การกำจัดขยะพลาสติก ด้วยการแปรรูปเป็นพลังงาน (แก้ไข)

แบบเสนอโครงการ
การกำจัดขยะพลาสติก ด้วยการแปรรูปเป็นพลังงาน (แก้ไข)

1. ชื่อโครงการ

การกำจัดขยะพลาสติก ด้วยการแปรรูปเป็นพลังงาน (แก้ไข)กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเทศบาลตำบล หนองสออ.เมือง จ.กาฬสินธุ์เทศบาลตำบล หนองสออ.เมือง จ.กาฬสินธุ์นายวิริยะ แดงทน505 ถ.อนรรฆนาค ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์085-801161341. นายพิเชษฐ์ปุณขันธ์เลขที่บัตร 1431100059924 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
2. นายปฏิพัทธ์บุตรสุริเลขที่บัตร 1460500254278 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
3. นายวุฒิชัยวิเศษวุธเลขที่บัตร 1490500142941 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขาอส.บ.เทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
4. นายพงษ์วัตร สีหัวโทนเลขที่บัตร 1350100475812 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขาอส.บ.เทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
5. นางสาวนันทกร อาจหาญเลขที่บัตร 1490500142941 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติก คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
6. นางสาวอรจิราศรีมุล เลขที่บัตร 1460600155930 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติก คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
7. นางสาวหฤทัย กิ่งข่อยกลาง เลขที่บัตร 146990042219 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา บธ.บ การจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
8. นางสาววันเพ็ญทองพิลา เลขที่บัตร 1460700241951 ตำแหน่ง นักศึกษา สาขา บธ.บ การจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 10%
9. ดร.วิริยะแดงทนเลขที่บัตร 3409900540523 ตำแหน่ง อาจารย์ที่ปรึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 5%
10. ดร.อาจารีย์แสงเสถียร เลขที่บัตร 3409900540523 ตำแหน่ง อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขา วศ.บ.วิศวกรรมโลจิสติก คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 5%
11. ผศ. สุกัญญา ดวงอุปมา เลขที่บัตร 3480200206819 ตำแหน่ง อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขา บธ.บ การจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 5%
12. นาย อภิชน มุ่งชูเลขที่บัตร 14740700002949 ตำแหน่ง อาจารย์ที่ปรึกษา สาขา วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธู์ สัดส่วนการมีส่วนร่วม 5%

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ภูดิน

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนเทศบาลหนองสออำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์มีจำนวนประชากรประมาณ 7,135 คนใน 2,050 ครัวเรือน แบ่งออกเป็น 14 หมู่บ้าน เนื้อที่ในเขตปกครอง 45.85 ตารางกิโลเมตรการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ คือ เกษตรกรรมและอาชีพรอง คือ การประมง เนื่องจากมีเนื้อที่บางส่วนติดกับเขื่อนลำปาว และ มีอณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือจดแนวเขตเทศบาลตำบลภูดิน ทิศใต้จดแนวเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ทิศตะวันตกจดแนวเขตเทศบาลตำบลบึงวิชัยและตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์จากการลงพื้นที่ในชุมชนหนองสอ และได้ข้อมูลจากผู้นำชุมชน ในปัจจุบันชุมชน ประสบปัญหาใหญ่ในด้านคุณภาพชีวิต หลัก ๆ อยู่ 2 ประการคือปัญหาการจัดการขยะของชุมชนและ ปัญหาการจัดการน้ำใช้ในการผลิตประปาช่วงหน้าแล้งซึ่งปัญหาการจัดการขยะของชุมขนคือ ปริมาณขยะที่สะสมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน โดยเฉลี่ยประมาณวัน ละ 1.3-1.5 ตัน/วัน ทำให้พื้นที่เก็บขยะ (บ่อขยะ) ของชุมชนขยายใหญ่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนปัจจุบันเข้าใกล้ประชาชนที่เคยอาศัยอยู่บริเวณรอบ ๆ บ่อขยะ โดยช่วงหน้าฝนจะมีน้ำล้นจากบ่อขยะ ไหลเข้าไปยังพื้นที่เพาะปลูก และ บ้านเรือนประชาชน อีกด้วย

จากการสอบถามผู้นำชุมชนถึงการจัดการเบื้องต้นด้านขยะ ทราบว่ามีการประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านแยกขยะก่อนนำมาทิ้งแต่ไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร จากนั้นรถเก็บขยะจะนำขยะมาทิ้งที่บ่อขยะชุมชน และจะมีชาวบ้านบางคนมาขอแยกขยะที่พอมีค่าไปขาย เช่น ขวดแก้ว พลาสติก จึงมีขยะที่หลงเหลืออยู่ โดยมากจะเป็น ถุงพลาสติก
และอีก ประเด็นปัญหาหนึ่งคือ การจัดการน้ำดิบเพื่อผลิตน้ำประปาชุมชน ในหน้าแล้งเนื่องจากชุมชนมีบ่อกักเก็บน้ำขนาดใหญ่อยู่ หลายจุดแต่ไม่สามารถจะเชื่อมต่อถึงกันได้เนื่องจากระดับความสูงของพื้นที่ ในหน้าแล้งเมื่อบ่อน้ำที่ใช้ผลิตประปาลดน้อยลงต้องใช้เครื่องสูบน้ำ จากอ่างสำรองไปยังบ่อผลิต ซึ่งต้องเสียเชื้อเพลิงในการสูบประมาณวันละ 3 พันบาท
จากปัญหาทั้งสองดังกล่าวคณะอาสาประชารัฐมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ได้เสนอแนวทางแก้ปัญหาที่สามารถบูรณาการ ได้พร้อมกันทั้งสองปัญหา กล่าวคือ สามารถใช้เทคโนโลยีในการกำจัดขยะ และสามารถนำพลังงานที่ได้จากการกำจัดขยะมาใช้ในการสูบน้ำได้อีกด้วยโดยเลือกใช้เทคโนโลยีไพโรไลซีสมากำจัดขยะพลาสติก เพื่อแปรรูปขยะพลาสติกให้เป็นเชื้อเพลิงด้วยอุณหภูมิประมาณ 500°C โดยผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูป คือ น้ำมันเชื้อเพลิง และแก๊สเชื้อเพลิง การไพโรไลซีส คือ กระบวนการทางเคมีความร้อนที่ปราศจากออกซิเจน จึงทำให้ขยะพลาสติกสลายตัวอย่างรวดเร็วด้วยระยะเวลาประมาณ 5 วินาที จากนั้นควบแน่นไอที่เกิดจากการสลายตัวของขยะพลาสติกอย่างรวดเร็วให้กลายเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง ขณะที่ไอที่ไม่สามารถควบแน่นได้สามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ได้ เพราะแก๊สนี้มีสมบัติในการติดไฟง่ายเช่นเดียวกับแก๊ส LPG ดังนั้น การเลือกวิธีการกำจัดขยะพลาสติกด้วยวิธีไพโรไลซีส จึงเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะใช้ในการกำจัดขยะพลาสติกอย่างมีประสิทธิภาพ และ ได้แก๊สเชื้อเพลิงอีกด้วย ส่งต่อไปยังเครื่องยนต์ในเครื่องสูบน้ำ ส่งน้ำจากแหล่งน้ำไปยังบ่อผลิตน้ำประปาได้อีกด้วย
ชุมชนต้องการลดปริมาณขยะพลาสติกที่สะสมอยู่ในบ่อขยะ ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงในการสูบน้ำดิบจากแหล่งน้ำ เพื่อผลิดประปาชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 พลาสติก
พลาสติกจัดอยู่ในประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโมเลกุลต่อกันเป็นพันธะห่วงโซ่ยาวที่เรียกว่า “โพลิเมอร์” ดังแสดงในภาพที่ 2 โดยองค์ประกอบธาตุสำคัญของพลาสติก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน จึงทำให้พลาสติกมีความยืดหยุ่นเปลี่ยนรูปได้ตามอุณหภูมิและความดันซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้พลาสติกสลายตัวทางธรรมชาติได้ช้ามาก ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ขยะจากถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และพลาสติกพีวีซีมีปริมาณเพิ่มขึ้น
1) ถุงพลาสติก คือ พลาสติกโพลิเอทธิลีนที่มีความหนาแน่นต่ำ (Low density polyethylene) ซึ่งเป็นพลาสติกนิ่ม มีความยืดหยุ่นสูง และใส
2) ขวดพลาสติก คือ พลาสติกโพลิเอทธิลีนเทเรฟทาเลต (Poly ethylene terephthalate) ซึ่งเป็นพลาสติกใส ทนต่อแรงกระแทก และป้องกันการซึมผ่านของแก๊สได้เป็นอย่างดี
3) พลาสติกพีวีซี คือ พลาสติกโพลิไวนิลคลอไรด์ (Poly vinyl chloride, PVC) ซึ่งมีความแข็งเพียงพอที่จะนำไปทำเป็นท่อน้ำปะปา แต่หากเติมสารพลาสติกไซเซอร์จะทำให้พีวีซีนิ่มจึงเหมาะที่จะนำไปใช้ทำสายยาง กระเบื้องยาง พลาสติกปูโต๊ะ ขวดแชมพู ประตู หน้าต่าง และวงกบ

6.2 การไพโรไลซีสแบบเร็วของขยะพลาสติก
การไพโรไลซีสแบบเร็วของขยะพลาสติกเริ่มต้นจากการนำขยะพลาสติกบรรจุในเครื่องปฏิกรณ์ โดยขยะพลาสติกที่มีขนาดใหญ่มาก ๆ อาจจำเป็นต้องทุบหรือสับให้มีขนาดเล็กลงเพื่อประสิทธิภาพในการสลายตัวทางเคมีความร้อนของกระบวนการ
จากนั้นปิดฝาเครื่องปฏิกรณ์ใส่ประเก็นทนความร้อนแล้วขันน๊อตให้แน่น จากนั้นใส่ใยแก้วในชุดกรองไอร้อนหรือใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา รวมทั้งชุดควบแน่นด้วยเครื่องทำความเย็นเป็นอีกชุดหนึ่งที่ต้องตรวจสอบการรั่วซึมให้ดี ดังนั้น ชุดฝาปิดของเครื่องควบแน่นด้วยชุดทำความเย็นจึงจำเป็นต้องใส่ประเก็นบางนิ่มและทนความร้อนประมาณ 100 องศาเซลเซียส ได้ การไพโรไลซีสแบบเร็วของขยะพลาสติก เริ่มต้นจากการให้ความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์ที่อุณหภูมิ 400, 450, 500, 550 หรือ 600 องศาเซลเซียส ชุดกรองไอร้อนจะบรรจุใยแก้วเพื่อตักจับฝุ่นละอองที่หลุดมากับไอช่วยให้ไอสะอาดก่อนควบแน่นเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงต่อไป โดยอุณหภูมิของชุดกรองไอร้อนควบคุมตามอุณหภูมิไพโรไลซีส สำหรับอุณภูมิชุดควบแน่นด้วยเครื่องทำความเย็น คือ -25 องศาเซลเซียส

6.3การดัดแปลงเครื่องยนต์ดีเซลเล็กการเกษตรเพื่อใช้เชื้อเพลิงแก็สจากการไพโรไลซีส
เพื่อให้เครื่องยนต์ดีเซลคูโบต้า รุ่น ET 95 สามารถใช้เชื้อเพลิงแก็สจากการไพโรไลซีส จำเป็นต้องเปลี่ยนรูปแบบการเผาไหม้ จากเครื่องยนต์ดีเซลที่เผาไหม้เชื้อเพลิงด้วยแรงดัน และอุณหภูมิของอากาศร้อน เปลี่ยนมาเป็นเผาไหม้โดยการใช้หัวเทียนจุดประกายไฟให้เชื้อเพลิงเผาใหม่ในขั้นตอนการดัดแปลงเครื่องยนต์นั้นมีการดำเนินการเป็นขั้นตอนดังนี้
6.3.1 การลดแรงดันกระบอกสูบ
การลดแรงดันในกระบอกสูบนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากเชื้อเพลิงที่ใช้เปลี่ยนไป จากการใช้น้ำมันดีเซล ไปเป็นก๊าซเชื้อเพลิงแก็สจากการไพโรไลซีสซึ่งมีวิธีการเผาไหม้เชื้อเพลิงไม่เหมือนกัน กล่าวคือ น้ำมันดีเซลเผาไหม้เชื้อเพลิงด้วยแรงดัน และอุณหภูมิของอากาศร้อน ซึ่งเกิดจากการอัดตัวของอากาศภายในกระบอก ถูกอัดตัวโดยมีอัตราส่วนการอัดที่สูงประมาณ 18-21 : 1 เมื่ออากาศภายในกระบอกสูบร้อน หัวฉีดจะฉีดน้ำมันดีเซลให้เป็นฝอยละอองเข้าไปในกระบอกสูบและเกิดการเผาไหม้ ส่วนแก็สเชื้อเพลิงแก็สจากการไพโรไลซีส นั้นเผาไหม้โดยการใช้หัวเทียนจุดประกายไฟให้เชื้อเพลิงเผาไหม้ โดยมีอัตราส่วนการอัด ประมาณ 9-12 :1หากไม่ทำการลดกำลังอัดลงมาจะทำให้เมื่อป้อนแก๊สเข้าไปในกระบอกสูบความร้อนที่เกิดจากการอัดตัวที่อัตราส่วนการอัดสูง จะทำให้ก๊าซเกิดการติดไฟก่อนถึงองศาจุดระเบิดที่เหมาะสม หรือเรียกว่าการ น๊อค (knock) นั่นเองการลดแรงดันกระบอกสูบทำได้โดย การคว้านฝาสูบให้มีปริมาตรมากขึ้น และ การตัดหัวลูกสูบ
6.3.2 การติดตั้งระบบจุดระเบิด
เนื่องจากก๊าซที่ได้จากการไพโต้องใช้ประกายไฟในการช่วยให้จุดระเบิดภายในกระบอกสูบได้ทางผู้วิจัยจึงได้ทำการดัดแปลงวงจรไฟฟ้าเพื่อใช้ในการสร้างประกายไฟ โดยได้ดัดแปลงชุดสร้างประกายไฟของรถจักรยานยนต์ ยี่ห้อ Honda sonic 125ซึ่งปกติในวงจรดังกล่าวต้องมีไฟเลี้ยงวงจร ขนาด 12 โวล์ททางผู้วิจัยจึงต่อไฟฟ้าดังกล่าวกับอุปกรณ์ผลิตไฟหน้าของเครื่องแทน ดังแสดงแผนภาพวงจรการต่อระบบไฟจุดระเบิด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะพลาสติกที่สะสมในบ่อขยะด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซีส

ลดได้ปริมาณวันละ 100 กิโลกรัม

100.00 24000.00
2 เพื่อผลิด แปรรูปพลังงานเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติก

ปริมาณเชื้่อเพลิงแก๊สที่ใช้ในการสูบน้ำ 50 กิฺฺโลกรัม

50.00 12000.00
3 เพื่อศึกษาระบบโลจิสติกส์ในกระบวนการจัดเก็บขยะ

รูปแบบกระบวนการจัดเก็บขยะ 1 รูปแบบ

1.00 1.00
4 เพื่อลดรายจ่ายค่าเชื้อเพลิงในการสูบน้ำดิบในระบบประปาชุมชน

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงที่ลดได้ 50 ลิตรต่อวัน

50.00 1200.00
5 ถ่ายทอดเทคโนโลยีไพโลไรซิสให้กับชุมชน

มีผู้ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีไพโรไลซีส จำนวน 100 คน

0.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนเทศบาลหนองสอ อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ 7,135

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาข้อมูลปริมาณขยะพลาสติก และการแยกขยะของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาข้อมูลปริมาณขยะพลาสติก และการแยกขยะของชุมชน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ศึกษาปริมาณขยะ อัตราการกำจัดอัตราการผลิตเชื้อเพลิง
    2. ศึกษารูปแบบ และ แบบการติดตั้งเครื่องจักรเครื่องสูบ
    3. ศึกษาวิธีการเก็บและคัดแยกขยะชุมชน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    11 พฤศจิกายน 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ชุมชนหนองสอ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าปฏิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย (180 บาท x 30 วัน x 4 คน)

    4 คน 180 10 7,200
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าปฏิบัติงานนักศึกษา (120 บาท x 8 คน x 30)

    8 คน 120 10 9,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าเดินทาง (4 บาท× 50 กิโลเมตรx 10ครั้ง)

    1 เที่ยว 200 10 2,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 500 10 5,000
    ค่าอาหาร

    อาหารกลางวัน (12 คน ๆ ละ 100 บาท × 10ครั้ง)

    12 คน 100 10 12,000
    รวมค่าใช้จ่าย 35,800

    กิจกรรมที่ 2 ออกแบบ และ สร้าง ระบบไพโลไรซีสเพื่อกำจัดขยะพลาสติก

    ชื่อกิจกรรม
    ออกแบบ และ สร้าง ระบบไพโลไรซีสเพื่อกำจัดขยะพลาสติก
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อผลิด แปรรูปพลังงานเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติก
    รายละเอียดกิจกรรม
    ออกแบบ เขียนแบบ คำนวณ ขนาดเครื่อง
    จัดหาวัสดุ
    สร้าง และ ประกอบเครื่องไพโรไลซีส
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 ธันวาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เครื่องไพโรไลซีส พลาสติก เป็นเชื้อเพลิงให้กับเครื่องสูบน้ำผลิตน้ำประปา
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ชุมชนหนองสอ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ปฎิบัติงานล่วงเวลานักวิจัย ( 4 คน x 180 บาท x 30 วัน)

    4 คน 180 30 21,600
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา ( 4 คน x 120 บาท x 30 วัน)

    4 คน 120 30 14,400
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคล (4 บาท x 50 กิโลเมตร x 30 ครั้ง)

    1 เที่ยว 200 30 6,000
    ค่าอาหาร

    อาหารกลางวัน (10 คน ๆ ละ 100 บาท × 30 ครั้ง)

    10 คน 100 30 30,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สแตนเลสแผ่นหนา5 มิลลิเมตร (3 แผ่น× 9000 บาท)

    3 ชิ้น 9,000 1 27,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ท่อกลมสแตนเลส 1 นิ้ว (6 เส้น × 2,115 บาท)

    6 ชิ้น 2,115 1 12,690
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ข้อต่อสแตนเลสเกลียวใน 4 นิ้ว (10 อัน × 450 บาท)

    10 ชิ้น 450 1 4,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ข้อต่อสแตนเลสเกลียวใน 1 นิ้ว (10 อัน ×400 บาท)

    10 ชิ้น 400 1 4,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ปลั๊กอุดสแตนเลส 4 นิ้ว (10 อัน × 450 บาท)

    10 ชิ้น 450 1 4,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ปลั๊กอุดสแตนเลส 1 นิ้ว (10 อัน × 400 บาท)

    10 ชิ้น 400 1 4,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ศรแหลมสแตนเลส 2 นิ้ว (10 อัน × 120 บาท)

    10 ชิ้น 120 1 1,200
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สแตนเลสกล่อง 1/4 นิ้ว (10 เส้น × 690 บาท)

    10 ชิ้น 690 1 6,900
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สแตนเลสกล่องกล่อง 2 นิ้ว (5 เส้น × 2,500 บาท)

    5 ชิ้น 2,500 1 12,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ลวดเชื่อม 2.6 มม. (5 ห่อ × 250 บาท)

    5 ชิ้น 250 1 1,250
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    เทอร์โมคัปเปิ้ล ย่านการวัด -50-1200°C (6 ตัว × 2,000 บาท)

    6 ชิ้น 2,000 1 12,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    Temp control ย่านการวัด -50-1200°C (6 ตัว × 4,200 บาท)

    6 ชิ้น 4,200 1 25,200
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    Magnetic Contactor (6 ตัว × 2,400 บาท)

    6 ชิ้น 2,400 1 14,400
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    เบรกเกอร์ 30 A (6 ตัว × 320 บาท)

    6 ชิ้น 320 1 1,920
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สายไฟ 300 v 70°C (5 ม้วน × 3,500 บาท)

    5 ชิ้น 3,500 1 17,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ฟิตติ้ง 8 mm (10 ตัว × 200 บาท)

    10 ชิ้น 200 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ฟิตติ้ง 8 mm 3 ทาง (10 ตัว × 200 บาท)

    10 คน 200 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    สายลม 8 mm (1 ม้วน × 2,270 บาท)

    1 ชุด 2,270 1 2,270
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ล้อเลื่อน 4 นิ้ว (4 ล้อ × 500 บาท)

    4 ชิ้น 500 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    Ethanol (95%) 20 ลิตร (20 แกลลอน × 1,250 บาท)

    20 ชุด 1,250 1 25,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    Acetone 10 ลิตร (10 ปิ๊บ × 1,500 บาท)

    10 ชิ้น 1,500 1 15,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ถุงมือยาง (10 กล่อง × 200 บาท)

    10 ชิ้น 200 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ถุงมือยางทนกรด (10 กล่อง × 700 บาท)

    10 ชุด 700 1 7,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    โซดาไฟ 5 kg (25 ถุง × 900 บาท)

    25 ชุด 900 1 22,500
    รวมค่าใช้จ่าย 301,330

    กิจกรรมที่ 3 ออกแบบระบบโลจิสติกในการจัดเก็บและขนส่งขยะชุมชน

    ชื่อกิจกรรม
    ออกแบบระบบโลจิสติกในการจัดเก็บและขนส่งขยะชุมชน
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อศึกษาระบบโลจิสติกส์ในกระบวนการจัดเก็บขยะ
    รายละเอียดกิจกรรม
    - สำรวจข้อมูลสถานที่ปริมาณและประเภทขยะ ของชุมชน
    - วิเคราะห์เส้นทางขนส่งโลจิสติกส์ขยะชุมชน
    - จัดเส้นทางและลำดับการขนส่ง
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 ธันวาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เส้นทางและลำดับการขนส่งขยะ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ชุมชนหนองสอ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าปฏิบัติงานนักศึกษา 2 x120 บาท x 30 วัน

    2 คน 120 30 7,200
    ค่าอาหาร

    อาหารกลางวัน (2 คน ๆ ละ 100 บาท x 30 มื้อ)

    2 คน 100 30 6,000
    ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 500 30 15,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าหมึกพิมพ์ เลเซอร์ (2ชุด x 1,500 บาท)

    2 ชุด 1,500 1 3,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    กระดาษ A4 10 รีม x 100 บาท

    10 ชุด 100 1 1,000
    รวมค่าใช้จ่าย 32,200

    กิจกรรมที่ 4 ออกแบบและดัดแปลงเครื่องยนต์ดีเซลสูบน้ำเพื่อใช้ก๊าซจาการไพโรไลซีสพลาสติก

    ชื่อกิจกรรม
    ออกแบบและดัดแปลงเครื่องยนต์ดีเซลสูบน้ำเพื่อใช้ก๊าซจาการไพโรไลซีสพลาสติก
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อลดรายจ่ายค่าเชื้อเพลิงในการสูบน้ำดิบในระบบประปาชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ออกแบบ ดัดแปลงเครื่องยนต์
    - ทดสอบเครื่องกับแก็สไพโรไลซีส
    - ติดตั้งเครื่องปั้มน้ำ และระบบส่งแก็ส
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้เครื่องยนต์ที่ใช้ในการสูบน้ำ ดัดแปลงให้ใช้ก๊าซไพโรไลซีพพลาสติก ลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ชุมชนหนองสอ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ปฏิบัติงานล่วงเวลานักศึกษา ( 2 คน x 120 บาท x30 วัน)

    2 คน 120 30 7,200
    ค่าอาหาร

    อาหารกลางวัน (2 คน ๆ ละ 100 บาท × 30 มื้อ)

    2 คน 100 30 6,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 500 30 15,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ชุดคอยล์จุดระเบิด ( 1 ชุด × 2,950 บาท)

    1 ชุด 2,950 1 2,950
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ชุดสร้างสัญญานจุดระเบิด ( 1 ชุด × 1,850 บาท)

    1 ชุด 1,850 1 1,850
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ฝาสูบเครื่อง ET 110 ( 3 ชุด × 4,000 บาท)

    3 ชิ้น 4,000 1 12,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ลูกสูบ + แหวน + ประเก็น ET110 ( 3 ชุด × 1,500 บาท)

    3 ชิ้น 1,500 1 4,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    น้ำมันเครื่อง ( 6 แกลลอน × 583 บาท)

    6 ชุด 583 1 3,498
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ท่อ pvcขนาด 1 นิ้ว (จำนวน 25 ท่อ x 100 บาท)

    25 ชิ้น 100 1 2,500
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ท่อ pvcขนาด 2 นิ้ว จำนวน 10 ท่อ x 200 บาท

    10 ชิ้น 200 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ท่อ pvcขนาด 4 นิ้ว จำนวน 5 ท่อ x 250 บาท

    4 ชิ้น 250 1 1,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ชุดเพิ่มความดันก๊าซไพโรไลซีส 1ชุด x 25,000

    1 ชุด 25,000 1 25,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    เหล็กฉาก 1.5 นิ้ว หนา 3.0 มม.( 12 เส้น x 350 บาท)

    12 ชิ้น 350 1 4,200
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ปลั๊กพ่วงสนาม ขนาด 2 x 2.5 มม. ยาว 15 เมตร (1ชุด x 1,052 บาท)

    1 ชุด 1,052 1 1,052
    รวมค่าใช้จ่าย 88,750

    กิจกรรมที่ 5 ถ่ายทอดเทคโนโลยีไพโรไลซีส

    ชื่อกิจกรรม
    ถ่ายทอดเทคโนโลยีไพโรไลซีส
    วัตถุประสงค์
    1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีไพโลไรซิสให้กับชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ไพโรไลซีสให้กับ ผู้รับทำหน้าที่ควบคุมเครื่อง และ ประชาชนทั่วไป จำนวน 88 คน แบ่งออกเป็น 2 รุ่น
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    2 มีนาคม 2563 ถึง 6 มีนาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผู้ใช้งานเครื่อง และ ชาวบ้าน ได้รับความรู้ด้านเทคโนโลยีไพโรไลซีส
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ชุมชนหนองสอ
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (5 คน x 2 ชั่วโมง x 600)

    5 คน 2,400 2 24,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวัน (100 คน x 100 บาท x 1 มื้อ)

    100 คน 100 1 10,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม (200 แผ่น x 0.50 บาท)

    100 ชุด 50 1 5,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าจัดทำป้ายถ่ายทอดเทคโนโลยี ไพโรไลซีส

    1 ชุด 1,000 1 1,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าปฏิบัติงานนักศึกษา ( 120 บาท x 2 วัน)

    8 คน 120 2 1,920
    รวมค่าใช้จ่าย 41,920

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 132,520.00 1,000.00 112,000.00 254,480.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 26.50% 0.20% 22.40% 50.90% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) 1. ได้เครื่องกำจัดขยะพลาสติก แปรรูปพลังงานเป็นเชื้อเพลิงใช้ในระบบสูบน้ำ
    2. ได้เครื่องยนต์สำหรับสูบน้ำที่ใช้แก็สจากการไพโรไลซีสเป็นเชื้อเพลิง
    3. ได้ระบบขนส่งจัดเก็บเก็บขยะ
    1. ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการ ออกแบบและสร้างระบบไพโรไลซีส เพื่อลดปัญหาขยะของชุมชน
    2. นักศึกษาสามารถเทียบหน่วยกิตจากโครงการวิจัยได้ดังนี้
    2.108-035-402 วิชาสัมมนาทางเทคโนโลยีเครื่องกล (สำหรับ นักศึกษา อสบ.เทคโนโลยีเครื่องกล)
    2.2 08-035-407โครงงานเทคโนโลยีเครื่องกล(สำหรับ นักศึกษา อสบ.เทคโนโลยีเครื่องกล)
    2.304-031- 412 โครงงานวิศวกรรมเครื่องกล (สำหรับ นักศึกษา วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล)
    2.4EN 063-003 วิศวกรรมคุณค่า (สำหรับ นักศึกษา วศ.บ. โลจิสติก)
    2.5 3-03-06 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ (สำหรับนักศึกษา บธ.บ. สาขาวิชาการจัดการ)
    ผลลัพธ์ (Outcome) 1. สามารถรถขยะพลาสติก ชุมชน ได้วันละ 100 กิโลกรัม
    2. สามารถผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะ พลาสติก ได้วันละ 50 กิโลกรัม
    3. สามารถลดพลังงานในการจัดเก็บขยะ
    1. นักศึกษาได้องค์ความรู้ในการไปประกอบอาชีพ ด้านพลังงานทดแทน
    2. นักศึกษาได้ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการพัฒนาท้องถิ่น
    ผลกระทบ (Impact) 1. ลดค่าเชื้อเพลิงในการสูบน้ำเพื่อผลิตน้ำประปา ได้ วันละ 1500 บาท
    นำเข้าสู่ระบบโดย wiriya.da wiriya.da เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562 18:49 น.