เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มผลผลิต

แบบเสนอโครงการ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มผลผลิต

1. ชื่อโครงการ

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มผลผลิตมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์1.คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์บ้านนาจำปา ตำบลนาจำปา อำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์สายัญ พันธ์สมบูรณ์62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์064-3233579 sayun.ph@ksu.ac.thนาย 1469900522146 ธวัชชัย ภูธรรมะ หลักสูตร วท.บ.พืชศาสตร์ นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นางสาว 1430301328000 ศิริขวัญ สุขสว่าง หลักสูตร วท.บ.พืชศาสตร์ นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นางสาว 1430301327992 ศิริวรรณ สุขสว่าง หลักสูตร วท.บ.พืชศาสตร์ นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1469900503681 นัฐวัฒน์ สุริยะพงษ์ธณ หลักสูตร วท.บ.พืชศาสตร์ นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1469900440140 ธราธร โพไค หลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1461000175787 อรชุน ถิ่นวิมล หลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1200101773133 ภานุพงศ์ จันทร์คง หลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1490200099935 ศุภกิจ นาถบำรุง หลักสูตร ศศ.บ.พัฒนาสังคม นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
นาย 1430500360001 สุทธิพงษ์ นามโพธิ์ไข หลักสูตร ศศ.บ.พัฒนาสังคม นักศึกษาผู้ดำเนินการวิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 5460100086605 สายัญ พันธ์สมบูรณ์ ที่ปรึกษางานงานวิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3619900151533 ปิยะพงษ์ บุญสรรค์ ที่ปรึกษางานงานวิจัย
อาจารย์ 3559900149114 อยุธย์ คงปั้น ที่ปรึกษางานงานวิจัย
อาจารย์ 1361000130628 อิทธิพล ขึมภูเขียว ที่ปรึกษางานงานวิจัย
อาจารย์ 3420500381632 ปุญญิศา ชารีรักษ์ ที่ปรึกษางานงานวิจัย
อาจารย์ 3440300267496 สุริยัณห์ สมศรี ที่ปรึกษางานงานวิจัย
อาจารย์ 3401200491786 กิตติ์ธนัต์ ญานพิสิษธุ์ ที่ปรึกษางานงานวิจัย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ดอนจาน ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลดอนจาน อำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วยหมู่บ้าน หมู่ 2 บ้านหนองโพน , หมู่3 บ้านดงเย็น , หมู่4 บ้านโนนสมบูรณ์ , หมู่5 บ้านงิ้วงาม , หมู่6 บ้านโนนสามัคคี , หมู่7 บ้านนาจำปา , หมู่8 บ้านนาจำปา , หมู่9 บ้านโนนหนามแท่ง
จำนวนหลังคาเรือน 706 หลังคาเรือน จำนวนประชากร : 3,148 คน ดอนจาน พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 17,385 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 16,984 ไร่ผลผลิต 60,514 กิโลกรัม คิดเป็น 3,563 กิโลกรัมต่อไร่
จำนวนหลังคาเรือน 706 หลังคาเรือน จำนวนประชากร : 3,148 คน ดอนจาน พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 17,385 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 16,984 ไร่ผลผลิต 60,514 กิโลกรัม คิดเป็น 3,563 กิโลกรัมต่อไร่พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ และเกษตรกรยังใช้เทคโนโลยีไม่ถูกต้อง เช่น ปลูกถี่เกินไป และใส่ปุ๋ยเคมีไม่เหมาะสม ขณะที่ต้นทุนการผลิตที่ใช้ก็สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน เพราะปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ยเคมี และสารกำจัดวัชพืชมีราคาเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งค่าแรงที่เพิ่มขึ้นและขาดแคลน เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายสู่นอกภาคเกษตรมากขึ้นเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังร้อยละ 20

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีภารกิจในการวิจัยและพัฒนาการผลิตพืช และมันสำปะหลังเป็นพืชหนึ่งที่มีการวิจัยมาอย่างต่อเนื่อง จนได้เทคโนโลยีการผลิตต่างๆ ที่เหมาะสม ดังนั้นควรนำแนวทางดังกล่าวมาปรับใช้และขยายผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังให้กับเกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยความร่วมมือของภาคเอกชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้สามารถเพิ่มผลผลิตและรายได้ให้กับเกษตรกร ก่อให้เกิดความยั้งยืนในภาคการผลิต ตั้งแต่ระดับเกษตรกรจนถึงภาคอุตสาหกรรม ทำให้เกษตรกรตระหนักถึงความจำเป็นในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่นอกจากจะทำให้มีรายได้เพิ่มแล้ว ยังช่วยให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการอนุรักษ์ เกิดความร่วมมือและความเข้าใจระหว่างเกษตรกรและภาคเอกชนโดยมีภาครัฐเป็นผู้เชื่อมโยง และสนับสนุนความรู้และเทคโนโลยีที่จำเป็น
งานวิจัยที่จะนำไปถ่ายทอด
สายัญ พันธ์สมบรูณ. 2558. Transfer of Cassava Production Technology Attained from Research to Farmers in Kalasin Province to Enhance Their Production Efficiency and Income (Phase I)” ทุนวิจัยจากบริษัท Mitsubishi Co., (Japan) Ltd. 31 มีนาคม 2558
สายัญ พันธ์สมบรูณ. 2559. Transfer of Cassava Production Technology Attained from Research to Farmers in Kalasin Province to Enhance Their Production Efficiency and Income (Phase II)” ทุนวิจัยจากบริษัท Mitsubishi Co., (Japan) Ltd. 31 มีนาคม 25ุ60
สายัญ พันธ์สมบรูณ. 2562. Transfer of Cassava Production Technology Attained from Research to Farmers in Kalasin Province to Enhance Their Production Efficiency and Income (Phase III)” ทุนวิจัยจากบริษัท Mitsubishi Co., (Japan) Ltd. 31 มีนาคม 2562

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 พัฒนาการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรบ้านนาจำปาให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

รายได้เกษตกรผู้ผลผลิตมันสำปะหลังเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ โดยมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จำนวน 30 ราย

ชื่อกิจกรรม
การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ โดยมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จำนวน 30 ราย
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1 ประชุมชี้แจงรูปแบบและวิธีการดำเนินโครงการกับทีมวิจัย
    2 วางแผนถ่ายทอดเทคโนโลยี ดังนี้
    1) การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ โดยมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จำนวน 30 ราย
    2) จัดเตรียมหลักสูตร เอกสารการฝึกอบรม สถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการฝึกอบรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    30 พฤศจิกายน 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกษตรกรคนเก่ง 30 คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 จัดการฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบโดยแบ่งเป็น 3 ช่วง ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในแปลง

    ชื่อกิจกรรม
    จัดการฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบโดยแบ่งเป็น 3 ช่วง ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในแปลง
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      - ช่วงก่อนปลูก
      1) เทคโนโลยีการเตรียมดิน เพื่อสาธิตการเตรียมดินที่ถูกต้องตามลักษณะเนื้อดิน เปรียบเทียบกับวิธีการเตรียมดินของเกษตรกร
      2) เทคโนโลยีการให้น้ำ เพื่อสาธิตการให้น้ำมันสำปะหลังโดยใช้ระบบน้ำหยด เพื่อให้มีการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
      - ช่วงปลูกและดูแลรักษา
      3) เทคโนโลยีด้านพันธุ์และการปลูกที่เหมาะสม โดยปลูกเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับพื้นที่ โดยใช้วิธีการปลูกตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร
      4) เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ย เพื่อสาธิตการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เปรียบเทียบกับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่เป็นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี และการใส่ปุ๋ยตามวิธีที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติ
      5) เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช ได้แก่ การจัดการวัชพืช เพลี้ยแป้ง และไรแดง รวมทั้งศัตรูพืชชนิดอื่นๆ ที่พบในพื้นที่
      - วิธีการเก็บเกี่ยว
      การประเมินผลผลิต และการวัดเปอร์เซ็นแป้ง การคำนวณต้นทุน รายได้ และกำไรสุทธิ
      6) เทคโนโลยีการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อสาธิตการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการผลิตมันสำปะหลัง ตั้งแต่การเตรียมดิน การปลูก การกำจัดวัชพืช การเก็บเกี่ยว (เครื่องขุดมันสำปะหลัง) การหั่นย่อยเหง้ามัน และการผลิตมันเส้นสะอาด
      4 กิจกรรมแปลงต้นแบบ ดำเนินการในแปลงเกษตรกรผู้นำ หรือเกษตรกรต้นแบบ จำนวน 30 ราย ๆ ละ 1 ไร่ โดยมีการให้คำแนะนำ ติดตามและประเมินผลการนำเทคโนโลยีที่เกษตรกรเรียนรู้ไปปฏิบัติในแปลงต้นแบบ
      5. กิจกรรมสรุปบทเรียน จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนร่วมกับเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่โรงงาน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และสรุปผลการดำเนินงาน หรือวางแนวทางการพัฒนาหรือขยายผลร่วมกัน
      6. การประเมินความแตกต่างของผลผลิต และผผลตอบแทน สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เทคโนโลยีการผลิตและวิธีปฏิบัติต่างๆ ผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทน ได้รับจากการผลิตมันสำปะหลังก่อนเข้าร่วมโครงการ เปรียบเทียบกับเมื่อนำเทคโนโลยีที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติรวมทั้งสำรวจความพึงพอใจ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี และการยอมรับเทคโนโลยี
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      31 ธันวาคม 2562 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      เกษตรกรต้นแบบ 90 คน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      อื่น ๆ

      ปฏิบัติงานล่วงเวลา วันจันทร์-ศุกร์ (38 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 50 บาท x 7 คน

      8 คน 50 28 11,200
      อื่น ๆ

      ปฏิบัติงานนักศึกษาผู้วิจัย (45 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 120 บาทx 7 คน

      7 คน 120 45 37,800
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารเกษตกรช่วงคัดเลือก 120 บาท/มื้อ/คน *1 มื้อ * 3 ครั้ง *90 คน

      90 คน 120 3 32,400
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างเกษตกรช่วงคัดเลือก 25 บาท/มื้อ/คน *2 มื้อ * 3 ครั้ง *90 คน

      90 คน 50 3 13,500
      ค่าอาหาร

      อาหารกลางวันทีมวิจัย (12 คน ๆ ละ 80 บาท × 45 ครั้ง)

      12 คน 80 45 43,200
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารเกษตกร 100 บาท/มื้อ/คน *1 มื้อ * 7 ครั้ง *30 คน

      30 คน 100 7 21,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างเกษตกร 25 บาท/มื้อ/คน *2 มื้อ * 7 ครั้ง *30 คน

      30 คน 50 7 10,500
      ค่าวัสดุสำนักงาน

      ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรมเกษตรกร 200 บาท * 40 ชุด

      40 ชุด 200 1 8,000
      ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

      ค่าอบรมเกษตรกรช่วงเก็บเกี่ยว (Field day) 90 คน*300 บาท

      90 คน 300 1 27,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าเดินทาง (4 บาท× 30 กิโลเมตรx 45 ครั้ง)

      30 ครั้ง 4 45 5,400
      ค่าถ่ายเอกสาร

      จ้างถ่ายเอกสารรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (10 เล่ม x 200 บาท)

      10 ชุด 200 1 2,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าต้นพันธุ์ 100 ต้น/ไร่ *30 ไร่*5 บาท/ต้น

      100 ชิ้น 5 30 15,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าปุ๋ยอินทรีย์ ไร่ละ 600 บาท * 30 ไร่

      30 ชิ้น 600 1 18,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าปุ๋ยเคมีจำนวน 1,600 บาท * 30 ไร่

      30 ชุด 1,600 1 48,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ชุดตรวจสอบธาตุอาหารในดิน (test kit) 4,950 บาท จำนวน 6 ชุด

      6 ชุด 4,950 1 29,700
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      สายน้ำหยดขนาดระยะห่างระหว่างจุด 60 ซม. จำนวน 20 ม้วน x 1,500

      20 ชิ้น 1,500 1 30,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้อต่อสายน้ำหยด จำนวน 250 อัน x 80 บาท

      250 ชิ้น 80 1 20,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 180 อัน x 150 บาท

      180 ชิ้น 150 1 27,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ท่อพีวีซี ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 180 อัน x 150 บาท

      180 ชิ้น 150 1 27,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้องอ ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 90 บาท

      100 ชิ้น 90 1 9,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้องอ ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 90 บาท

      100 ชิ้น 90 1 9,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้อต่อสามทาง ขนาด 2 นิ้วลด 1 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 60 บาท

      100 ชิ้น 60 1 6,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      บอลวาล์ว ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 50 อัน x 200 บาท

      51 ชิ้น 200 1 10,200
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      บอลวาล์ว ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 50 อัน x 200 บาท

      50 ชิ้น 200 1 10,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      สามทาง-หนา ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 60 บาท

      100 ชิ้น 60 1 6,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      สามทาง-หนา ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 60 บาท

      100 ชิ้น 60 1 6,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้อต่อตรง-หนา ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 30 บาท

      100 ชิ้น 30 1 3,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้อต่อตรง-หนา ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 30 บาท

      100 ชิ้น 30 1 3,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ข้องอ 45๐ ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 102 อัน x 50 บาท

      102 ชิ้น 50 1 5,100
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ฝากรอบ ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 30 บาท

      100 ชิ้น 30 1 3,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ฝากรอบ ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 100 อัน x 30 บาท

      100 ชิ้น 30 1 3,000
      รวมค่าใช้จ่าย 500,000

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 27,000.00 128,000.00 296,000.00 49,000.00 500,000.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) 5.40% 25.60% 59.20% 9.80% 100.00%

      11. งบประมาณ

      500,000.00บาท

      12. การติดตามประเมินผล

      ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
      ผลผลิต (Output) เกษตรกรต้นแบบ จำนวน 30 คน เกษตรกรคนเก่ง จำนวน 90 คน ได้เรียนรู้และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกรในพื้นที่จริงเพื่อการผลิตมันสำปะหลังในแปลงอย่างเป็นระบบ โดยนักศึกษาสามารถเทียบจำนวนหน่วยกิตวิชาเรียน ดังนี้
      วท.บ.พืชศาสตร์
      รายวิชา
      AG-012-102 Field Practice in Plant Science จำนวน 1 หน่วยกิต
      03-201-208 หลักและวิธีส่งเสริมการเกษตร จำนวน 3 หน่วยกิต
      วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล
      รายวิชา
      04-031-307 Mechanical Engineering Pre-Project จำนวน 3 หน่วยกิต
      04-031-412 Mechanical Engineering Project จำนวน 3 หน่วยกิต
      ศศ.บ. พัฒนาสังคม
      รายวิชา
      2504104 การจัดบริการสังคม
      ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรผู้ผลิตมันสำปะหลัง อย่างน้อย 30 คน ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังอย่างเป็นระบบและสามารถนำไปปฏิบัติหรือถ่ายทอดสู่เกษตรกรรายอื่นๆ ได้อย่างน้อย 90 คน ในปีถัดไป มีความรู้ ทักษะ พร้อมปฏิบัติงานด้านวิชาชีพ
      ผลกระทบ (Impact) รายได้เกษตกรผู้ผลผลิตมันสำปะหลังเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 เป็นนักพัฒนาที่มีศักยภาพ แม้มีข้อจำกัดทางทรัพยากร
      นำเข้าสู่ระบบโดย sayun42_ksu.ac.th sayun42_ksu.ac.th เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562 11:29 น.