การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ในพื้นที่ตำบลไผ่ จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ในพื้นที่ตำบลไผ่ จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ในพื้นที่ตำบลไผ่ จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทศบาลตำบลไผ่บ้านคำเม็ก ตำบลไผ่นายศุภกิจเศิกศิริสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เลขที่ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาใสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์0802453546นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
1. นายทรงศักดิ์ จันทร์สะอาด เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1461300175979
2. นายตะวัน สินทรัพย์ เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1469900424438
3. นายวายุภักษ์ พิณรัตน์ เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน1461300178633
4. นายพันธกานต์อินทะพาน เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1103100550487
นักศึกษา สาขาวิชาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. นายอาคม หาสุขเลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน1730301198265
6. นายจักรกริช ศรีวิพันธ์ เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1461300162362
นักศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
7. นางสาวเอมิกา ศรีเสน เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1430300472998
8. นางสาวรัตนา พลกล้า เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1430300158653
นักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ
9.นายชัชวาลย์ แจ่มเสียง เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1469900431299
10.น.ส.วรรณพร จำเริญบุญ เลขที่บัตรประจำตัวประชาชาชน 1469900444269
อาจารย์
11. อาจารย์ศุภกิจเศิกศิริ ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
12. อาจารย์ ไทยทัศน์ สุดสวนสี ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
13. อาจารย์ ดร. นรงค์ วิชาผา ตำแหน่งหัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
14. อาจารย์วรรณรพ ขันธิรัตน์ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
15. อาจารย์ อามิณฑ์ หล้าวงศ์ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
16. อาจารย์ราชันย์วงศ์ทวี ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
17. อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนุชา ศรีบุรัมย์ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
18. อาจารย์ประพนธ์เนียมสาตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
19. อาจารย์มัณฑนาทองสุพลตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
20. อาจารย์ ผศ.อนงค์นาถ โรจนกร วังคำหาญตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
21. อาจารย์ เสาวลักษณ์ จิตติมงคล ตำแหน่งหัวหน้าสาขาวิชาบริหารธุรกิจ
22. กลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ บ้านคำเม็ก ตำบลไผ่ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัด กาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ไผ่

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลไผ่ อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันมีหมู่บ้านทั้งหมด 9 หมู่บ้าน และมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตเทศบาลตำบลนาจารย์ คือพื้นที่บ้านโนนสะอาด ม. 5 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง สลับที่ราบลุ่ม เป็นที่ดอนเหมาะสำหรับการทำไร่ มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกันได้สะดวกทุกหมู่บ้าน
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลนาจารย์ และ ตำบลขมิ้น อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลโพนทอง อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลม่วงนา กิ่งอำเภอดอนจาน จ.กาฬสินธุ์ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลหนองกุง อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริมหัตถกรรมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ เพื่อยกระดับการผลิตตามมาตรฐานGMP ลดการปนเปื้อนและมีการอบแห้งที่ปลอดภัย เพื่อให้ข้าวเปลือกหลังเก็บเกี่ยวมีความสะอาดปัจจุบันกลุ่มผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ บ้านคำเม็ก ตำบลไผ่ จังหวัดกาฬสินธุ์ผลิตภัณฑ์ได้รับ คะแนน OTOP 3 ดาว ในปี2559 โครงการนี้จึงทำเพื่อยกระดับมาตรฐาน GMP การผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษในกระบวนการตากแห้งข้าวเปลือกปลอดภัยลดการปนเปื้อน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นพลังงานที่มีศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถแยกออกเป็น 3 รูปแบบคือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อนการเลือกใช้พาราโบลาโดม ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ทำการวิจัยและพัฒนาระบบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับอบแห้งเกษตรต่างๆหลายแบบ ซึ่งมีศักยภาพในการนำไปใช้งานจริงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบอบแห้งแบบเรือนกระจก ซึ่งสะดวกต่อการใช้งานให้ ส่วนของหลังคาทำจากวัสดุใสเป็นแผ่นโพลีคาร์บอเนตชนิดเคลือบสารป้องกันแสงยูวียังเป็นชนวนความร้อนที่ดี น้ำหนักเบา ดัดโค้งได้ง่ายมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า 10 ปี ปิดบนหลังคาโครงโลหะที่ตั้งอยู่บนพื้นซีเมนต์ซึ่งการใช้แผ่นโพลีคาร์บอเนตในการทำหลังคาทำให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านได้ดี แต่รังสีความร้อนที่แผ่จากภายในโรงอบแห้งจะผ่านออกมาได้น้อย จึงทำให้เกิดผลเรือนกระจก (Green House Effect) ความร้อนส่วนใหญ่จึงถูกกักเก็บอยู่ภายในโรงอบ จึงเหมาะสมในการตากข้าวเปลือกในโรงเรือนเพื่อป้องกันการปนเปื้อน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตข้าวกล้องให้พร้อมเข้าสู่มาตรฐานสินค้า GMP

เชิงปริมาณ
๑. กลุ่มผู้ประกอบการผลิตได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับข้าวกล้องปลอดสารพิษตามมาตรฐานสินค้า GMPเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ๒. กลุ่มผู้ประกอบการผลิตได้รับการถ่ายทอดความรู้การผลิตและบรรจุข้าวกล้องปลอดสารพิษในบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

1.00 1.00
2 เพื่อสร้างระบบการตากข้าวที่ปลอดการปนเปื้อนตามมาตรฐานสินค้า GMP

เชิงปริมาณ
๑. กลุ่มผู้ประกอบการผลิตได้โรงตากข้าวป้องการปนเปื้อน 1 โรง
๒. กลุ่มผู้ประกอบการผลิต ผลิตข้าวปลอดสารพิษได้ปริมาณมากขึ้นจากเดิมร้อยละ 80

1.00 1.00
3 เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษและเพิ่มช่องทางการตลาดของข้าวกล้องปลอดสารพิษ

เชิงปริมาณ ๑. กลุ่มผู้ประกอบการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษในบ้านคำเม็ก ตำบลไผ่ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีการพัฒนารูปแบบของฉลากและบรรจุภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากเดิมเป็น 3 รูปแบบ

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
น.ศ. สาขาบริหารธุรกิจ 2
น.ศ. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม 2
น.ศ. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2
น.ศ. หลักสูตร อส.บ สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ 4
ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องปลอดสารพิษ 15

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตข้าวกล้องให้พร้อมเข้าสู่มาตรฐานสินค้า GMP
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.นักศึกษาลงพื้นที่ สำรวจกิจการและขั้นตอนการผลิตแบบดั้งเดิมของวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ
2.อาจารย์นิเทศลงพื้นที่กำกับการเก็บข้อมูลพร้อมกับนักศึกษา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

จำนวนนักศึกษา 10 คน ลงพื้นที่ 15 วัน

10 คน 120 15 18,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศควบคุมโครงการ

11 คน 180 8 15,840
ค่าอาหาร

ค่าอาหารผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเกษตรกร

15 คน 100 15 22,500
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พักของนักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ

2 ชุด 600 15 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 3 เที่ยว 500 3 4,500
ค่าถ่ายเอกสาร

เอกสารฝึกอบรม

15 ชุด 50 1 750
ค่าวัสดุสำนักงาน

แผ่นป้าย

4 ชิ้น 215 1 860
รวมค่าใช้จ่าย 80,450

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ตามมาตรฐาน GMP

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ตามมาตรฐาน GMP
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างระบบการตากข้าวที่ปลอดการปนเปื้อนตามมาตรฐานสินค้า GMP
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษ ตามมาตรฐาน GMP
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
กลุ่มเกษตรกรมีระบบการตากข้าวที่ปลอดการปนเปื้อน 1 โรง
กลุ่มเกษตรกรมีระบบการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษที่มีประสิทธภาพเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 80
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

จำนวน 5คนx240บาทx5ชั่วโมง

5 คน 1,200 3 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 10 เที่ยว 500 5 25,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

1.วัสดุแผ่นโพลีคาร์บอเนต หนา 6 มม.ขนาด 2.10 x6 เมตร ชนิดใส เคลือบสารป้องกัน UV ไม่น้อยกว่า 30ไมครอน 2. วัสดุรางอะลูมิเนียม ตัว U ยาว 6 เมตร 3. ยางรีดน้ำ ยาว 6 เมตร 4. เซลแสงอาทิตย์พร้อมอุปกรณ์ ขนาด 50w 5. ใบพัดลมพลาสติกขนาด 8 นิ้ว 6. หัววัดอุณหภูมิ 7. หัววัดความชื้น 8.เหล็กกล้าไร้สนิม 304 สำหรับงานโครงสร้าง 1นิ้วx2นิ้วx2.3 มม. 9. คอนกรีดเทพื้น ขนาด 10x8x0.1 ตารางเมตร 10.กล่องเหล็กพร้อมอุปกรณ์ไฟฟ้า 11.สายไฟ 12.ขดลวดให้ความร้อน 1000 w 13. เหล็กกล้าไร้สนิม304 ชนิดแผ่นสำหรับปล่องระบายอากาศ 14.ตาข่ายเหล็กกล้าไร้สนิม 304 15. ล้อยางโพลียูรีเทน 16. แผ่นบานเกล็ดอะลูมิเนียม ขนาด 1.5x2.5 เมตร 17. ท่อเหล็กกล้าไร้สนิม 304 18. หินขัด 19. แผ่นตะแกรงเหล็กกล้าไร้สนิม 20. ใบพัดหมุนกรงกระรอก 21. ท่อเหล็ก 22. กล่องเหล็กพร้อมอุปกรณ์ไฟฟ้า 23. ลังพลาสติก 24. คอนกรีต 4x4x0.1 ตารางเมตร 25. เสาปูน 3 เมตร 26. เหล็กกล้าโครงหลังคา ท่อกลม 2นิ้ว หนา 2.3 มม ดัดโค้งตามแบบ 27. แผ่นสังกะสี 28. เหล็กตาข่ายปูพื้น 15นิ้ว x15 นิ้ว 29. แบตเตอร์รี่ 120 Amh 30. ใบพัดลม 6นิ้ว 31. แผ่นกระจกประตูบานเลื่อน หนา 6 มม. ขนาด0.9x2 เมตร 32. เหล็ก LG 1x2x2.3 33. เพลทเหล็กขนาด 50 x100x 9 มม.

1 ชุด 300,000 1 300,000
รวมค่าใช้จ่าย 343,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมด้านการขายด้วยการออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมด้านการขายด้วยการออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษและเพิ่มช่องทางการตลาดของข้าวกล้องปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมด้านการขายด้วยการออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
กลุ่มเกษตรกรได้ฉลากบรรจุภัณฑ์ 3 รูปแบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

3 คน x240 บาทx 5 ชั่วโมง

3 คน 1,200 1 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 เที่ยว 500 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าสติกเกอร์ฉลากติดบรรจุภัณฑ์

1 ชุด 2,400 1 2,400
ค่าอาหาร 4 คน 120 1 480
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

1. โครงเหล็ก 2. ขดลวดให้ความร้อน 3. กล่องเหล็กพร้อมอุปกรณ์ไฟฟ้า 4. หัววัดอุณหภูมิ

1 ชุด 18,070 1 18,070
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถานศึกษา ร้อยละ 10 ของงบประมาณที่เสนอขอ

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 76,550

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 105,440.00 73,230.00 321,330.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 21.09% 14.65% 64.27% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) กลุ่มผู้ประกอบการข้าวปลอดสารพิษที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตมาตรฐาน GMP จำนวน ๑๕ ราย - เรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวปลอดสารพิษตามมาตรฐาน GMP
- สร้างโรงตากแห้งในกระบวนการผลิตข้าวปลอดสารพิษ
ผลลัพธ์ (Outcome) กระบวนการผลิตข้าวกล้องปลอดสารพิษของกลุ่มผู้ประกอบการ ปลอดการปนเปื้อนสารพิษตลอดกระบวนการผลิต การนำความรู้ภาคทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง
1.นักศึกษาหลักสูตร อส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ เทียบได้ 4 หน่วยกิต
บูรณาการกับวิชา
-เตรียมโครงงานอุตสาหการ จำนวน 1 หน่วยกิต
- การจัดการอุตสาหกรรม จำนวน 3 หน่วยกิต
2.นักศึกษาหลักสูตร วท.บ.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เทียบได้ 3 หน่วยกิต คือ
บูรณาการกับวิชา
- เคมีวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
3. นักศึกษาหลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม สาขาวิชาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์เทียบได้ 9 หน่วยกิต
บูรณาการกับวิชา
- กราฟิกสารสนเทศ จำนวน 3 หน่วยกิต
- ออกแบบผลิตภัณฑ์ 4 จำนวน 3 หน่วยกิต
- กราฟิกสารสนเทศ จำนวน 3 หน่วยกิต
4. นักศึกษาหลักสูตรบริหารศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจเทียบได้ 3 หน่วยกิต
บูรณาการกับวิชา
- การบริหารโครงการ จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ
- ผู้บริโภคมั่นใจในสินค้าปลอดปนเปื้อนสารพิษตลอดกระบวนการผลิต
- เพิ่มโอการในการขายสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
- เพิ่มรายได้ภายในครัวเรือนร้อยละ 10
- องค์ความรู้ที่เกิดจากการทำวิจัย
- ทักษะการปฏิบัติเชิงพื้นที่
- แนวทางต่อยอดงานวิจัย
นำเข้าสู่ระบบโดย supakit supakit เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562 09:09 น.