การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อจัดจำหน่ายในช่องการค้าแบบออนไลน์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46140นายชัพวิชญ์ คำภิรมย์คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตําบลกาฬสินธุ์ อําเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 4600008074994981. นางสาววิจิตรายาโน เลขบัตรประชาชน 1461400096698 นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา 05-011-308 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3(3-0-6) หน่วยกิต
2. นางสาวตรึงตา ถิตย์ผาด เลขบัตรประชาชน 1469900419108นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เทียบโอนรายวิชา 05-011-308 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3(3-0-6) หน่วยกิต
3. นางสาวภาวิณี รัตนพลแสน เลขบัตรประชาชน 1219900645410นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เทียบโอนรายวิชา 05-011-308 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3(3-0-6) หน่วยกิต
4. นายศักดิ์ชัยสาระขัน เลขบัตรประชาชน 1461300145867 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ เทียบโอนรายวิชา 05-052-306 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ 3(3-0-6) หน่วยกิต
5. นางสาวเจนจิรารจนา เลขบัตรประชาชน 1460600147171 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา 05-052-306 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ 3(3-0-6) หน่วยกิต
6. นางสาวสกุลรัตน์ พรหมเจริญผล เลขบัตรประชาชน 1210200086827นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา 3503221 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(2-2-5) หน่วยกิต
7. นางสาววิไลวรรณ ห้องอภัย เลขบัตรประชาชน 1460900103218 นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา 3503221 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(2-2-5) หน่วยกิต
8. นางสาวเสาวรัตน์ ภูชมศรี เลขบัตรประชาชน 461300176886 นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา 3503221 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(2-2-5) หน่วยกิต
9. นายบารมี ปฏิบัติดี เลขประตัวประชาชน 1460200097126 นักศึกษา สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทียบโอนรายวิชา SC-022-204 วิศวกรรมซอฟแวร์ 3(2-2-5) หน่วยกิต
10.นางสาวนารี เอื้องแสงพระจันทร์ (นักศึกษาต่างประเทศ) เลขบัตรประจำตัวประชาชน 090060458 นักศึกษา สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เทียบโอนรายวิชา SC-022-204 วิศวกรรมซอฟแวร์ 3(2-2-5) หน่วยกิต
11. นายชัพวิชญ์ คําภิรมย์ เลขที่บัตรประชาชน 3460100948686 อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
12. นายชัชวาลย์ ศรีมนตรี เลขที่บัตรประชาชน 3449900118147 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
13. นายจุมพล จํารูญ เลขที่บัตรประชาชน 3360300208296 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
14. นางสุกัญญา ดวงอุปมา เลขที่บัตรประชาชน 3480200206819 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
15. นางสาวอัจฉรา สมังเกษตร เลขที่บัตรประชาชน 3410400507723 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ พื้นที่เฉพาะ:ลุ่มน้ำ

3. รายละเอียดชุมชน

ประวัติความเป็นมา ตําบลภูสิงห์ แยกการปกครองออกจากตําบลโนนศิลา เมื่อปี พ.ศ.2509 มีจํานวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านโนนสมบูรณ์ หมู่ 2 บ้านโนนอุดม หมู่ 3 บ้านดอนดู่ หมู่ 4 บ้านดงน้อย หมู่ 5 บ้านหนองฝาย หมู่ 6 บ้านท่าศรี หมู่ 7 บ้านคํา ชมภู หมู่ 8 บ้านโนนปลาขาว และหมู่ 9 บ้านท่าเรือภูสิงห์ พื้นที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 35.10 ตร.กม. หรือประมาณ 21,937 ไร่ สภาพ พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ลาดเชิงเขาบางส่วน มีพื้นที่ติดกับเขื่อนลําปาวจึงมีนํ้าใช้ตลอดปีประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและประมงนํ้าจืดประชากรในชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตําบลภูสิงห์ อําเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์มีศักยภาพในการทําประมงนํ้าจืดทั้งการเลี้ยงปลาใน กระชังเลี้ยงปลาในบ่อดิน รวมไปถึงการจับปลาตามธรรมชาติ เนื่องจากที่ตั้งชุมชนอยู่ติดเขื่อนลําปาวทําให้มีแหล่งที่อยู่อาศัยของ ปลาหลากหลายชนิดและมีปลาอาศัยอยู่อย่างชุกชุม และประชากรในพื้นที่สามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการทําประมงนํ้าจืดที่มี คุณภาพ สด สะอาด รสชาติดี ยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเช่น ปลาส้ม แหนมปลา ปลาร้าทรงเครื่อง ปลาร้าบอง ปลาแห้ง ปลาแดดเดียว เป็นต้น โดยผลิตภัณฑ์ต่างๆจะจําหน่ายตามท้องถนนให้กับผู้สัญจรด้วยรถยนต์หรือจักรยานยนต์ที่เดินทางผ่านมาในชุมชนเป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยเป็นประเทศซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกรรมในรูปแบบต่างๆ ยกตัวอย่างเช่นการเพาะปลูก ปศุสัตว์ ประมงน้ำจืด อันเป็นรายได้หลักของประเทศมาอย่างยาวนาน ดังนั้นอาชีพเกษตรกรรมไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตามถือได้ว่าเป็นอาชีพซึ่งสร้างมูลค่าเงินหล่อเลี้ยงประเทศมานานนับศตวรรษและเป็นรายได้หลักของเกษตรกรทุกครัวเรือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ยังไม่มีหน่วยงานและองค์กรผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าถึง ยกตัวอย่างเช่น พื้นที่ในภาคอีสานตอนกลาง ได้แก่จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์ หรือกลุ่มจังหวัดเศรษฐกิจ ร้อย แก่น สาร สินธุ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ประชากรผู้อยู่อาศัยประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งบางแห่งเป็นกลุ่มเกษตรกลุ่มย่อยที่มีชื่อเสียง เช่น กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มปลูกข้าวหอมมะลิ ทุ่งกลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด ผลิตภัณฑ์จากปลา ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้น จากตัวอย่างที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าธุรกิจการเกษตรในกลุ่มจังหวัดดังกล่าวมีชื่อเสียงโด่งดังและมีกำลังการผลิตที่มีประสิทธิภาพ แต่ยังมีปัญหาเรื่องการกระจายสินค้าเกษตรไปยังผู้บริโภค รวมไปถึงระบบประชาสัมพันธ์และรูปแบบการจัดจำหน่ายที่ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายยังไม่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ครบทุกช่องทาง โดยสาเหตุหลักเนื่องจากช่องทางการจัดจำหน่ายไม่เพียงพอและประชาชนผู้ผลิตสินค้าเกษตรไม่มีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นที่นิยมของผู้บริโภคในปัจจุบัน และเมื่อศึกษาเชิงสถิติย้อนหลังจากปีก่อนหน้าพบว่าสินค้าเกษตรแทบแทบทุกประเภทมักประสบปัญหาภาวะสินค้าล้นตลาดทำให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ เช่น วิกฤติการราคาข้าวเปลือกตกต่ำ เนื่องจากช่วงเวลาการจำหน่ายที่จำกัดและมีสินค้าทางการเกษตรออกมาสู่ตลาดพร้อมกัน รวมไปถึงการเน่าเสียของสินค้าเกษตรบางประเภทที่ไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน เช่น ผลิตภัณฑ์จากปลาหรือเนื้อสัตว์ โดยในเบื้องต้นเกษตรกรได้มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สินค้าทางการเกษตรของตนให้อยู่ในรูปแบบอื่นยกตัวอย่างเช่น การแปรรูปข้าวสารหรือมันแกวให้เป็นขนมขบเคี้ยว การทำปลาร้าทรงเครื่อง การทำแหนมปลา การทำปลาส้ม แต่เนื่องด้วยช่องทางการจัดจำหน่ายที่ค่อนข้างจำกัดทำให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่พัฒนาขึ้นไม่สามารถจำหน่ายได้อย่างแพร่หลายและสร้างรายได้ยังไม่เต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าและผลิตภัณฑ์จากปลาน้ำจืดซึ่งมีมากในจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ประเภทดังกล่าวต้องอาศัยการแปรรูปและมีรูปแบบการจัดเก็บที่จำเพาะและมีต้นทุนในการจัดเก็บสินค้า เช่น ต้องจัดซื้อตู้แช่ หรือน้ำแข็งเพื่อยืดอายุของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากสินค้าเน่าเสียได้ง่าย ทำให้ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายต้องการที่จะจำหน่ายสินค้าให้ทันเวลาซึ่งเกิดปัญหาเช่นเดียวกับสินค้าเกษตรประเภทอื่น ๆ อาจกล่าวได้ว่าปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่ายและช่วงเวลาการจำหน่ายที่จำกัดเป็นประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งซึ่งทำให้การจัดจำหน่ายมีปัญหา จากเหตุผลข้างต้นคณะผู้ดำเนินโครงการจึงมุ่งเน้นจัดทำช่องทางการจัดจำหน่ายในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งมีผู้ให้บริการจำนวนมากมาแก้ปัญหาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากปลาโดยอาศัยกรณีศึกษาในการการส่งเสริมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ๆจากประมงน้ำจืดในเขื่อนลำปาว ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์แบบหลายช่องทาง รวมไปถึงการให้ความรู้และอบรมทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในการใช้งานช่องทางการจำหน่ายแบบออนไลน์ของเกษตรกรในพื้นที่ ทั้งนี้หลังจากการสำรวจข้อมูลความต้องการเบื้องต้นของผู้จำหน่ายสินค้าเกษตรทำให้พบนัยสำคัญข้อหนึ่งคือ กลุ่มเกษตรกรเชื่อว่าหากเกษตรกรมีทักษะการใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะเป็นการช่วยส่งเสริมรายได้จากการจำหน่ายได้ดียิ่งขึ้น และเกษตรกรสนใจระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างมากและเชื่อว่าองค์ความรู้ที่จะได้สามารถแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีความกินดีอยู่ดีได้อย่างยั่งยืนเช่นกันจากการลงพื้นที่สํารวจกับสมาชิกสภาเทศบาลตําบลภูสิงห์พบว่าประชาชนในพื้นที่มีความสามารถในการทําประมงนํ้าจืดและได้ ผลผลิตปลานํ้าจืดเพื่อจําหน่ายเป็นจํานวนมากหากแต่การจําหน่ายปลานํ้าจืดยังมีข้อจํากัดอยู่ค่อนข้างมากเช่น ต้นทุนในการจัดเก็บที่ค่อนข้างสูงเช่น ต้องซื้อตู้แช่และนํ้าแข็งเนื่องจากผลผลิตเน่าเสียง่ายมาก ประชากรในพื้นที่จึงมีการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นด้วยวิธีการ ถนอมอาหาร เช่น การทําปลาส้ม การทําปลาตากแห้ง การทําปลาร้า การทําปลาร้าทรงเครื่อง ซึ่งได้สินค้าที่มีคุณภาพ มีความ ต้องการของตลาด หากแต่สินค้าบางชนิดยังซํ้ากับผู้ผลิตรายอื่นหรือเป็นสินคาที่ไม่มีจุดเด่นหรือจุดขายเพียงพอ ชุมชนจึงต้องการ องค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเช่น นํ้าพริกปลากรอบ นํ้าพริกปลาซิวแก้ว หรือข้าวเกรียบปลาเป็นต้น นอกจากนี้ประชากร ในพื้นที่ยังต้องการองค์ความรู้จากทั้งภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมทักษะการขายสินค้าในช่องทางออนไลน์ซึ่งประชากรในพื้นที่ ยังขาดทักษะอยู่มาก โดยกลุ่มประชากรในพื้นที่เชื่อว่าหากมีทักษะการใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และช่องทางการจัดจําหน่ายแบบออนไลน์ จะเป็นการช่วยส่งเสริมรายได้จากการจําหน่ายได้ดียิ่งขึ้นและเชื่อว์าองค์ความรู้ที่จะได้สามารถแก้ปัญหา ความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีความกินดีอยู่ดีได้อย่างยั่งยืนเช่นกัน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 สินค้าทางการเกษตร หมายถึง ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์อันเกิดจากการกสิกรรม การประมง การปศุสัตว์ หรือการป่าไม้ และผลพลอยได้ของผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาก่อนหน้า ทั้งนี้สินค้าทางการเกษตรจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่พึ่งพิงปัจจัยในการผลิตจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาโดยปัญหาหลักๆประกอบด้วย สินค้าเน่าเสียง่าย ปริมาณการผลิตแต่ละปีไม่แน่นอน ต้องพึ่งพาระยะเวลาตามฤดูกาล สินค้ามีความเหมาะสมในแต่ละที่แตกต่างกัน คุณภาพสินค้าเกษตรเปลี่ยนแปลงได้ง่าย จากเหตุปัจจัยดังกล่าวทำให้สินค้าการเกษตรประสบปัญหาด้านราคา เกษตรกรจึงมีการแปรรูปสินค้าเกษตรในลักษณะต่างๆ ทั้งนี้เพื่อทำให้สินค้าทางการเกษตรสามารถเก็บไว้จำหน่ายได้นานยกตัวอย่างเช่น การผลิตขนมขบเคี้ยวจากธัญพืชหรือผลไม้ อีกนัยหนึ่งการกระทำในลักษณะดังกล่าวถือเป็นรูปแบบการเพิ่มมูลค่าในการจัดจำหน่ายให้แก่สินค้าทางการเกษตร ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงด้านราคาไปในตัว ทั้งนี้จากสถิติซึ่งผ่านการสำรวจโดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของสินค้าทางการเกษตรมีอัตราการเติบโตขึ้นร้อยละ 4.6 ในปีพ.ศ. 2561 และจะเติบโตในอัตราที่ลดลงร้อยละ 2.5 – 3.5 ในปีพ.ศ. 2562 ซึ่งถือว่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

6.2 ช่องทางการจัดจำหน่าย คือ เส้นทางที่สินค้าในที่นี้หมายรวมไปถึงสินค้าทางการเกษตรมีการเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตไปยังปลายทางได้แก่ผู้บริโภค หรือ ลูกค้าอุตสาหกรรม รวมไปถึงคนกลางในกระบวนการซื้อขาย ทั้งนี้การใช้งานช่องทางการจัดจำหน่ายในปัจจุบันมีทั้งการซื้อขายกันโดยตรงซึ่งเป็นวิธีการซื้อขายแบบดั้งเดิม รวมไปถึงการซื้อขายผ่านช่องทางสาธารณะในลักษณะของระบบการซื้อขายผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากสำหรับการซื้อขายสินค้าในปัจจุบันสังเกตได้จากการแลกเปลี่ยนมูลค่าเงินกับสินค้าที่เอื้อให้มีการแลกเปลี่ยนและติดต่อสื่อสารกันผ่านทางช่องทางใหม่ๆ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงข้างต้นเนื่องมาจากโครงสร้างสาธารณูปโภคด้านโทรคมนาคมมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ สามารถใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา ซึ่งถือว่าเป็นช่องทางด้านการตลาดที่ก่อให้เกิดการซื้อขายในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

6.3 ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจหรือการดำเนินการค้าขายบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงข้อมูลสินค้าและบริการที่ต้องการซื้อขาย โดยระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะสามารถรับคำสั่งซื้อจากลูกค้าและผู้เยี่ยมชมสื่อนั้นๆ โดยท้ายที่สุดจะเกิดกระบวนการการชำระเงินและจัดเก็บหลักฐานธุรกรรมทางการเงินเฉกเช่นเดียวกับการซื้อขายทั่วไป ทั้งนี้หมายความรวมถึงสินค้าและบริการทุกประเภทที่กระทำการบนคอมพิวเตอร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
จากสถิติซึ่งผ่านการสำรวจโดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอ้างอิงข้อมูลจากประชากรในประเทศไทยพบว่ามูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีมูลค่าถึง 3,058,987.04 ล้านบาท ในปี พ.ศ.2561 ซึ่งถือว่าเติบโตกว่าปีก่อนหน้าถึงร้อยละ 8 โดยรูปแบบการค้าขายในลักษณะผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ซึ่งเป็นระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมที่สุดมีมูลค่า 949,121.61 ล้านบาท ซึ่งเติบโตขึ้นจากมูลค่า 812,612.68 ล้านบาทเมื่อเทียบในช่วงระยะเวลาเดียวกันในปี 2560 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.89 ทั้งนี้สถิติทั่วโลกมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.00 ซึ่งประเทศไทยมีอัตราเจริญเติบโตมากกว่ามาตรฐานถึงร้อยละ 8.89 ทั้งนี้จากสถิติจากการสำรวจข้างต้นพบว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติ

6.4 ผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์
ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดเว็บไซต์ที่ประชนชนทั่วไปสามารถสมัครสมาชิกเพื่อเปิดร้านค้าออนไลน์เป็นของตัวเองได้สะดวกและมีความรวดเร็วมากขึ้น ทั้งยังมีระบบจัดการข้อมูลการทำรายการธุรกรรมต่างๆที่ครบถ้วนอีกด้วยซึ่งการทำงานพื้นฐานของผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์เหล่านี้จะมีระบบบริการที่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกและลูกค้าโดยทั่วไป เว้นแต่สมาชิกมีการซื้อคุณสมบัติหรือกระบวนการที่ตนต้องการเพิ่มเติม เช่น ซื้อระบบบัญชี ระบบภาษีเพิ่มเติมเป็นต้น จากที่กล่าวไปข้างต้นสามารถกล่าวได้ว่าผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์ ทำให้บุคคลทั่วไปสามารถมีระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจรซึ่งสามารถใช้ฟังก์ชั่นพื้นฐานในการขายสินค้าและบริการของตนได้อย่างครบถ้วน
6.5 การใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยเกษตรกร ในปัจจุบันมีการส่งเสริมให้เกษตรกรนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจำหน่ายสินค้าเนื่องจากเล็งเห็นว่าระบบตลาดสินค้าเกษตรเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าสินค้าของประเทศ โดยมีการส่งเสริมระบบตลาดเกษตรออนไลน์ เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตร ประกาศราคากลางผ่านระบบออนไลน์ และพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยหน่วยงานรัฐบาลเอง ยกตัวอย่างเช่นระบบขายสินค้าเกษตรในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์agrimark.dit.go.th โดยกองส่งเสริมและบริหารระบบตลาด กรมการค้าภายใน เป็นต้น

6.6 ทักษะการรับรู้และใช้งานระบบดิจิทัลโดยเกษตรกร ทักษะการรับรู้และใช้งานดิจิทัล หรือ (Digital Literacy) คือ ความสามารถในการรับรู้ดิจิทัล เป็นทักษะของบุคคลในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเข้าถึงและการสื่อสารซึ่งกันและกัน รวมไปถึงใช้ในการจัดการ วิเคราะห์ประเมินผลสารสนเทศ ทั้งนี้เพื่อนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ความสามารถสำหรับทักษะการรับรู้และใช้งานดิจิทัล สามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ การใช้ การเข้าใจการสร้างสรรค์โดยเนื้อหาและทักษะการรับรู้และใช้งานระบบดิจิทัลทั้ง 3 ด้านจะมีความจำเป็นกับเกษตรกรผู้ที่ต้องการจำหน่ายสินค้าเกษตรของตนในลักษณะพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยรูปแบบการค้าขายผ่านทางผู้ให้บริการร้านค้าออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง

ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีผลิตภัณฑ์ที่สามารถลดข้อจำกัดในด้านการจัดเก็บและขนส่งสินค้าอย่างน้อยหนึ่งผลิตภัณฑ์ โดยประชาชนในพื้นที่ต้องเข้าใจกระบวนการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นใหม่อย่างเบ็ดเสร็จตั้งแต่เริ่มผลิตจนช่องทางการจัดจำหน่ายและสิงสินค้าไปยังต่างพื้นที่

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายแบบ ออนไลน์ และแบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความ นิยมในปัจจุบันและนํามาสู้รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทําให้ชุมชนสามารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีช่องทางการจัดจําหน่ายแบบออนไลน์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันเพิ่มขึ้น 3 แหล่ง เช่น เฟซบุ๊คมาร์เก็ตเพลซ เว็บขายดีดอมคอม เว็บไซต์เทพช็อป ลาซาด้า เป็นต้น

0.00
3 เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงนํ้าจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่

ประชากรในเขตพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการใช้ช่องทางการจําหน่ายแบบออนไลน์และ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดจําหน่ายซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบันได้ด้วยตนเอง นํามาสู่คุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน มีความพึงพอใจในโครงการอาสาประชารัฐและให้ความร่วมมือในการทํากิจกรรมส่ง เสริมวิสาหกิจชุมชนในแง่ของการแก้ปัญหาความยากจนและการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจเชิงพื้นที่และความต้องการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง 24 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนในเขตพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญและทราบถึงโอกาสในการสร้างรายได้ด้วยการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการวางแผนในการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชียลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนพร้อมกับรับทราบประเด็นปัญหาและความต้องการในการลงพื้นที่จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูลภาคปฏิบัติ 6 ชั้วโมง x 300 บาท x 1 ครั้ง x 2 คน รวม 3,600 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนภาคปฏิบัตินักศึกษา(6 ชั่วโมง X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน )

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

(1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ)

2 ครั้ง 360 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

แบตเตอรี่สำรองกล้องถ่ายภาพ (1 อัน X 1,500 บาท) 1,500.00

1 ชิ้น 1,500 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชิ้น 550 1 550
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00

1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00

1 ชิ้น 1,050 1 1,050
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00

1 ชิ้น 200 1 200
ค่าวัสดุสำนักงาน

เครื่องเหลาดินสอ (2 อัน X 250 บาท) 500.00

1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มเอกสาร (3 อัน X 240 บาท) 720.00

3 ชิ้น 240 1 720
รวมค่าใช้จ่าย 13,040

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ทำความเข้าใจกับชุมชนท่าเรือภูสิงห์ และศึกษาบริบทชุมชน ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ทำความเข้าใจกับชุมชนท่าเรือภูสิงห์ และศึกษาบริบทชุมชน ตลอดจนวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชนท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
  2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายแบบ ออนไลน์ และแบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความ นิยมในปัจจุบันและนํามาสู้รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทําให้ชุมชนสามารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์แบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความนิยมในปัจจุบันและนำมาสู่รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทำให้ชุมชนมารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

(6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X1 คน) 3,600.00

1 คน 600 6 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน) 7,200.00

4 คน 300 6 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน)3,600.00

2 คน 300 6 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน)1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท)

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 เที่ยว 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม (1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

2 เที่ยว 180 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชุด 550 1 550
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00

1 ชุด 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00

3 คน 350 1 1,050
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00

40 ชิ้น 5 1 200
ค่าตอบแทนวิทยากร

แฟ้มเอกสาร (3 อัน X 240 บาท) 720.00

3 ชิ้น 240 1 720
รวมค่าใช้จ่าย 56,800

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
  2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายแบบ ออนไลน์ และแบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความ นิยมในปัจจุบันและนํามาสู้รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทําให้ชุมชนสามารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
  3. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงนํ้าจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการจริงกับคณะทำงานมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
อบรมเชิงปฏิบัติการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติจริงและร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานสังกัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X1 คน 3,600.00

1 ครั้ง 600 6 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน) 7,200.00

1 ครั้ง 1,800 4 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน 3,600.00

2 ครั้ง 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน) 7,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 คน 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 คน 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม(40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชุด 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 57,830

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาส้ม ปลาแดดเดียว ปลาแห้ง ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาส้ม ปลาแดดเดียว ปลาแห้ง ฯลฯ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย(6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน) 7,200.00

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานเก็บข้อมูล ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คน) 3,600.00

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน) 1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าเช่ารถ

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม(40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปลา (600 กก.x กก.ละ 80 บาท) 48,000.00

600 ครั้ง 80 1 48,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เครื่องปรุงรส ฯลฯ (1x5,000) 5,000.00

1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุและอุกรณ์ ในขบวนการผลิตอื่นฯ (1x3,000) 3,000.00

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ภาชะนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ในขบวนการผลิต (1x2,000) 2,000.00

1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชิ้น 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 115,930

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาร้าทรงเครื่อง น้ำพริกปลาชิวแก้ว ข้าวเกรียบปลา ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาร้าทรงเครื่อง น้ำพริกปลาชิวแก้ว ข้าวเกรียบปลา ฯลฯ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
  2. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงนํ้าจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาร้าทรงเครื่อง น้ำพริกปลาชิวแก้ว ข้าวเกรียบปลา ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน) 7,200.00

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงาน ภาคปฏิบัติ (10 คนx120 บาท X 1 ครั้ง ) 1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 2 คนX) 3,600.00

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า ( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X1คันX3,500 บาท) 3,500.00

1 ครั้ง 3,500 1 3,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม ( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าปลา (525 กก.x กก.ละ 80 บาท) 42,000.00

525 คน 80 1 42,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าเครื่องปรุงรส ฯลฯ (1x6,000) 6,000.00

1 ชิ้น 6,000 1 6,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุและอุกรณ์ ในขบวนการผลิตอื่นฯ (1x4,000) 4,000.00

1 ชิ้น 4,000 1 4,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าภาชะนะและบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้ในขบวนการผลิต(1x2,000) 2,000.00

1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าหมึกเลเซอร์ขาวดำ (1 ตลับ X 2,500 บาท) 2,500.00

1 ชิ้น 2,500 1 2,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่ากระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชุด 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 115,430

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อผลิตภัณฑ์ และแนวทางการตลาดออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 6 อบรมเชิงปฏิบัติการการบรรจุหีบห่อผลิตภัณฑ์ และแนวทางการตลาดออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากปลาน้ำจืดที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการขนส่งสินค้า และระยะเวลาการจัดเก็บที่มีจำกัดซึ่งเป็นปัญหาหลักในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์จากการทำประมงน้ำจืดในพื้นที่ ชุมชนบ้านท่าเรือ ตำบลภูสิงห์ โดยอาศัยการอบรมเชิงปฏิบัติงานจริง
  2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายแบบ ออนไลน์ และแบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความ นิยมในปัจจุบันและนํามาสู้รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทําให้ชุมชนสามารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
  3. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงนํ้าจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน 7,200.00

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงานภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 1,800.00

6 คน 300 1 1,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน)1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม ( 1 ครั้ง X 3 คันX3,500 บาท) 10,500.00

3 ครั้ง 3,500 1 10,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม + ห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม(40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

2 ครั้ง 180 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร(1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชิ้น 550 1 550
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษปรู๊ฟ (100 แผ่น X 5 บาท) 500.00

100 ชิ้น 5 1 500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษชาร์สีเทา(50 แผ่น X25 บาท) 1,250.00

50 ชิ้น 25 1 1,250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษชาร์สีขาว(50 แผ่น X30 บาท) 1,500.00

50 ชิ้น 30 1 1,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เชือกรัด (5 ม้วน X 20 บาท) 100.00

5 ชิ้น 20 1 100
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กาวลาเท็กร (3 ขาว X 120 บาท) 360.00

3 ชิ้น 120 1 360
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กาวน้ำ (5 ขวด X110 บาท) 550.00

5 ชิ้น 110 1 550
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ไม้บรรทัดเหล็ก (5 อัน X 80 บาท) 400.00

5 ชิ้น 80 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายวัด (5 อัน X 50 บาท) 250.00

5 ชิ้น 50 1 250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ผ้าพื้น (50 เมตร x 70 บาท) 3,500.00

50 ชิ้น 70 1 3,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ริบบิ้น (20 ม้วน X 65 บาท) 1,300.00

20 ชิ้น 65 1 1,300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาลูกลื่น (3 กล่อง X 350 บาท) 1,050.00

3 ชิ้น 350 1 1,050
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ดินสอ (40 แท่ง X 5 บาท) 200.00

40 ชิ้น 5 1 200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เครื่องเหลาดินสอ (1 อัน X 250 บาท) 250.00

1 ชิ้น 250 1 250
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักวิทยากร 1 คืน 600 บาท

1 ครั้ง 600 1 600
รวมค่าใช้จ่าย 70,840

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 7 อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่ที่ร่วมโครงการมีองค์ความรู้ในการใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายแบบ ออนไลน์ และแบบหลายช่องทางรวมไปถึงการสร้างเนื้อหาประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชี่ยลมีเดียซึ่งมีความ นิยมในปัจจุบันและนํามาสู้รายได้ของครัวเรือนที่มากขึ้นทําให้ชุมชนสามารถมาพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
  2. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรด้านประมงนํ้าจืด ส่งเสริมสัมมาชีพในท้องถิ่นและด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย (6 ชั่วโมง X 600 บาท X 1 ครั้ง X2 คน 7,200.00

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ (6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 4 คน 7,200.00

4 คน 1,800 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนจ้างปฏิบัติงาน ภาคปฏิบัติ(6 ชั่วโมง X 300 บาท X 1 ครั้ง X 1 คน) 1,800.00

1 คน 1,800 1 1,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนักศึกษา ภาคปฏิบัติ ( 120 บาท X 1 ครั้ง X 10 คน) 1,200.00

10 คน 120 1 1,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้คณะทำงาน ( 1 ครั้ง X2 คันX3,500 บาท) 7,000.00

2 คน 3,500 1 7,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม ( 55 คน X 1 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 150 บาท) 8,250.00

55 คน 150 1 8,250
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม( 55 คน X 2 มื้อ (ครั้งละ 1 วัน) X 35 บาท) 3,850.00

55 คน 70 1 3,850
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างถ่ายเอกสารประกอบการอบรม ( 40 ชุด X 1 ครั้ง X 50 บาท) 2,000.00

40 ชุด 50 1 2,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำไวนิล ขนาด 2.5 X 3.5 เมตร ( 1 อัน X 1,400 บาท) 1,400.00

1 ชิ้น 1,400 1 1,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้า( 5 ชุด X 1 ครั้ง X 200 บาท) 1,000.00

5 ชุด 200 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจ้างทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ( 10 ชุด X 250 บาท) 2,500.00

10 ชุด 250 1 2,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมาบริการรถตู้รับส่งผู้เข้าอบรม( 1 ครั้ง X 3 คันX3,500 บาท) 10,500.00

3 ครั้ง 3,500 1 10,500
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าห้องประชุม + ห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ( 1 ครั้ง X 2,000 บาท) 2,000.00

1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจ้างทำกระเป๋าบรรจุเอกสารการอบรม( 40 ใบ X 150 บาท) 6,000.00

40 ชิ้น 150 1 6,000
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พักวิทยากร (1 ห้อง X 1 ครั้ง X 600 บาท) 600.00

1 ครั้ง 600 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม (40 คน X 1 ครั้ง (ครั้งละ 1วัน) X 150 บาท) 6,000.00

40 คน 150 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลเพื่อประสานงาน(1 ครั้งX 1 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 360.00

1 ครั้ง 360 1 360
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยน้ำมันรถยนต์ส่วนบุคคลวิทยากร (1 ครั้งX 2 คัน X 4 บาท X 45 กม.X2 (ไป- กลับ) 720.00

1 ครั้ง 720 1 720
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดาษ A4 (1 กล่อง x 550) 550.00

1 ชิ้น 550 1 550
รวมค่าใช้จ่าย 70,130

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 111,920.00 8,400.00 201,900.00 177,780.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 22.38% 1.68% 40.38% 35.56% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ผลิตภัณฑ์จากปลาที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อยจำนวน 1 ชนิดและมี
ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 แหล่ง
นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเองและบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นในลักษณะสหสาขาวิชาเพื่อการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพื้นที่โดยอาศัยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง และได้ผลงานออกมาเป็นชิ้นงานที่สมบูรณ์ในรายวิชาที่มีการลงทะเบียนเรียน
ผลลัพธ์ (Outcome) ประชากรในเขตพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการใช้ช่องทางการจำหน่ายแบบออนไลน์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่ายซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบันได้ด้วยตนเอง นำมาสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเองและบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นในลักษณะสหสาขาวิชาเพื่อการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพื้นที่โดยอาศัยการปฏิบัติงานในพื้นที่จริงและนักศึกษาได้ทราบแนวทางและวิธีการคิดเพื่อการประกอบอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้จากทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นของตนผ่านรายวิชาที่เข้าร่วมโครงการอาสาประชารัฐ
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย chapvit chapvit เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562 10:13 น.