โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายและอาหารปลอดภัย เพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง

แบบเสนอโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายและอาหารปลอดภัย เพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง

1. ชื่อโครงการ

โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายและอาหารปลอดภัย เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สถาบันการจัดการระบบสุขภาพมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูรสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.มอ.) ชั้น 10 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ฯ (อาคาร LRC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110074-282-900น.ส.จินดาวรรณ รามทอง
นายญัตติพงศ์ แก้วทอง

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา
สงขลา รัตภูมิ กำแพงเพชร

3. รายละเอียดชุมชน

กำแพงเพชร เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในอำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีประชากร จำนวน 16,304 คน (ปี พ.ศ. 2557)การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเทศบาลเมืองกำแพงเพชร ตามรายงาน HDC ครอบคลุมร้อยละ 93.47 และ 95.23 พบอัตราผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงอยู่ที่ 0.92 และ 4.14 ตามลำดับ ในขณะที่เกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 2.4 และผู้ป่วยบางส่วนไม่สามารถควบคุมอาการได้ และต้องใช้ยาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุส่วนหนึ่งพบว่าเกิดจากการดำเนินชีวิตประจำวันที่ไม่ส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดี ส่วนใหญ่ไม่ได้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลของการไม่มีเวลา ไม่มีที่ออกกำลังกาย แต่ทั้งนี้ พบว่าจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ยังมากกว่ากลุ่มสงสัยมีอาการจำนวนมาก แสดงว่าผู้ป่วยรายใหม่บางส่วนเป็นกลุ่มที่ไม่ได้อยู่ในกระบวนการคัดกรองมาก่อน นอกจากนี้ พบว่ากลุ่มสงสัยมีอาการเข้ารับการวินิจฉัยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่ำมาก เพราะต้องไปรับการวินิจฉัยที่โรงพยาบาลสงขลาหรือโรงพยาบาลรัตภูมิเอง และพบว่า อัตราผู้ป่วยที่ควบคุมโรคได้อยู่ในระดับต่ำ โดยมีผู้ที่ควบคุมโรคได้ดีไม่ถึงร้อยละ 30 อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันกลุ่มเบาหวานและความดันโลหิตสูงยังคงสูงอยู่ (กุลทัต หงส์ชยางกูร และคณะ, 2561)ส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะดี โดยการมีกิจกรรมทางกายและการรับทานอาหารปลอดภัย เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง และลดการใช้ยาในประชาชนที่ป่วยเรื้อรัง (เบาหวานและความดันโลหิตสูง) มุ่งหวังให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนและพัฒนารูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่ และใช้เป็นต้นแบบในการมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน รวมทั้งการรับประทานอาหารปลอดภัย ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนกลุ่มนี้สามารถควบคุมโรคได้ มีอาการดีขึ้น จนสามารถลดการใช้ยาลงได้ ชะลอภาวะแทรกซ้อนของโรค ลดภาระของสังคมและบุคคลในครอบครัวที่มีแนวโน้มของจำนวนสมาชิกที่น้อยลง ทั้งด้านค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในการดูแลรักษาที่ตามมา

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่

ร้อยละของการเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่

0.00
2 เพื่อพัฒนารูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่

รูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่

0.00
3 เพื่อเพิ่มแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชน

ร้อยละของแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชนเพิ่มขึ้น

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10
นักศึกษาปริญญาโท สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 5
ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองกำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.ส 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 นักศึกษาและชุมชนร่วมกันศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายและอาหารปลอดภัยของพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาและชุมชนร่วมกันศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายและอาหารปลอดภัยของพื้นที่
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่
  3. เพื่อเพิ่มแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,000 1 2,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 500 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 3,000 1 3,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

120 คน 120 1 14,400
ค่าถ่ายเอกสาร 120 ชุด 5 1 600
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 1 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 600 1 1,200
ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,000 1 2,000
ค่าอาหาร

อาหารว่าง 2 มื้อ

120 คน 35 2 8,400
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 ครั้ง 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 55,600

กิจกรรมที่ 2 พัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกาย (สำรวจ คืนข้อมูล อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายตามแนวคิดใหม่ และออกแบบกิจกรรมทางกาย)

ชื่อกิจกรรม
พัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกาย (สำรวจ คืนข้อมูล อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายตามแนวคิดใหม่ และออกแบบกิจกรรมทางกาย)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,000 5 10,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 500 5 5,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

120 คน 120 5 72,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง

120 คน 35 10 42,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 3,000 5 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,600 1 2,600
ค่าถ่ายเอกสาร 120 คน 10 5 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 5 100,000
ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 2,000 5 10,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 600 5 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 ครั้ง 1,000 5 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 273,600

กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการ ด้านระบบอาหารของพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการ ด้านระบบอาหารของพื้นที่
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,000 2 4,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 500 2 2,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 3,000 2 6,000
ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 2,000 2 4,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 600 2 2,400
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

120 คน 120 2 28,800
ค่าอาหาร

อาหารว่าง วันละ 2 มื้อ

120 คน 35 2 8,400
ค่าถ่ายเอกสาร 120 ชุด 10 2 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 100 คน 200 2 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 คน 1,000 2 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 4 ติดตามและประเมินการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและประเมินการดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่
  3. เพื่อเพิ่มแหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 1,000 2 4,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 500 2 2,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวัน

120 คน 120 1 14,400
ค่าอาหาร

อาหารว่าง 3 มื้อ

120 คน 35 3 12,600
ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 2,000 2 4,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 120 คน 200 1 24,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 600 2 2,400
ค่าถ่ายเอกสาร 120 ชุด 45 1 5,400
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 ครั้ง 1,000 2 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 70,800

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 30,000.00 460,400.00 4,600.00 5,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 6.00% 92.08% 0.92% 1.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. การเข้าถึงกิจกรรมทางกายประชาชนในพื้นที่
2. รูปแบบการมีกิจกรรมทางกายสำหรับประชาชนในพื้นที่
3. แหล่งอาหารปลอดภัยในชุมชนเพิ่มขึ้น
มีแหล่งฝึกงานให้นักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. โรคเรื้อรัง (เบาหวานและความดันโลหิตสูง) ในชุมชนได้รับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไข เกิดกระบวนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างชุมชนและสถาบันอุดมศึกษา ในการแก้ปัญหาสุขภาวะของประชาชนในเทศบาลเมืองกำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
ผลกระทบ (Impact) 1. ประชากรในพื้นที่เทศบาลเมืองกำแพงเพชรมีสุขภาวะที่ดีขึ้น
2. ค่าใช้จ่ายในการใช้ยาสำหรับผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวลดลง
3. ความตระหนักในเรื่องการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
4. การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในคนไทยเพิ่มขึ้น
5. ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะชุมชน และจะเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะดี
เกิดการสร้างองค์ความรู้ในการดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหาสุขภาวะของประชาชนในเทศบาลเมืองกำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
นำเข้าสู่ระบบโดย jindawan jindawan เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 13:38 น.