การประเมินเพื่อเสริมพลังอำนาจสำหรับเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การประเมินเพื่อเสริมพลังอำนาจสำหรับเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การประเมินเพื่อเสริมพลังอำนาจสำหรับเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.ซอฟียะห์ นิมะสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่074-282900

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ คำม่วง

3. รายละเอียดชุมชน

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กองทุนตำบล) ถือเป็นกลไกสำคัญในระดับตำบลที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่หรือสุขภาพชุมชนบนพื้นฐานของความร่วมมือและการร่วมบริหารจัดการระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล ประชาชน และหน่วยงานสาธารณสุขมากขึ้นในระหว่างปี พ.ศ. 2560 - 2562 กองทุนตำบลในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 10 กองทุน ได้แก่ 2 กองทุนฯ จากอำเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ คือ เทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ และ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ และ 8 กองทุนฯ จากอำเภอคำม่วง ประกอบด้วย อบต.ดินจี่ อบต.นาบอน อบต.โพน อบต.ทุ่งคลอง อบต.เนินยาง ทต.นาทัน ทต.โพน และ ทต.คำม่วง ได้เข้าร่วมโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ดำเนินงานโดยสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.ม.อ.)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้รับแหล่งทุนสนับสนุนการดำเนินงานจาก สสส. ในการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นต่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดทั้ง 12 เขตทั้งประเทศเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ ในการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่องและยั่งยืนเสริมพลังอำนาจสำหรับเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อโดยมีเป้าหมายให้กองทุนสามารถเป็นกลไกที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดได้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด
2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด
3. แนวทางการดำเนินงานเพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด (เช่น กลุ่มเป้าหมาย กลวิธีดำเนินงาน การประเมินผล)
4. ความรู้ในการพัฒนาโครงการ การติดตามและการประเมินผล
5. รูปแบบการติดตามแบบเสริมพลังอำนาจ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อติดตามประเมินแบบเสริมพลังอำนาจต่อการเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
  1. มีการทำแผน และโครงการ เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจาก สุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด อย่างต่อเนื่อง
  2. มีการอนุมัติงบประมาณ ในการสนับสนุนโครงการเพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรายาสูบและยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
  3. มีเครือข่ายดำเนินงาน ที่มาจากประชาชนในพื้นที่ร่วมขับเคลื่อนผลักดัน หรือ เฝ้าระวังต่อสถานการณ์ปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติด
  4. มีระบบติดตามและตรวจสอบ การใช้งบประมาณที่เหมาะสม
  5. มีรูปแบบการดำเนินงาน ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ปัญหาและบริบทพื้นที่
  6. มีกลไก องค์ความรู้ และนวัตกรรม เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจาก สุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด ในระดับพื้นที่
  7. มีการขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน เช่น เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือ สามารถเป็นกองทุนพี่เลี้ยงให้กับกองทุนในตำบลอื่น ๆ
0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพ 90
นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การเยี่ยมตรวจ ติดตาม และประเมินผลในแต่ละกองทุน

ชื่อกิจกรรม
การเยี่ยมตรวจ ติดตาม และประเมินผลในแต่ละกองทุน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อติดตามประเมินแบบเสริมพลังอำนาจต่อการเพิ่มขีดความสามารถของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1. การเยี่ยมตรวจ ติดตาม และประเมินผลในกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชน อำเภอเมือง และ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 10 กองทุน ดังต่อไปนี้
- กองทุนมีการทำแผน และโครงการ เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจาก สุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด อย่างต่อเนื่อง
- การอนุมัติงบประมาณ ในการสนับสนุนโครงการเพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรายาสูบและยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
- มีเครือข่ายดำเนินงาน ที่มาจากประชาชนในพื้นที่ร่วมขับเคลื่อนผลักดัน หรือ เฝ้าระวังต่อสถานการณ์ปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติด
- มีระบบติดตามและตรวจสอบ การใช้งบประมาณที่เหมาะสม
- มีรูปแบบการดำเนินงาน ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ปัญหาและบริบทพื้นที่
- มีกลไก องค์ความรู้ และนวัตกรรม เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจาก สุรา ยาสูบ และ ยาเสพติด ในระดับพื้นที่
- มีการขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน เช่น เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือ สามารถเป็นกองทุนพี่เลี้ยงให้กับกองทุนในตำบลอื่น ๆ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 24 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. มีการทำแผน และโครงการ
2. มีการอนุมัติงบประมาณ ในการสนับสนุนโครงการ
3. มีเครือข่ายดำเนินงาน
4. มีระบบติดตามและตรวจสอบการใช้งบประมาณ
5. มีรูปแบบการดำเนินงานของกองทุน
6. มีกลไก องค์ความรู้ และนวัตกรรม เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ
7. มีการขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน
8. มีแหล่งฝึกงานของนักศึกษาในระดับปริญญาตรีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน

ผลลัพธ์
1. ปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชนอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ได้รับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
2. เงินกองทุนได้ถูกนำมาใช้เพื่อการสนับสนุนด้านแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างสมเหตุสมผล และลดการมีเงินสะสมในระบบของกองทุน
3. มีการสานต่อ/สื่อสารภายในเครือข่ายเพื่อร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในพื้นที่
4. คณะกรรมการกองทุนฯ มีการดำเนินงานที่เป็นขั้นตอน โปร่งใส และตรวจสอบได้
5. ผู้รับงบประมานสนับสนุนจากกองทุนฯ ดำเนินกิจกรรมโดยใช้งบประมาณที่เหมาะสม
6. กองทุนฯ มีการทำงานที่เป็นระบบ คำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผลลัพธ์การดำเนินงาน
7. เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
8. ในกองทุนฯ นำร่อง 10 กองทุนฯ เป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ จากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดส่งผลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานจากกองทุนฯ อื่น ๆ
9. เกิดกระบวนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา และชุมชน (Social Engagement) เพื่อการแก้ปัญหาปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 50 5 25,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 1,500 5 75,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 10 คน 200 5 10,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 250 30 75,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารเที่ยง [100 บาท x 50 คน x 1 มื้อ x 5 ครั้ง = 25,000.00 บาท]

50 คน 100 5 25,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง [25 บาท x 50 คน x 2 มื้อ x 5 ครั้ง = 12,500.00 บาท]

50 คน 50 5 12,500
ค่าเช่าสถานที่ 1 ชุด 4,000 5 20,000
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่าเหมารถยนต์จากสนามบินขอนแก่นไปยังจังหวัดกาฬสินธุ์ 3,500 บาท/วัน x 2 วัน x 5 ครั้ง = 35,000.00 บาท]

2 เที่ยว 3,500 5 35,000
ค่าที่พักตามจริง 3 ชุด 1,500 5 22,500
ค่าพาหนะเดินทาง - เครื่องบิน

ค่าเดินทางโดยสารเครื่องบินชั้นประหยัดของคณะทำงานของสจรส.มอ. [1,500 บาท x 5 คน X 2 เที่ยว x 5 ครั้ง = 75,000.00 บาท]

5 คน 3,000 5 75,000
รวมค่าใช้จ่าย 375,000

กิจกรรมที่ 2 การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    1. มีการขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน
    2. มีแหล่งฝึกงานของนักศึกษาในระดับปริญญาตรีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน

    ผลลัพธ์
    1. กองทุนฯ นำร่อง 10 กองทุนฯ เป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ จากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดส่งผลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานจากกองทุนฯ อื่น ๆ
    2. เกิดกระบวนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา และชุมชน (Social Engagement) เพื่อการแก้ปัญหาปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 50 1 5,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,500 1 6,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 1 20,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 250 10 25,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารเที่ยง [100 บาท x 100 คน x 1 มื้อ = 10,000.00 บาท]

    100 คน 100 1 10,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่าง [25 บาท x 100 คน x 2 มื้อ = 5,000.00 บาท]

    100 คน 50 1 5,000
    ค่าเช่าสถานที่ 1 ชุด 5,000 1 5,000
    ค่าเช่ารถ

    ค่าเช่าเหมารถยนต์จากสนามบินขอนแก่นไปยังจังหวัดกาฬสินธุ์ 3,500 บาท/วัน x 2 วัน = 7,000.00 บาท]

    2 เที่ยว 3,500 1 7,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พักของคณะทำงานของสจรส.มอ. 1 คืน [1,500 บาท/ห้อง x 3 ห้อง = 4,500 บาท]

    3 ชุด 1,500 1 4,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - เครื่องบิน

    ค่าเดินทางโดยสารเครื่องบินชั้นประหยัดของคณะทำงานของสจรส.มอ. [1,500 บาท x 5 คน X 2 เที่ยว = 15,000.00 บาท]

    5 คน 3,000 1 15,000
    อื่น ๆ

    ค่าจ้างทำสื่อเผยแพร่ [2,250 บาท/กองทุน x 10 กองทุน = 22,500 บาท]

    10 ชุด 2,250 1 22,500
    รวมค่าใช้จ่าย 125,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 181,000.00 296,500.00 22,500.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 36.20% 59.30% 4.50% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) 1. มีการทำแผน และโครงการ
    2. มีการอนุมัติงบประมาณ ในการสนับสนุนโครงการ
    3. มีเครือข่ายดำเนินงาน
    4. มีระบบติดตามและตรวจสอบการใช้งบประมาณ
    5. มีรูปแบบการดำเนินงานของกองทุน
    6. มีกลไก องค์ความรู้ และนวัตกรรม เพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ
    7. มีการขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน
    มีแหล่งฝึกงานของนักศึกษาในระดับปริญญาตรีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน
    ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชนอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ได้รับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
    2. เงินกองทุนได้ถูกนำมาใช้เพื่อการสนับสนุนด้านแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างสมเหตุสมผล และลดการมีเงินสะสมในระบบของกองทุน
    3. มีการสานต่อ/สื่อสารภายในเครือข่ายเพื่อร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในพื้นที่
    4. คณะกรรมการกองทุนฯ มีการดำเนินงานที่เป็นขั้นตอน โปร่งใส และตรวจสอบได้
    5. ผู้รับงบประมานสนับสนุนจากกองทุนฯ ดำเนินกิจกรรมโดยใช้งบประมาณที่เหมาะสม
    6. กองทุนฯ มีการทำงานที่เป็นระบบ คำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผลลัพธ์การดำเนินงาน
    7. เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
    8. ในกองทุนฯ นำร่อง 10 กองทุนฯ เป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ จากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดส่งผลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานจากกองทุนฯ อื่น ๆ
    เกิดกระบวนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา และชุมชน (Social Engagement) เพื่อการแก้ปัญหาปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
    ผลกระทบ (Impact) 1. ลดจำนวนนักดื่ม/นักสูบ/นักเสพรายใหม่ และรายเก่าได้รับการบำบัด หรือ สามารถลด ละ เลิกได้
    2. ปัญหาคุณภาพชีวิต ปัญหาสุขภาพและปัญหาทางสังคม รวมทั้งภัยความมั่นคง ในอำเภอเมืองและอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รับการแก้ไขและป้องกัน
    3. การบริหารเงินของกองทุนมีประสิทธิภาพ (ไม่มีเงินค้างทบสะสม) ทำให้ได้รับการสนับสนุนจากสปสช.อย่างต่อเนื่อง
    4. ปัญหาจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมอย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง
    5. งบประมาณแผ่นดินได้ถูกนำไปใช้ไปในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนอย่างเหมาะสมและลดปัญหาจากการตรวจสอบการใช้งบประมาณผิดเงื่อนไขจากสตง.
    6. เกิดการเผยแพร่รูปแบบการดำเนินงานที่ดีให้กับพื้นที่อื่น
    7. ลดภัยคุกคามต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติด ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดีขึ้น
    8. กองทุนฯ อื่น ๆ ได้รับแรงบันดาลใจในการทำงานด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ทำให้เกิดเป็นแนวปฏิบัติ หรือ วัฒนธรรมของกองทุนฯ ในการสร้างพื้นที่ปลอดปัจจัยเสี่ยง
    เกิดการพัฒนาระบบติดตามในการดำเนินงานเพื่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในอำเภอเมือง และอำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
    นำเข้าสู่ระบบโดย sirimon sirimon เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 16:13 น.