การวิเคราะห์และแก้ใขปัญหายาเสพติดในชุมชนศรีฐาน

แบบเสนอโครงการ
การวิเคราะห์และแก้ใขปัญหายาเสพติดในชุมชนศรีฐาน

1. ชื่อโครงการ

การวิเคราะห์และแก้ใขปัญหายาเสพติดในชุมชนศรีฐานกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมูลนิธิปิดทองหลังพระ, เทศบาลตำบลดงลิงมูลนิธิปิดทองหลังพระ, เทศบาลตำบลดงลิงเขตพื้นที่เทศบาลตำบลดงลิง อำเภอกมลาไสยรศ.ดร.เพ็ญณี แนรอทมหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่16ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 400020432031241 นางสาวภาณุมาส เทพภาพ การปกครองท้องถิ่น 1529900959845
2 นางสาวตรองกมล พิสิทธิ์ การปกครองท้องถิ่น 1469900471029
3 นางสาวอริสรา วิรันดร์ การปกครองท้องถิ่น 1469900420637
4 นางสาวชลธิชา ทุมรักษ์ การปกครองท้องถิ่น 1471200379521
5 นางสาวเจนจิรา มานะดี การปกครองท้องถิ่น 1451400182454
6 นางสาวอินทิรา ปัญญากุล การจัดการการคลัง 1399900077691
7 นางสาวจารุวรรณ ยศถา การจัดการการคลัง 1849901374635
8 นางสาวฐิติมา วัชรพลเดช การจัดการการคลัง 1419901799206
9 นางสาวเกวลิน พรมเขียว การจัดการการคลัง 1103702744875
10 นางสาวสุดารัตน์ ช่วยแลว การจัดการงานช่างและผังเมือง 1400700220741
11 นางสาวศริยา สาคร การจัดการงานช่างและผังเมือง
12 นางสาวศิริพร รุ้งมณี การจัดการงานช่างและผังเมือง 1570900117307

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา จำนวน 18 หน่วยกิต

สาขาการปกครองท้องถิ่น
002229 สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
002231 การบริหารการศึกษาท้องถิ่น
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น
002233 การบริหารจัดการสาธารณสุขท้องถิ่น
002235 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
002321 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

สาขาการจัดการงานช่างและผังเมือง
00121 การปฏิบัติการผังเมือง
001316 การจัดการขยะและของเสียอันตราย
001319 วิศกรรมธรณีเทคนิคขั้นแนะนำ
001420 การจัดการงานก่อสร้าง
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น

สาขาการจัดการการคลัง
002311 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น
002342 กลยุทธ์การจัดการวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเชิงสังคมและสหกรณ์
003312 การจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
003315 การจัดการพัสดุและสำนักงาน
003364 ตลาดการเงินเพื่อการจัดหาเงินทุน
003482 การวางแผนการจัดการทรัพยากรในองค์กรของรัฐ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย ดงลิง

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลดงลิง ตั้งเมื่อประมาณปี 2456 สมัยราชการที่ 6 ซึ่งในสมัยนั้นอำเภอกมลาไสยมี 4 ตำบล คือ กมลาไสย หนองแปน โพนงาม และตำบลดงลิง โดยมีท่านหลวงชารี สิงห์เจือ เป็นกำนันคนแรก ท่านอยู่ที่บ้านดงลิง จึงตั้งชื้อตำบล ว่าตำบลดงลิง ในยุคแรกมีทั้งหมด 21 หมูบ้าน คือบ้านดงลิง บ้านโจด บ้านหนองบัว บ้านหัวแฮด บ้านส้มโฮง บ้านกุดอ้อ บ้านท่ากลาง บ้านท่าเพลิง บ้านเหมือดแอ่ บ้านหนองมะเกลือ บ้านเก่าน้อย บ้านโนนรัง บ้านเมย บ้านสวนโคก บ้านโคกล่าม บ้านโคกศรี บ้านสีถาน บ้านโนนเมือง บ้านดอนหวาย บ้านแวง
ตำบลดงลิงปัจจุบันมี 13 หมู่บ้าน คือ บ้านเมย บ้านสวนโคก บ้านโคกล่าม บ้านโคกศรี บ้านสีถาน บ้านโนนเมือง บ้านดอนหวาย บ้านแวงบ้านท่ากลาง บ้านท่าเพลิง บ้านเหมือดแอ่ บ้านหนองมะเกลือ บ้านเก่าน้อย และบ้านโนนรัง ในสมัยท่านกำนันพิทักษ์ กมลเลิศ ทางอำเภอได้ตั้งตำบลเจ้าท่าขึ้น ตำบลดงลิงจึงเหลือเพียง 8 บ้าน 17 หมูบ้านในปัจจุบัน
เขตพื้นที่เทศบาลตำบลดงลิง อำเภอกมลาไสย พบว่า มีปัญหาด้านยาเสพติด เด็กและเยาวชนมีการนำสารต่าง ๆที่หาได้ง่ายมาผสมกันเพื่อให้ออกฤทธิ์เหมือนสารเสพติด ซึ่งเด็กและเยาวชนมีการทดลองดื่มสารเหล่านี้เนื่องจากมองว่าเกิดจากส่วนผสมของสารที่ไม่เป็นอันตราย โดยที่ไม่ได้คำนึงว่ามีฤทธิ์เสพติด ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ส่งผลต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมองโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กระทบต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีขนาด ซึ่งเป็นวัยที่ดำเนินชีวิตในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลองของใหม่ รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อน และมองหาแบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามแบบทัศนคติที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการใช้สารเสพติดในวัยรุ่น เช่น การเสพไอซ์ ทำให้ผอม ผิวขาว การเสพยาบ้าทำให้เพิ่มความตื่นเต้นในการมีเพศสัมพันธ์ อ่านหนังสือได้นานขึ้น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้สติปัญญาดีสามารถรักษาโรคบางอย่างได้ จากทัศนคติดังกล่าวทำให้เกิดความรู้สึกอยากลองใช้ จนมีการติดสารเสพติด ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1. นักศึกษาเตรียมความพร้อมคนในหมู่บ้าน/ชุมชน 2 ระดับ ระดับชาวบ้าน ระดับแกนนำ
2. นักศึกษาทำความเข้าใจกับปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน
3. นักศึกษาวางแผนงานของหมู่บ้าน/ชุมชน การมีส่วนร่วม
4. นักศึกษาร่วมกับหมูบ้าน/ชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน จัดองค์ความรู้และเชื่อมโยงเครือข่าย
การวิเคราะห์และแก้ใขปัญหายาเสพติดในชุมชนศรีฐาน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและแนวทางการป้องกันการแก้ไขปัญหายาเสพติด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด

สร้างการตะหนักและป้องกันการติดสารเสพติด

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนศรีฐาน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ลดปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลดงลิง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศและผู้ช่วย จำนวน 2 คน x 120 วัน x 240 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 คน 240 120 57,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 12 คน x 120 วัน x 180 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

12 คน 180 120 259,200
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 หลัง x 4 เดือน x 5,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 เดือน x 10,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 10,000 4 40,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เดือนละ 2 ครั้ง x 4 เดือน ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ครั้ง 6,900 4 55,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 12,000 4 48,000
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 57,600.00 40,000.00 103,200.00 299,200.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.52% 8.00% 20.64% 59.84% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ชุมชนสามารถบริหารจัดการชุมชนตนเองได้ นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถลดปัญหายาเสพติดได้ นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 00:36 น.