แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นองค์การบริหารส่วนตำบลคำใหญ่ อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์หมู่ 5 บ้านห้วยยาง องค์การบริหารส่วนตำบลคำใหญ่ อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์รองศาสตราจาย์ ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุมหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่16ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 4000204320 3124นักศึกษาวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น สาขาการจัดการปกครองท้องถิ่น จำนวน 3 คน
นักศึกษาวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น สาขาการจัดการเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน จำนวน 3 คน
นักศึกษาวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น สาขาการจัดการการคลังจำนวน2 คน

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก คำใหญ่ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลคำใหญ่ อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ มีหมู่บ้านอยู่ทั้งในเขตเทศบาลและเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) จำนวน 4 หมู่บ้าน พื้นที่ ตำบลคำใหญ่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอห้วยเม็ก ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจากตำบลห้วยเม็กและนิยมตั้งบ้านเรือนอยู่ตามสองฝั่งถนนและอยู่ใกล้แหล่งน้ำเพื่อสะดวกในการสัญจรไปมาและการประกอบอาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพื้นที่ทั้งหมด 25,625 ไร่ พื้นที่อยู่ในเขตเทศบาลตำบลคำใหญ่ 6,250 ไร่ และในเขต อบต. 19,375 ไร่การพัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม มีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลง และเป็นพลังในการพัฒนาสังคม โดยส่งเสริมการสร้างรายได้และการมีงานทำในผู้สูงอายุ ควบคู่กับการเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ผู้สูงอายุ เพื่อการประกอบอาชีพและการพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนำความรู้และประสบการณ์ของผู้สูงอายุที่เป็นคลังสมองผู้มีความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้ง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเอง โดยการปรับปรุงสภาพแวดล้อม และความจำเป็นทางกายภาพให้เหมาะกับวัยในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งในด้านการจัดบริการสุขภาพและสวัสดิการสังคม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก ได้เป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ มีการอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิมรวมถึงการได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย
ปัจจุบันกลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ 5 บ้านห้วยยาง องค์การบริหารส่วนตำบลคำใหญ่ อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์ มีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ถือเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนของผู้ประสบภาวะยากลำบากสูงกว่าวัยอื่นทั้งหมด ความยากจนเป็นปัจจัยแรก ที่นำมาสู่ภาวะดังกล่าว เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงาน ไม่มีหลักประกันทั้งในรูปแบบเงินบำนาญ เงินออม และมีโอกาสจำกัดที่จะทำงานภาคแรงงานในระบบเนื่องจากมีการศึกษาน้อย การขาดความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ การมีจำนวนบุตรที่จะเป็นผู้ให้การเกื้อหนุนด้านการเงินลดลงเป็นลำดับ ประกอบกับ ความเสื่อมของสภาพร่างกายตามวัยและโรคภัยที่มากขึ้น ก่อให้เกิดภาวการณ์พึ่งพาที่สูงขึ้นและมีความต้องการการดูแลระยะยาวจากสังคม จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญในการยกย่องให้การดูแล สุขภาพจิต สุขภาพกายให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำขยะเปียกในรูปแบบต่าง ๆ
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการพัฒนาคุณภาพชีวิตนักศึกษา
องค์ความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุดีขึ้น

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

อาจารย์รับผิดชอบโครงการ

2 คน 15,000 4 120,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

8 คน 5,000 4 160,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ประสานงาน

2 คน 6,000 4 48,000
ค่าที่พักตามจริง 2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าเดินทาง

1 ครั้ง 20,000 1 20,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวัสดุอุปกรณ์

1 ครั้ง 112,000 1 112,000
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 232,000.00 40,000.00 228,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 46.40% 8.00% 45.60% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ร้อยละ 60 ของครัวเรือน นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562 11:30 น.