การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐ

แบบเสนอโครงการ
การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐ

1. ชื่อโครงการ

การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครลำปางองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแลงบ้านแตะนายสมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง ตำบลศาลา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง0895531558พระมหากีรติ ฉัตรแก้ว, นางสาวปาณิสรา เทพรักษ์, พระครูสุตชยาภรณ์, ดร., นายจีรศักดิ์ ปันลำ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง เมืองลำปาง บ้านแลง

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านแตะ ตำบลบ้านแลง อำเภอเมือง จังหวัดลำปางการจัดการทรัยพากรป่าไม้ ป่าต้นน้ำ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อวิถีชีวิตชุมชนตามคติ ความเชื่อและจารีต ประเพณีการจัดการป่า คติความเชื่อ ทรัพยากรน้ำต่อการอุปโภคและบริโภค และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล รักษาทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อมการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการบริหารจัดการ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวิทยาที่เต็มเปี่ยมด้วยความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมและความงดงามทางธรรมชาติ เช่น ถ้ำ น้ำตก และป่าต้นน้ำ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การบริหารจัดการทรัยากรทางธรรมชาติอันเป็นพื้นฐานทุนทางสังคมที่ล้ำค่าให้เกิดประโยชน์ เพื่อการทำนุ บำรุงรักษาศิลปะ วัฒนธรรม วิถีชีวิตและความเชื่อที่ดีงามให้คงอยู่รวมถึงการเป็นรูปแบบชุมชนต้นแบบที่มีความเพรียบพร้อมทางด้านป่าไม้ น้ำและธรรมชาติที่สวยงาม รวมถึงการส่งเสริมให้ชุมชนได้เรียนรู้วิถีชีวิตกับธรรมชาติอันจะส่งผลต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมชุมชนต่อไป

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 กระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมและป่าชุมชนของเกษตรกรที่ห่างไกลเมือง

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่ส่งผลต่อวิถีชึวิตชุมชนด้านการเกษตร และการรักษาธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นในการดูแลรักษาพื้นป่าต้นน้ำ

0.00
2 การจัดการจัดการสิ่งแวดล้อมและป่าชุมชนตามแบบประชารัฐ

เป็นชุมชนต้นแบบที่สามารถบริหารจัดการป่าชุมชนตามวิถีประชารัฐและขยายพื้นที่ออกในพื้นที่ใกล้เคียงหรือภายในชุมชนติดกันจำนวน ๕ พื้นที่

0.00
3 นำเสนอการจัดการสิ่งแวดล้อมและป่าชุมชนเพื่อบำบัดภัยทางการเกษตรของชุมชนที่ห่างไกลเมืองตามแนวประชารัฐ

การนำเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่ป่าและชุมชนที่มีความพร้อมในการบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติเพื่อวิถีชีวิตของเกษตรกรรม เพื่อนำไปสู่การสร้างแผนยุทธศาสตร์ระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัดและประเทศ

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐ

ชื่อกิจกรรม
การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมที่ห่างไกลเมืองตามวิถีประชารัฐ เพื่อให้ได้กระบวนการ รูปแบบ วิธีการและการสร้างชุมชนเข้มแข็งแก่ชุมชนภาคเกษตรกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    การได้ชุมชนที่เข็มแข็ง รักษาวิถีชุมชน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    คอมพิวเตอร์ ปริ้นเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    องค์การบริหารส่วนตำบล ชุมชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    วิทยากรในการบรรยายแนวทางการรักษาป่า สิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการทรัพยากรป่าต้นน้ำเพื่อการเกษตร

    3 คน 7,500 3 67,500
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ติดต่อประสานงานหน่วยงาน องค์กรในการจัดโครงการและกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนกับการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ ทรัพยากรทางธรรมชาติ

    1 ครั้ง 4,500 3 13,500
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    การประชาสัมพันธ์ ป้ายรณรงค์ ป้ายวิถีการอนุรักษ์ป่าตามพื้นที่เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักและซึมซับความรู้และแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง

    20 ชุด 1,000 3 60,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าบำรุงสถานที่แก่ชุมชนและพื้นที่ เพื่อเป็นกองทุนให้แก่ชุมชนในการเฝ้าระวัง ดูแลและรักษาป่าชุมชน ป่าต้นน้ำ และสิ่งแวดล้อมอันล้ำค่า

    1 ครั้ง 20,000 3 60,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหาร/เครื่องดื่มในการจัดกิจกรรมการส่งเสริม การอนุรักษ์ และวิถีชีวิตที่ถูกต้องตามจารีต ประเพณีเพื่อสร้างชุมชนต้นแบบในการเกษตรกับการอยู่ร่วมกับธรรมชาติตามแบบประชารัฐจำนวน 3 ครั้ง

    100 คน 200 3 60,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    วัสดุในการใช้ศึกษาพื้นที่ วิเคราะห์ รายงาน ประชุม ติดตามผลและประเมินผลการศึกษา

    1 ครั้ง 12,000 3 36,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าเบี้ยประชุม/ประชาวิจารย์ในการสรุปผล ประเมินผลกับชุมชนจำนวน 3 ครั้ง

    100 คน 200 3 60,000
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการช่วยเหลือ แนะนำ เสนอแนวทางและวิธีการที่ถูกต้องตามรูปแบบที่เหมาะสมกับชุมชนและสอดคล้องกับความเชื่อ แนวทางการประพฤติปฏิบัติของชุมชน

    3 คน 10,000 1 30,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการเข้าไปศึกษาพื้นที่ไม่น้อยกว่า 20 ครั้งเพื่อทำงานร่วมกับชุมชน

    20 ครั้ง 1,000 1 20,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่

    จ้างรถในการนำบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชน การประชุมวางแผน การติดตามและประเมินผลการทำงาน

    2 เที่ยว 3,000 3 18,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ค่าจ้างผู้ช่วยนักวิจัยวุฒิปริญญาตรี/คนในชุมชน การศึกษาข้อมูล เก็บข้อมูลและการอยู่ร่วมกับชุมชนจำนวน 1 คน เดือนบะ 12000 บาท จำนวน 6 เดือน

    1 คน 12,000 6 72,000
    รวมค่าใช้จ่าย 497,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 497,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 171,000.00 60,000.00 230,000.00 36,000.00 497,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 34.41% 12.07% 46.28% 7.24% 100.00%

    11. งบประมาณ

    497,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อบำบัดภัยทางธรรมชาติของเกษตรกรรมตามวิถีประชารัฐ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ คิต ความเชื่อประเพณีท้องถิ่นกับสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการ การขยายผลทางวิชาการสู่ชุมชนตนเอง ชุมชนใกล้เคียงและพัฒนาศักยภาพการทางการศึกษา
    ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนต้นแบบ คุณภาพชีวิตที่มีความสุขอย่างยั่งยืนและการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ เข้าใจรูปแบบชีวิตที่ดีที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคมและธรรมชาติอย่างแท้จริง
    ผลกระทบ (Impact) คุณภาพชีวิตชุมชน วิถีชีวิต จารีตประเพณี ทรัยพากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์และผลักดันให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ คุณภาพชีวิตที่ดี วิธีการรักษาธรรมชาติและการส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน
    นำเข้าสู่ระบบโดย somchan somchan เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2562 14:00 น.