตต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต: ทวนสอบแนวคิด วิธีการและองค์ความรู้จากการทดลองปฏิบัติ
ผลลัพธ์: การลดต้นทุนการผลิต เมื่อมีการปรับเปลี่ยนวัสดุใช้แล้วในพื้นที่
ทรัพยากรอื่น ๆ
สถานที่ประชุมใช้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ภาคีร่วมสนับสนุน
สท. และ สวทช. สนับสนุนบุคลากรเป็นวิทยากรให้ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่ายานพาหนะจากพื้นที่เดินทางมาร่วมประชุมที่มหาวิทยาลัย

3 ชุด 2,000 1 6,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร 1 มื้อ อาหารว่าง 2 มื้อ

60 คน 200 1 12,000
ค่าถ่ายเอกสาร

เอกสารประกอบการประชุม

1 ชุด 2,000 1 2,000
อื่น ๆ

หักเข้ามหาวิทยาลัย 20 %

1 ชิ้น 15,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 35,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 90,000.00 บาท

ค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 1,500.00 42,000.00 31,500.00 15,000.00 90,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 1.67% 46.67% 35.00% 16.67% 100.00%

11. งบประมาณ

90,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ได้แนวทางและศักยภาพของการใช้วัสดุใช้แล้วในชุมชน ได้ใช้องค์ความรู้ตามหลักสูตรสู่การแก้ไขปัญหาให้ชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) ได้ลดต้นทุนการผลิตของชุมชน ได้เรียนรู้เพิ่มเติมด้วยทักษะศตวรรษที่ 21
ผลกระทบ (Impact) ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน ได้พิสูจน์องค์ความรู้ตามหลักสูตรนำไปสู่การใช้ประโยชน์จริง
นำเข้าสู่ระบบโดย rawipha_lpru rawipha_lpru เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 09:20 น.