การนำร่องและขยายการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

แบบเสนอโครงการ
การนำร่องและขยายการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

1. ชื่อโครงการ

การนำร่องและขยายการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นเทศบาลตำบลหลุบ อ.เมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาฬสินธุ์เทศบาลตำบลหลุบ อ.เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.วิมลสิริ แสงกรดมหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่16ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002043 203 1241 นายวงศพัทธ์ วรสาร การปกครองท้องถิ่น
2 นายเวโรจน์ นิลอุบล การปกครองท้องถิ่น 1139600045779
3 นางสาวชลธิชา เมืองโคตร การจัดการการคลัง 1103702692069
4 นางสาวสุวีรยา ผลทวี การจัดการการคลัง 1341500300140
5 นางสาวชนันฎา โตล่ำ การจัดการการคลัง 1200101834329
6 นางสาวพัชริดา บุญทศ การจัดการการคลัง 1499900294461
7 นางสาวนลินี สมขวัญ การจัดการการคลัง
8 นายพงศธร เสือสมพงษ์ การจัดการการคลัง 1199600256761
9 นายมาวิน เฉิดสถิตย์ การจัดการงานช่างและผังเมือง 1103702151602
10 นายจิรกิตต์ ทรงคุณ การจัดการงานช่างและผังเมือง
11 นายวีรวัฒน์ ศึกษาจิตร การจัดการงานช่างและผังเมือง 1329900795801
12 นายดำรงศักดิ์ โทนุบล การจัดการงานช่างและผังเมือง 1409901755101

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา จำนวน 18 หน่วยกิต

สาขาการปกครองท้องถิ่น
002229 สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
002231 การบริหารการศึกษาท้องถิ่น
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น
002233 การบริหารจัดการสาธารณสุขท้องถิ่น
002235 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
002321 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

สาขาการจัดการงานช่างและผังเมือง
00121 การปฏิบัติการผังเมือง
001316 การจัดการขยะและของเสียอันตราย
001319 วิศกรรมธรณีเทคนิคขั้นแนะนำ
001420 การจัดการงานก่อสร้าง
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น

สาขาการจัดการการคลัง
002311 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น
002342 กลยุทธ์การจัดการวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเชิงสังคมและสหกรณ์
003312 การจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
003315 การจัดการพัสดุและสำนักงาน
003364 ตลาดการเงินเพื่อการจัดหาเงินทุน
003482 การวางแผนการจัดการทรัพยากรในองค์กรของรัฐ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ หลุบ

3. รายละเอียดชุมชน

ที่ตั้ง ตำบลหลุบ ตั้งอยู่บริเวณทํางทิศใต้ของอำเภอเมืองกําฬสินธุ์ ระยะห่างจากอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ประมาณ 3 กิโลเมตร มีหมู่บ้านทั้งหมด 16 หมู่บ้าน มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอ และตำบลใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือมีอาณาเขตติดต่อกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เทศบาลตำบลเหนืออำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้มีอาณาเขตติดต่อกับ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลห้วยโพธิ์อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ทิศตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลอุ่มเม่า อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ตำบลหลุบมีเนื้อที่ประมาณ46.141 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ28,772 ไร่หรือคิดเป็นร้อยละ 5.41 ของพื้นที่ทั้งหมดของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชนปัญหาขยะนำมาซึ่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ อนามัย ความเป็นอยู่ที่ดี คุณภาพที่ดีของประชาชน และสิ่งแวดล้อม โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากผลพวงการบริโภคของประชาชน ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นจนเกินขีดความสามารถของราชการส่วนท้องถิ่นที่จะกำจัดให้หมดไปได้ ปัญหาจึงสะสมมาจนถึงปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามปัญหานี้ก็ได้รับการแก้ไขด้วยวิธีการต่าง ๆ และหนึ่งในวิธีการนั้นก็คือ การลดปริมาณขยะด้วยการให้ผู้ทิ้งขยะคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ขยะส่วนหนึ่งที่คัดแยกจะเป็นขยะมีมูลค่านำไป reuse หรือ recycle ได้ ขยะส่วนหนึ่งนำไปทำเป็นปุ๋ยหมักได้ จึงคงเหลือส่วนที่จะทิ้งน้อยลงการคัดแยกขยะจำเป็นต้องให้ประชาชนผู้ทิ้งขยะยอมรับวิธีการคัดแยก และยอมปฏิบัติตาม นั่นคือ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งการวิจัยนี้พบว่ามีแนวทางการดำเนินการได้ 2 แนวทาง คือการใช้กลไกทางการศึกษา โดยให้นักเรียนและครูเป็นผู้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ภายใต้โครงการการจัดการขยะ ด้วยการให้นักเรียนคัดแยกขยะจากบ้านและนำเอาขยะมีมูลค่า เช่น กระดาษ ขวดแก้ว มาโรงเรียนเพื่อรวบรวมขายยังร้านขายของเก่า ขยะมีมูลค่าบางประเภทครูก็จะสอนให้นำมาแปลงใช้ใหม่โดยใช้วิธีการง่าย ๆ เช่น กระดาษทำเป็นโคมไฟ พลาสติกทำเป็นดอกไม้ เป็นต้น สำหรับขยะที่ขายนั้นนักเรียนเจ้าของขยะจะได้รับสิ่งตอบแทนเป็นคะแนนเรียกว่า คะแนนความดี และสะสมไว้ในธนาคารเรียกว่า ธนาคารความดี เพื่อจะได้เอาคะแนนความดีไปแลกเปลี่ยนเป็นสิ่งของภายหลังอีกลักษณะหนึ่งของกลไกทางการศึกษานี้คือ โครงการ 3 พลังรวมใจรีไซเคิล มีวิธีการคือ ให้นักเรียนคัดแยกขยะที่บ้านและโรงเรียนตามประเภทที่กำหนดให้ และนำขยะมีมูลค่ามามอบให้โรงเรียนเพื่อนำไปขายเอาเงินไว้ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน แล้วขยายผลการคัดแยกขยะไปสู่ชุมชน ด้วยการหาสมาชิกคัดแยกขยะเพิ่มโดยเริ่มจากนักเรียน ครูในโรงเรียน และชุมชนการใช้กลไกทางชุมชน โดยใช้การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่คนในชุมชนให้ทำการคัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง โดยราชการส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการคัดแยกขยะด้วยการจัดหาอุปกรณ์จัดเก็บขยะและเก็บขนขยะให้ถูกประเภทที่ได้คัดแยกไว้ จากการวิจัยสรุปผลได้ว่า การคัดแยกขยะก่อนทิ้งสามารถลดปริมาณขยะลงไปได้ ซึ่งช่วยแก้ไขปัญหาขยะ ทั้งนี้การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน นักเรียน ครู เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดประสิทธิผล
การจัดการขยะในชุมชนนั้นถือเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในการบริหารการจัดการขยะให้ประสบผลสำเร็จนั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ จากประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะเป็น ส่วนหนึ่งของการจัดการขยะที่ประสบผลสำเร็จ การดำเนินการดังกล่าวจึงจำเป็นต้องกำหนดแนวทาง และทิศทางในการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐคือ เทศบาลตำบลหลุบอ.เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาและป้องกัน ผลกระทบอันเนื่องจากการบริหารจัดการขยะที่ไม่มีประสิทธิภาพ จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาสภาพปัญหาขยะของเทศบาลตำบลหลุบ อ.เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ และตลอดจนหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องใน การจัดการขยะ เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการขยะ แบบมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลหลุบ อ.เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ และเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดการจัดการขยะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยให้ประชาชนในพื้นที่และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินการบริหารจัดการขยะ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาขยะอย่างยั่งยืนและเป็นการเตรียมความพร้อมต่อการเจริญเติบโตของชุมชนในอนาคตต่อไป

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำขยะเปียกในรูปแบบต่าง ๆ
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการกำจัดขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
องค์ความรู้ในการทำปุ๋ยอินทรีย์เบื้องต้น
องค์ความรู้ในการคัดแยกขยะ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 มีการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

เพื่อการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. มีการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การจัดการขยะอย่างเป็นระบบ เพื่อลดปริมาณขยะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลหลุบ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศและผู้ช่วย จำนวน 2 คน x 120 วัน x 240 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 คน 240 120 57,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 12 คน x 120 วัน x 180 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

12 คน 180 120 259,200
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 หลัง x 4 เดือน x 5,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 เดือน x 10,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ครั้ง 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เดือนละ 2 ครั้ง x 4 เดือน ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 6,500 4 52,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 คน 12,800 4 51,200
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 57,600.00 40,000.00 402,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.52% 8.00% 80.48% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) มีการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) การจัดเก็บขยะเปียกของเทศบาลลดน้อยลง นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 00:26 น.