การจัดการปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ การแก้ใขปัญหาการเผาทำลายขยะอิเล็กทรอนิกส์ของชุมขน

แบบเสนอโครงการ
การจัดการปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ การแก้ใขปัญหาการเผาทำลายขยะอิเล็กทรอนิกส์ของชุมขน

1. ชื่อโครงการ

การจัดการปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ การแก้ใขปัญหาการเผาทำลายขยะอิเล็กทรอนิกส์ของชุมขนมหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นอบต.หนองตอกแป้น, ทสจ.กาฬสินธ์, สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค 10เขตพื้นที่ อบต.หนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์1. ผศ.ดร.วิษณุ สุมิตสวรรค์มหาวิทยาลัยขอนแก่น123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 400020432031241 นางสาวพรรณิภา พรจันทร์ การปกครองท้องถิ่น 1331000296658
2 นางสาวธรันทร เพ็ชรชนก การปกครองท้องถิ่น 1409800375141
3 นางสาวหทัยภัทร์ แสนอินทร์อำนาจ การปกครองท้องถิ่น 1429900345813
4 นางสาวปราณปริยา สกุลวิพัฒน์ การปกครองท้องถิ่น
5 นางสาวปวันรัตน์ ทรัพย์สมบัติ การปกครองท้องถิ่น
6 นางสาวกฤติกา สีกรม การจัดการการคลัง 1450400167624
7 นางสาวจิราภรณ์ พลีบัตร์ การจัดการการคลัง 1409901695451
8 นางสาวรมณีย์ พินิจ การจัดการการคลัง 1310600289406
9 นางสาวธาราทิพย์ ปิ่นจันทร์ การจัดการการคลัง 1103702713520
10 นางสาววิสุ สุขกำเนิด การจัดการงานช่างและผังเมือง
11 นายปริวัฒน์ โคตรศรี การจัดการงานช่างและผังเมือง 1449900503206
12 นายวิทยา โคตรนรินทร์ การจัดการงานช่างและผังเมือง
13 นางสาวณรินทร วงษาเทพ การจัดการงานช่างและผังเมือง

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา จำนวน 18 หน่วยกิต

สาขาการปกครองท้องถิ่น
002229สันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
002231 การบริหารการศึกษาท้องถิ่น
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น
002233 การบริหารจัดการสาธารณสุขท้องถิ่น
002235 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
002321 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

สาขาการจัดการงานช่างและผังเมือง
00121 การปฏิบัติการผังเมือง
001316 การจัดการขยะและของเสียอันตราย
001319 วิศกรรมธรณีเทคนิคขั้นแนะนำ
001420 การจัดการงานก่อสร้าง
002232 การบริหารงานสาธารณูปโภคท้องถิ่น

สาขาการจัดการการคลัง
002311 สถิติสำหรับนักบริหารท้องถิ่น
002342 กลยุทธ์การจัดการวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเชิงสังคมและสหกรณ์
003312 การจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
003315 การจัดการพัสดุและสำนักงาน
003364 ตลาดการเงินเพื่อการจัดหาเงินทุน
003482 การวางแผนการจัดการทรัพยากรในองค์กรของรัฐ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด

3. รายละเอียดชุมชน

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตอกแป้น ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอยางตลาด ห่างจากอำเภอยางตลาด ประมาณ 11 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ 21,141 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,213 ไร่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบสูง ไม่มีแหล่งน้ำธรรมชาติไหลผ่าน องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตอกแป้นประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน มีประชากรจำนวน 3,738 คน มีครัวเรือนจำนวน 937 ครัวเรือนจากการสำรวจปริมาณขยะในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตอกแป้น พบว่าปริมาณขยะที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ยน 3.5 ตัน/วัน และมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆขยะมูลฝอย คือ ของเหลือทิ้งจากการใช้สอยของมนุษย์ซึ่งเกิดจากการอุปโภค บริโภคและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ในชีวิตประจำวัน ประเภทของขยะมูลฝอยสามารถแบ่งตามลักษณะทางกายภาพขยะได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่1) ขยะอินทรีย์ หรือขยะเปียก หรือขยะย่อยสลายได้2) ขยะรีไซเคิล3) ขยะทั่วไป และ 4) ขยะพิษหรือขยะอันตราย ในเขตเทศบาลที่อยู่ในเขตชนบท ขยะมูลฝอยส่วนใหญ่ จะเป็นลักษณะขยะที่ย่อยสลายได้ คือ เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร หญ้า ใบไม้ ซากพืช ซากสัตว์ เป็นต้น ขยะเปียกนี้ ถ้าตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน มีผลต่อปัญหาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งขยะอิเลกทรอนิกส์ที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ บางหมู่บ้านทำลายโดยวิธีการเผาทิ้ง
สิ่งที่เป็นปัญหาในการจัดการคือ ครัวเรือน ไม่คัดแยกขยะประเภทอิเล็กทรอนิกส์ และมีการแก้ใขปัญหาโดยการเผาทำลายขยะอิเล็กทรอนิกส์ของชุมชนซึ่งในความเป็นจริงแล้ว องค์ความรู้ในการจัดทำถังแยกขยะเพื่อใช้ในครัวเรือนสามารถทำได้ ซึ่งถ้าทำให้บ้านทุกหลังมีถังขยะอิเลกทรอนิกส์ ก็จะนำมาสู่การคัดแยกขยะได้ อย่างไรก็ตามทีผ่านมาในหลาย ๆ อปท. ร่วมถึง ภาคส่วนต่าง ๆ อธิ สมาคมแม่บ้านมหาดไทย ได้มีโครงการส่งเสริมการลดขยะอินทรีย์โดยของความร่วมมือให้ทุกครัวเรือน ช่วยดำเนินการจัดทำมาใช้ในครัวเรือนของตน หรือ อปท./หน่วยงาน บางแห่ง มีการจัดหา ถังขยะอิเลกทรอนิกส์ แล้วเอาไปมอบให้ครัวเรือน แต่ไม่ได้มีการติดตั้งให้หรือสร้างการยอมรับใช้อย่างจริงจัง ทำให้ที่ผ่านมาไม่ได้เกิดการคัดแยกขยะอิเลกทรอนิกส์และขาดการจัดการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนอย่างได้ผล ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1) สำรวจว่าแต่ละครัวเรือนมีการจัดทำถังขยะอิเลกทรอนิกส์ และมีการใช้งานหรือไม่แต่ละครัวเรือนมีวิธีการจัดการกับขยะอิเลกทรอนิกส์อย่างไร
2) จัดหา/จัดทำถังขยะอิเลกทรอนิกส์ (ในรูปแบบและองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มี)
3) นักศึกษาดำเนินการติดตั้งถังขยะอิเลกทรอนิกส์ให้ครัวเรือน
4) นักศึกษาช่วยรณรงค์ สร้างการคัดแยกขยะอิเลกทรอนิกส์และวิธีการจัดการขยะขยะอิเลกทรอนิกส์ในชุมชนให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์
องค์ความรู้ในด้านการสร้างการรับรู้ของชุมชน
องค์ความรู้ในด้านการวางแผนชุมชน
องค์ความรู้เกี่ยวกับการการขยะอิเลกทรอนิกส์ในรูปแบบต่าง ๆ
องค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการกำจัดขยะอิเลกทรอนิกส์ในครัวเรือน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะอิเลกทรอนิกส์และวิธีการจัดการขยะขยะอิเลกทรอนิกส์ในชุมชน

ชุมชนสามารถคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางได้

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 KKU 50 Model

ชื่อกิจกรรม
KKU 50 Model
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะอิเลกทรอนิกส์และวิธีการจัดการขยะขยะอิเลกทรอนิกส์ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
ทำความรู้จักและเข้าใจชุมชน ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย
เติมเต็มองค์ความรู้
การวิเคราะห์พื้นที่ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการ
ระบบงานสนับสนุน การกำกับติดตาม หนุนเสริม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนสามารถคัดแยกขยะได้ตั้งแต่ต้นทาง ลดค่าใช้จ่ายในการกำจัด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อบต.หนองตอกแป้น
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศและผู้ช่วย จำนวน 2 คน x 120 วัน x 240 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 คน 240 120 57,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 13 คน x 120 วัน x 180 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

13 คน 180 120 280,800
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 หลัง x 4 เดือน x 5,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ชุด 5,000 4 40,000
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 4 เดือน x 10,000 บาท ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

4 ครั้ง 10,000 1 40,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

วัสดุการเกษตร

1 ชุด 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เดือนละ 2 ครั้ง x 4 เดือน ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

2 ครั้ง 5,000 4 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ ถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

1 ครั้ง 7,900 4 31,600
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 67,600.00 40,000.00 31,600.00 360,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 13.52% 8.00% 6.32% 72.16% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ครัวเรือน มี ถังขยะเปียกในครัวงเรือน นักศึกษาเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สร้างนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์ (Outcome) การจัดเก็บขยะเปียกของเทศบาลลดน้อยลง
มีการจัดการขยะอิเลกทรอนิกส์ที่ถูกวิธี
นักศึกษาได้ทำจริง ผิดพลาดจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานจริง มีทักษะในการปรับตัวและทักษะในการแก้ปัญหา
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 14:27 น.