โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่นคณะศิลปศาสตร์, วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่นคณะศิลปศาสตร์, วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่นตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลิศ วงศ์พรม, อาจารย์ณัฐกานต์ ตันมิ่งมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น 182/12 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น089-888-8081, 080-359-9494ดร.ปฏิพัทธ์ ตันมิ่ง/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลิศ วงศ์พรม/สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์
อาจารย์ณัฐกานต์ ตันมิ่ง/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ
อาจารย์หทัยรัตน์ สวัสดี/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ
อาจารย์โทมัส พลอนด์เบิร์ก/สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์
อาจารย์ชฎิล มาตรา/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ
อาจารย์วนิดา อ่อนละมัย/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ
อาจารย์พิรพิมพ์ ทั่งพรม/วิทยาลัยท่องเที่ยวและการบริการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ คำม่วง นาบอน ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

อำเภอคำม่วง เดิมขึ้นอยู่กับการปกครองของอำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ต่อมาทางราชการเห็นว่า อำเภอสหัสขันธ์ มีอาณาเขตกว้างใหญ่เกินไปที่จะปกครองดูแลอย่างทั่งถึง กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศ จัดตั้งกิ่งอำเภอคำม่วงขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2515 มีพื้นที่การปกครองในขณะนั้น 3 ตำบล ได้แก่ตำบลทุ่งคลอง ตำบลโพน และตำบลสำราญ ต่อมาเมื่อ วันที่18 กันยายน พ.ศ. 2519 ได้มีพระราชกฤษฏีกาจัดตั้งกิ่งอำเภอคำม่วงเป็น "อำเภอคำม่วง"ซึ่งมีที่ว่าการอำเภอคำม่วง ตั้งอยู่บ้านคำม่วง หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งคลอง "คำม่วง" มีความหมายแยกเป็น 2 คำ คือ คำว่า "คำ" เป็นการเรียกลักษณะของน้ำที่มีการไหลซึม ออกมาตลอดเวลา และ คำว่า "ม่วง" เป็นชื่อของต้นไม้ (ต้นมะม่วง) ฉะนั้นคำว่า "คำม่วง" จึงเป็นการเรียกชื่อของต้นไม้ขนาดใหญ่ ที่ขึ้นอยู่กลางลำธาร ซึ่งเมื่อพิจารณาดูแล้วคล้ายมีน้ำไหลจากโคนต้นตลอดเวลา ราษฏรจึงได้ตั้งชื่อลำธารนั้นว่า "ลำห้วยคำม่วง" และ ทางราชการได้นำมาตั้งชื่ออำเภอจนถึงปัจจุบัน อำเภอคำม่วงเป็นแหล่งทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวทั้งด้านวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของคนในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี ด้วยวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมการเปลี่ยนของสังคมในชุมชนเหมะสำหรับเป็นที่ท่องเที่ยว ที่พักผ่อนในท่ามกลางอากาศบริสุทธิ์ จุดเด่นของบ้านโพน ได้แก่ อากาศที่ไม่ร้อนอบอ้าว อาหารพื้นบ้านจะเป็นอาหารธรรมชาติ ที่ไม่มีสารพิษ จึงถือว่าเป็นอีกพื้นที่ที่น่าสนใจต่อการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของชุมชนได้เป็นอย่างดีการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยได้รับประโยชน์อย่างมากจากภาคอุตสาหกรรมบริการ เช่น ภาคธุรกิจบริการต่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่สามารถทดแทนการถดถอยของรายได้ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรมอื่น และเสริมสร้างความเจริญต่อระบบเศรษฐกิจสังคมอย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดการจ้างงานและการกระจายรายได้ ตลอดจนสร้างความเจริญให้กับท้องถิ่นในทุกภูมิภาคอย่างทั่วถึงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้กำหนนโยบายส่งเสริมการ
พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไปให้เป็นนักท่องเที่ยวที่มีจิตสานึกที่ดีตลอดจนส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทยเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปะ วัฒนธรรมไทย ทรัพยากรการท่องเที่ยวควบคู่ไปกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้การท่องเที่ยวเป็นไปอย่างยั่งยืน และเป็นการส่งเสริมให้เหล่าเยาวชนมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องและถูกต้องตามหลักภาษา เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้อย่างมั่นใจ
เยาวชนยังขาดทักษะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องและถูกต้องตามหลักภาษา เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้อย่างมั่นใจส่งเสริมศักยภาพภาษาอังกฤษแก่เหล่ายุวมัคคุเทศก์ในเขตชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อส่งเสริมเยาวชนในพื้นที่มีความรู้พื้นฐานด้านการท่องเที่ยว และมีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและคล่องแคล่วสามารถบรรยายให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ได้อย่างมั่นใจ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การบรรยายให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดกาฬสินธุ์ได้อย่างมั่นใจ เปรียบเสมือนทูตตัวแทนของจังหวัดช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว รูปแบบการท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม สินค้าของที่ระลึก สร้างรายได้ให้กับตนเองเป็นการหารายได้ระหว่างเรียน และกระตุ้นให้เยาวชนสานึกรักบ้านเกิด มีความรักและหวงแหนใทรัพยากรการท้องเที่ยวท้องถิ่นของตน อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาบุคลากรที่มีความประสงค์จะเป็นมัคคุเทศก์ในอนาคต ให้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณภาพ คุณสมบัติ มีจรรยาบรรณที่ดี และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาท มารยาท จรรยาบรรณ และวิธีการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์อย่างถูกต้อง

แบบสำรวจระดับความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี

70.00 80.00
2 เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแก่เยาวชนในชุมชนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ในระดับ สนทนา อย่างน้อย 30 ประโยค เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติได้

ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ

75.00 100.00
3 เพื่อปลูกจิตสำนึก ให้นักศึกษามีส่วนร่วมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษกับ ชุมชน และตระหนักถึงคุณค่า รัก และหวงแหนทรัพยากรการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ใน ท้องถิ่นของตนรวมถึงส่งเสริมอนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว

ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ

75.00 100.00
4 เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนอย่างยั่งยืนและทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่

ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

75.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เยาวชนในพื้นที่ 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 รวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนตําบลนาบอน อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
รวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนตําบลนาบอน อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาท มารยาท จรรยาบรรณ และวิธีการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์อย่างถูกต้อง
รายละเอียดกิจกรรม
รวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนตำบ
ลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนตำบลนาบอน
อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน 1 ครั้ง 30,000 1 30,000
รวมค่าใช้จ่าย 30,000

กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยว โดยมีการอบรมให้ ความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยว โดยมีการอบรมให้ ความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแก่เยาวชนในชุมชนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ในระดับ สนทนา อย่างน้อย 30 ประโยค เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติได้
  2. เพื่อปลูกจิตสำนึก ให้นักศึกษามีส่วนร่วมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษกับ ชุมชน และตระหนักถึงคุณค่า รัก และหวงแหนทรัพยากรการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ใน ท้องถิ่นของตนรวมถึงส่งเสริมอนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว
รายละเอียดกิจกรรม
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยว โดยมีการอบรมให้ความรู้ด้านการ
จัดการท่องเที่ยว โดยคัดเลือกปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน
การท่องเที่ยวของชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
หลักสูตรอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยว
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร 50 คน 280 1 14,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 2,000 1 10,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 4 ชุด 2,500 1 10,000
ค่าที่พักตามจริง 50 คน 1,000 1 50,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 94,000

กิจกรรมที่ 3 ร่างหลักสูตรโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว

ชื่อกิจกรรม
ร่างหลักสูตรโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแก่เยาวชนในชุมชนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ในระดับ สนทนา อย่างน้อย 30 ประโยค เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติได้
  2. เพื่อปลูกจิตสำนึก ให้นักศึกษามีส่วนร่วมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษกับ ชุมชน และตระหนักถึงคุณค่า รัก และหวงแหนทรัพยากรการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ใน ท้องถิ่นของตนรวมถึงส่งเสริมอนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว
รายละเอียดกิจกรรม
จัดทำร่างหลักสูตรโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว
ระยะเวลาดำเนินงาน
7 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
หลักสูตรโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 500 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,000

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อ การนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อ การนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาท มารยาท จรรยาบรรณ และวิธีการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแก่เยาวชนในชุมชนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ในระดับ สนทนา อย่างน้อย 30 ประโยค เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติได้
  3. เพื่อปลูกจิตสำนึก ให้นักศึกษามีส่วนร่วมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษกับ ชุมชน และตระหนักถึงคุณค่า รัก และหวงแหนทรัพยากรการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ใน ท้องถิ่นของตนรวมถึงส่งเสริมอนุรักษ์ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว
รายละเอียดกิจกรรม
จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อ การนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
7 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยวชุมชนตำบลนาบอน
อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าที่พักตามจริง 100 คน 1,000 1 100,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าอาหาร 100 คน 420 1 42,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 3,000 1 15,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 20 คน 2,000 1 40,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 207,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 381,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 95,000.00 226,000.00 50,000.00 10,000.00 381,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 24.93% 59.32% 13.12% 2.62% 100.00%

11. งบประมาณ

381,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) คู่มือการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว ได้นำความรู้มาปรับใช้ในการผลิตคู่มือการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว
ผลลัพธ์ (Outcome) หลักสูตรยุวมัคคุเทศก์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และเข้ารับการอบรมเพิ่มพูนความรู้ ฝึกฝนบุคลิกภาพและการเตรียมความพร้อมทักษะภาษาอังกฤษยุวมัคคุเทศก์เพื่อการนำเที่ยว
ผลกระทบ (Impact) พัฒนาศักยภาพด้านบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชน ต่อยอดในการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อสังคม
นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 16:03 น.