การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นเทศบาลตำบลอิตึ้อเขตพื้นที่เทศบาลตำบลอิตึ้อ อำเภอยางตลาดรศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงค์ธนวสุมหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่16ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 400020432031241 นางสาวธันย์ชนก อัคมาตร์ การปกครองท้องถิ่น 1309902629526
2 นายพันกร บุญมา การปกครองท้องถิ่น 1309701214345
3 นางสาวพรปวีณ จันทะมูล การปกครองท้องถิ่น 1411701298583
4 นางสาวราชภัทร ไพศาลธรรม การปกครองท้องถิ่น 1200901251204
5 นางสาวภิเษกกาญจน์ ผลเรือง การปกครองท้องถิ่น 1419900644772
6 นางสาวนิศารัตน์ ดวงภมร การจัดการการคลัง 1409901591591
7 นางสาวนนทิยา สัตวาที การจัดการการคลัง 1300901200684
8 นางสาววนัสนันท์ สีสัน การจัดการการคลัง 1331000295627
9 นางสาวนฤนาท เสนามนตรี การจัดการการคลัง 1409901789367
10 นางสาวนาตยา สิมเสน การจัดการงานช่างและผังเมือง
11 นางสาวเมธาวี พรหมทา การจัดการงานช่างและผังเมือง
12 นายจิรวัฒน์ กุลชาติ การจัดการงานช่างและผังเมือง 1900201106833

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา จำนวน 18 หน่วยกิต

สาขาการปกครองท้องถิ่น
002229 สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
002231 การบริหารการศึกษาท้องถิ่น
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น
002233 การบริหารจัดการสาธารณสุขท้องถิ่น
002235 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
002321 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

สาขาการจัดการงานช่างและผังเมือง
00121 การปฏิบัติการผังเมือง
001316 การจัดการขยะและของเสียอันตราย
001319 วิศกรรมธรณีเทคนิคขั้นแนะนำ
001420 การจัดการงานก่อสร้าง
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น

สาขาการจัดการการคลัง
002311 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น
002342 กลยุทธ์การจัดการวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเชิงสังคมและสหกรณ์
003312 การจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
003315 การจัดการพัสดุและสำนักงาน
003364 ตลาดการเงินเพื่อการจัดหาเงินทุน
003482 การวางแผนการจัดการทรัพยากรในองค์กรของรัฐ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด อิตื้อ

3. รายละเอียดชุมชน

ด้วยเทศบาลตําาบลอิตื้อ อําาาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อเป็นเทศบาลตําาบลอิตื้อ ตามพระราชบัญญัติสภาตําาบลและองค์การบริหารส่วนตําาบล พ.ศ. 2537 นายประเทือง บุตรวงค์เป็นนายกเทศมนตรีตําาบลอิตื้อคนแรกจนถึงปัจุบันเดิมสําาานักงานเทศบาลตําาบลอิตื้อ ในช่วงเริ่มก่อตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อขอใช้ศาลากลางบ้านหนองแวงบ่อแก้วเป็นการชั่วคราว ต่อมาได้มีการสร้างสําาานักงานแล้วเสร็จ ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านหนองแวงบ่อแก้ว หมู่ที่ 8 และได้ย้ายสําาานักงานเป็นการถาวร ในวันที่ 3 เดือน มกราคม พ.ศ.2540 จนถึงปัจจุบันตั้งแต่วันที่โดยมี พ.จ.ต.สมชาย ภูขียวขําาาเป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําาบลคนแรกและมี นางชลนิภา รัตตะเวทิน เป็นปลัดองค์การคนที่ 2 จนถึงปัจจุบัน เทศบาลตําาบลอิตื้อ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน มีจําานวนประชากรจําานวนประชากรทั้งสิ้น 8,976 คน แยกเป็นชาย4,429 คน หญิง 4,547คนมีความหนาแน่นเฉลี่ย289.55 คน/ตารางกิโลเมตรแก้ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนและปัญหาขาดแคลนน้ำในบางพื้นที่และบางฤดูกาลโดยระดมความคิดเห็นเพื่อหาทางออกไม่ให้เกิดน้ำท่วมรุนแรง ส่วนภาวะภัยแล้งเกิดขึ้นทุกปี น้ำท่วมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เนื่องจากฝนที่ตกในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำมีปริมาณมาก และตกติดต่อกันเป็นเวลานาน จนเกิดน้ำไหลบ่าเหนือผิวดิน ลงสู่ร่องน้ำลำธาร และในแม่น้ำมากกว่าปกติ ซึ่งในขณะที่น้ำจำนวนมากไหลไปตามร่องน้ำ ลำธาร และแม่น้ำนั้น หากลำน้ำตอนใด ไม่สามารถรับปริมาณน้ำทั้งหมดให้ไหลอยู่เฉพาะภายในตัวลำน้ำได้ ก็จะทำให้น้ำมีระดับท้นสูงกว่าตลิ่ง แล้วไหลล้นฝั่งบ่าไปท่วมพื้นที่สองฝั่งลำน้ำ หรืออาจไหลไปท่วมขังตามที่ลุ่มต่ำไกลออกไปเป็นบริเวณกว้างด้วย นอกจากนั้นตามพื้นที่ลุ่ม และพื้นที่ในเขตชุมชน ซึ่งไม่มีระบบการระบายน้ำที่สมบูรณ์ เมื่อเกิดฝนตกหนักเป็นเวลานานๆ ในแต่ละครั้ง มักเป็นปัญหา ทำให้เกิดน้ำท่วมขังบนพื้นที่ แล้วทำความเสียหายแก่พื้นที่เพาะปลูก และทรัพย์สินต่าง ๆ ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1. สำรวจว่าแต่ละครัวเรือนได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม
2. เตรียมการหาแนวทางป้องกันการเกิดน้ำท่วมในเขตพื้นที่ชุมชน และการเกษตร
3. นักศึกษาดำเนินการ วิธีการแก้ไข และวิธีการปฏิบัติตนก่อนและหลังการเกิดอุทกภัยน้ำท่วม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการหาแนวทางการแก้ไขปัญาหาน้ำท่วม
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการแก้ไขน้ำท่วม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบริหารจัดการน้ำชุมชน และการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

มีบริหารจัดการน้ำชุมชน และการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

100.00 70.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อบริหารจัดการน้ำชุมชน และการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สามารถบริหารจัดการน้ำได้ และสามารถพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศและผู้ช่วย จำนวน 2 คน x 120 วัน x 240 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 คน 240 120 57,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 12 คน x 120 วัน x 180 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

12 คน 180 120 259,200
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 หลัง x 4 เดือน x 5,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 เดือน x 10,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 10,000 4 40,000
อื่น ๆ

การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เดือนละ 2 ครั้ง x 4 เดือน

2 ครั้ง 6,900 4 55,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุอุปกรณ์

1 ครั้ง 12,000 4 48,000
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 57,600.00 40,000.00 48,000.00 354,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.52% 8.00% 9.60% 70.88% 100.00%

11. งบประมาณ

412,100.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ชุมชนมีการบริหารจัดการน้ำชุมชน และการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) ไม่เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ชุมชน นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2562 23:33 น.