การสร้างการตระหนักรูู้และส่งเสริมการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง

แบบเสนอโครงการ
การสร้างการตระหนักรูู้และส่งเสริมการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง

1. ชื่อโครงการ

การสร้างการตระหนักรูู้และส่งเสริมการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทางมหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นเทศบาลตำบลไผ่ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาฬสินธุ์เทศบาลตำบลไผ่ อ.เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์1.อ.สุริยานนท์ พลสิม ที่ปรึกษาหลัก 2.ดร.ฌาน เรืองธรรมสิงห์ ที่ปรึกษาร่วมมหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่16ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002043 203 1241 นางสาวนริสรา คนสูง การปกครองท้องถิ่น
2 นางสาวประภาศิริ เชิญกระโทก การปกครองท้องถิ่น 1309902622378
3 นางสาวสุกัญญา สิงปัสสา การจัดการการคลัง 1103702734853
4 นางสาวอภิชญา โสดาวิชิต การจัดการการคลัง 1429900341231
5 นางสาวนัทธมนต์ ละลี การจัดการการคลัง
6 นางสาวพชรพร อินทร์ต๊ะ การจัดการการคลัง 1509960001087
7 นางสาวพันธิตรา มุงคุณคำชาว การจัดการการคลัง 1400900274381
8 นางสาวพิมพ์ประภา พิมพ์ดีด การจัดการการคลัง
9 นายรชตะ เมืองชุมพล การจัดการงานช่างและผังเมือง 1439900332924
10 นายคเณศ บุญโตนด การจัดการงานช่างและผังเมือง 1409901805681
11 นายรัชชสิทธิ์ ใจหาญ การจัดการงานช่างและผังเมือง 1409901791183
12 นายกิตติวุฒิ ฮาดดา การจัดการงานช่างและผังเมือง 1439900330603
13 นายปรเมษฐ์ แต้วกลาง การจัดการงานช่างและผังเมือง 1470500146491

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา จำนวน 18 หน่วยกิต

สาขาการปกครองท้องถิ่น
002229 สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
002231 การบริหารการศึกษาท้องถิ่น
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น
002233 การบริหารจัดการสาธารณสุขท้องถิ่น
002235 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
002321 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

สาขาการจัดการงานช่างและผังเมือง
00121 การปฏิบัติการผังเมือง
001316 การจัดการขยะและของเสียอันตราย
001319 วิศกรรมธรณีเทคนิคขั้นแนะนำ
001420 การจัดการงานก่อสร้าง
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น

สาขาการจัดการการคลัง
002311 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น
002342 กลยุทธ์การจัดการวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเชิงสังคมและสหกรณ์
003312 การจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
003315 การจัดการพัสดุและสำนักงาน
003364 ตลาดการเงินเพื่อการจัดหาเงินทุน
003482 การวางแผนการจัดการทรัพยากรในองค์กรของรัฐ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ไผ่

3. รายละเอียดชุมชน

เทศบาลตำบลไผ่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 12 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลอื่นดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลนาจารย์ และตำบลขมิ้น ทิศตะวันออก ติดกับ กิ่งอำเภอดอนจานและตำบลเหนือ ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลหนองกุง ทิศใต้ ติดกับ ตำบลโพนทอง มีเนื้อที่ 42.60 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 26,625 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตำบลไผ่ ทางด้านทิศตะวันออกและทิศใต้เป็นที่ราบลุ่ม ทางทิศเหนือ และบริเวณพื้นที่ตอนกลางมีลักษณะเป็นที่ดอน ความหนาแน่นของประชากร 111 คนต่อตารางกิโลเมตร มีจำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลไผ่ มี 9 หมู่บ้าน หมู่ 1 บ้านหนองโพน หมู่ 2 บ้านหนองไผ่ หมู่ 3 บ้านโคกล่าม หมู่ 4 บ้านคำเม็ก หมู่ 5 บ้านโนนสะอาด (บางส่วน) หมู่ 6 บ้านเริงนาแก หมู่ 7 บ้านโคกกว้าง หมู่ 8 บ้านดอนสวรรค์ หมู่ 9 บ้านโนนทองขยะ คือ ของเหลือทิ้งจากการใช้สอยของมนุษย์ซึ่งเกิดจากการอุปโภค บริโภคและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ในชีวิตประจำวัน ประเภทของขยะมูลฝอยสามารถแบ่งตามลักษระทางกายภาพขยะได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่1) ขยะอินทรีย์ หรือขยะเปียก หรือขยะย่อยสลายได้2) ขยะรีไซเคิล3) ขยะทั่วไป และ 4) ขยะพิษหรือขยะอันตราย ในเขตเทศบาลที่อยู่ใน เขตชนบท ขยะมูลฝอย ส่วนใหญ่ จะเป็นลักษณะขยะที่ย่อยสลายได้ คือ เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร หญ้า ใบไม้ ซากพืช ซากสัตว์ เป็นต้น ขยะเปียกนี้ ถ้าตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน มีผลต่อปัญหาคุณภาพชีวิต อย่างไรก็ตาม ขยะอินทรีย์นี้สามารถจัดการได้ง่าย และสามารถนำมาหมักทำปุ้ยได้ โดยการจัดการขยะอินทรีย์นี้สามารถ กระทำได้ในระดับชุมชน และระดับครัวเรือน ในเขตเทศบาล โดยไม่ต้องใช้บริการการจัดเก็บขยะจากทางเทศบาลเข้าไปจัดการ
ปัจจุบันปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนานและ นับวันยิ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น สาเหตุหนึ่งของปัญหา คือ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน และปัญหาสำคัญที่ประชาชนไม่คัดแยกขยะตั้งแต่ปลายทาง คือการขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับประเภทของขยะชนิดต่าง ๆ การไม่คัดแยกขยะยังส่งผลให้เกิดการสูญเสียปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น งบประมาณในการบริหารจัดการ สูญเสียเวลาของเจ้าหน้าที่ที่ต้องมาคัดแยกขยะ และในขณะเดียวกันขยะที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องถูกวิธียังคิดเป็นสัดส่วนที่ต่ำ แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทั้งการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย รวมทั้งการกาจัด ถึงแม้จะได้รับการจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างระบบกำจัดขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
หากประชาชนร่วมมือกับภาครัฐในการดำเนินการ ก็จะสอดคล้องตามแนวทาง “ประชารัฐ” และประชาชนช่วยกันลดปริมาณขยะตั้งแต่ต้นทางโดยใช้หลัก ๓Rs ซึ่งได้แก่ การลดปริมาณขยะ(Reduce)การนำกลับมาใช้ซ้ำ(Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่(Recycle) พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่ในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างพอเพียง เพื่อมุ่งสู่ชุมชนปลอดขยะอย่างแท้จริง และขยายต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคิล ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1). สำรวจว่าแต่ละครัวเรือนมีการคัดแยกขยะหรือไม่
2.จัดหา/จัดทำถังขยะ (ในรูปแบบและองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มี)
3. นักศึกษาดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ
4. นักศึกษาช่วยรณรงค์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะภายในครัวเรือน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในรูปแบบต่าง ๆ
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการกำจัดขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
องค์ความรู้ในการแปลรูปผลิตภัณฑ์จากขยะรีไซเคิล

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ครัวเรือนมีการจัดแยกขยะ

ร้อยละ 80 ของครัวเรือน

100.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. ครัวเรือนมีการจัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง เพื่อลดการบริหารจัดการปลายทาง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลไผ่
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศและผู้ช่วย จำนวน 2 คน x 120 วัน x 240 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 คน 240 120 57,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 13 คน x 120 วัน x 180 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

13 คน 180 120 280,800
ค่าที่พักตามจริง

ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 หลัง x 4 เดือน x 5,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 เดือน x 10,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 คน 10,000 4 40,000
อื่น ๆ

การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เดือนละ 2 ครั้ง x 4 เดือน ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 10,000 4 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 10,400 4 41,600
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 57,600.00 40,000.00 41,600.00 360,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 11.52% 8.00% 8.32% 72.16% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ครัวเรือนมีการจัดแยกขยะ ร้อยละ 80 ของครัวเรือน นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) ประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะของเทศบาลใช้เวลาน้อยลง นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2562 23:26 น.